การบริหารการพัฒนา กลุ่ม 391 กองทัพบก Module 3 วันที่ เสาร์ที่ 13 อาทิตย์ที่ 14 สิงหาคม 2565

  1. นักศึกษาควรศึกษาเอกสาร อิเลคทรอนิคส์ที่ให้ไว้เพื่อประกอบการศึกษา 

                2. นักศึกษาต้องทำAssignment ที่ให้ไว้จนครบ การทำ Assignment นักศึกษา 
ต้องทำใน Blog ของหน้าเพจใน Module 3 นี้  ซึ่งใต้หน้าเพจนี้จะเขียนไว้ว่า   Post a Comment นักศึกษาคลิกที่นี่ จะปรากฏ กล่อง สำหรับทำ Assignment ที่ได้รับมอบหมาย  

                3.  นักศึกาษาจะต้องส่ง Assignment ใน Blog ใต้เพจของ Module วิชาการบริหารการพัฒนา นี้เท่านั้นไม่รับส่งทาง Email และ ทางไลน์ ทั้งนี้ เพื่อสะดวกในการตรวจสอบและประเมินผล โดยนักศึกษาที่ทำ Assignment ต้องใส่ โปรไฟล์  ชื่อ รหัส นักศึกษาจะใส่รูปถ่าย-รูปภาพหรือไม่ก็ได้  

        4. นักศึกษาศึกษาเอกสารและวิดีโอ 

              4.1 วิดีโอประกอบการศึกษา

              4.2 เอกสารประกอบการศึกษา

                    ศึกษาวิดีโอและเอกสารได้ที่นี่ 

        https://supwat.wixsite.com/-education/สำเนาของ-การบร-หารการพ-ฒนา-module-3

     5. นักศึกษาทำ   Assignment 

          5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน

          5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง 

    6. นักศึกษาแสดงความเห็นในฟอรั่มนี้ 

  https://supwat.wixsite.com/-education/forum/general-discussions/khwaamehnklum-391mou

Comments

Anonymous said…
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน มีนักวิชาการได้ให้ความหมายการมีส่วนร่วมไว้ ดังนี% นรินทร์ พัฒนพงศา (2546 : 4) ได้สรุปความหมายของการมีส่วนร่วมวาการมีส่วนร่วมคือ การที่ฝ่ายหนึ่งฝ่ ายใดที่ไม่เคยได้เข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ หรือเข้าร่วมการตัดสินใจหรือเคยเข้าร่วมด้วย เล็กน้อยได้เข้าร่วมมากขึ%นเป็ นไปอย่างมีอิสรภาพเสมอภาค มิใช่มีส่วนร่วมอย่างผิวเผิน แต่เข้าร่วม อยางแท้จริงยิ่งขึ้ และการเข้าร่วมนั้นต้องเริ่มตั้งแต่ขั้นแรกจนถึงขั้นสุดท้ายของโครงการ ยุพา รูปงาม (2545 : 5) การมีส่วนร่วม (Participation) คือ เป็นผลมาจากการเห็นพ้องกนในเรื่องของความต้องการ และทิศทางการเปลี่ยนแปลงและความเห็นพร้องกนจะต้องมีมากจนเกิดความริเริ่ม โครงการเพื่อ การปฏิบัติ เหตุผลแรกของการที่มีคนมารวมกันได้ควรจะต้องมีการตระหนักว่า ปฏิบัติการทั้งหมดหรือการกระทําทั้งหมด ที่ทําโดยกลุ่มหรือในนามกลุ่มนั%น กระทําผ่านองค์การ (Organization) ดังนั้น องค์การเป็นเสมือนตัวนําให้บรรลุถึงความเปลี่ยนแปลงได้ ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ (2543 : 8-10) ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมใน 2 ลักษณะ กล่าวคือ การมีส่วนร่วมในลักษณะที่เป็นกระบวนการของการพัฒนาโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในกระบวนการพัฒนาตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ เช่น การร่วมกนค้นหาปัญหา การวางแผน
Anonymous said…
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
1 การสื่อสารของผู้นำยุคดิจิทัล
2 การติดตามผลการดำเนินงานโดยใช้ดิจิทัล
3 การชี้นำและขับเครื่ององค์กรด้วยนวัตกรรม
Anonymous said…
นาย อิทธิพล รัตมณี รหัส 64423471286
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน มีนักวิชาการได้ให้ความหมายการมีส่วนร่วมไว้ ดังนี% นรินทร์ พัฒนพงศา (2546 : 4) ได้สรุปความหมายของการมีส่วนร่วมวาการมีส่วนร่วมคือ การที่ฝ่ายหนึ่งฝ่ ายใดที่ไม่เคยได้เข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ หรือเข้าร่วมการตัดสินใจหรือเคยเข้าร่วมด้วย เล็กน้อยได้เข้าร่วมมากขึ%นเป็ นไปอย่างมีอิสรภาพเสมอภาค มิใช่มีส่วนร่วมอย่างผิวเผิน แต่เข้าร่วม อยางแท้จริงยิ่งขึ้ และการเข้าร่วมนั้นต้องเริ่มตั้งแต่ขั้นแรกจนถึงขั้นสุดท้ายของโครงการ ยุพา รูปงาม (2545 : 5) การมีส่วนร่วม (Participation) คือ เป็นผลมาจากการเห็นพ้องกนในเรื่องของความต้องการ และทิศทางการเปลี่ยนแปลงและความเห็นพร้องกนจะต้องมีมากจนเกิดความริเริ่ม โครงการเพื่อ การปฏิบัติ เหตุผลแรกของการที่มีคนมารวมกันได้ควรจะต้องมีการตระหนักว่า ปฏิบัติการทั้งหมดหรือการกระทําทั้งหมด ที่ทําโดยกลุ่มหรือในนามกลุ่มนั%น กระทําผ่านองค์การ (Organization) ดังนั้น องค์การเป็นเสมือนตัวนําให้บรรลุถึงความเปลี่ยนแปลงได้ ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ (2543 : 8-10) ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมใน 2 ลักษณะ กล่าวคือ การมีส่วนร่วมในลักษณะที่เป็นกระบวนการของการพัฒนาโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในกระบวนการพัฒนาตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ เช่น การร่วมกนค้นหาปัญหา การวางแผน
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
1 การสื่อสารของผู้นำยุคดิจิทัล
2 การติดตามผลการดำเนินงานโดยใช้ดิจิทัล
3 การชี้นำและขับเครื่ององค์กรด้วยนวัตกรรม
Anonymous said…
นาย อิทธพล รัตมณี รหัส 64423471286
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน มีนักวิชาการได้ให้ความหมายการมีส่วนร่วมไว้ ดังนี% นรินทร์ พัฒนพงศา (2546 : 4) ได้สรุปความหมายของการมีส่วนร่วมวาการมีส่วนร่วมคือ การที่ฝ่ายหนึ่งฝ่ ายใดที่ไม่เคยได้เข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ หรือเข้าร่วมการตัดสินใจหรือเคยเข้าร่วมด้วย เล็กน้อยได้เข้าร่วมมากขึ%นเป็ นไปอย่างมีอิสรภาพเสมอภาค มิใช่มีส่วนร่วมอย่างผิวเผิน แต่เข้าร่วม อยางแท้จริงยิ่งขึ้ และการเข้าร่วมนั้นต้องเริ่มตั้งแต่ขั้นแรกจนถึงขั้นสุดท้ายของโครงการ ยุพา รูปงาม (2545 : 5) การมีส่วนร่วม (Participation) คือ เป็นผลมาจากการเห็นพ้องกนในเรื่องของความต้องการ และทิศทางการเปลี่ยนแปลงและความเห็นพร้องกนจะต้องมีมากจนเกิดความริเริ่ม โครงการเพื่อ การปฏิบัติ เหตุผลแรกของการที่มีคนมารวมกันได้ควรจะต้องมีการตระหนักว่า ปฏิบัติการทั้งหมดหรือการกระทําทั้งหมด ที่ทําโดยกลุ่มหรือในนามกลุ่มนั%น กระทําผ่านองค์การ (Organization) ดังนั้น องค์การเป็นเสมือนตัวนําให้บรรลุถึงความเปลี่ยนแปลงได้ ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ (2543 : 8-10) ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมใน 2 ลักษณะ กล่าวคือ การมีส่วนร่วมในลักษณะที่เป็นกระบวนการของการพัฒนาโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในกระบวนการพัฒนาตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ เช่น การร่วมกนค้นหาปัญหา การวางแผน
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
1 การสื่อสารของผู้นำยุคดิจิทัล
2 การติดตามผลการดำเนินงานโดยใช้ดิจิทัล
3 การชี้นำและขับเครื่ององค์กรด้วยนวัตกรรม
ส.ต.หญิงนฤมล สุดสวาท ทบ.รุ่นที่ 50 64423471332
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ “การมีส่วนร่วมของประชาชน” หมายถึง การที่กลุ่มประชาชนหรือขบวนการที่สมาชิกของชุมชนที่กระทำการออกมาในลักษณะของการ ทำงานร่วมกัน ที่จะแสดงให้เห็นถึงความต้องการร่วม ความสนใจร่วม มีความต้องการ ที่จะบรรลุถึงเป้าหมายร่วมทางเศรษฐกิจและสังคมหรือการเมือง หรือการดำเนินการร่วมกันเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจ มติชน ไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม หรือการดำเนินการเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจ การปรับปรุงสถานภาพทางสังคมในกลุ่มชุมชน
ปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
1. ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนชั้นกลางขึ้นไปมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การเมืองดีแต่ก็ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมทางการเมืองในรูปแบบที่เป็นทางการหรือการใช้ สิทธิ์เลือกตั้งเพราะขาดความเชื่อมั่นและศรัทธาต่อพฤติกรรมของนักการเมืองและ พรรคการเมือง
2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนระดับล่างในสังคมที่มีฐานะยากจนขาดการศึกษา ขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ ทำให้ประชาชนมองไม่เห็นและไม่เข้าใจว่า การมีส่วนร่วมทางการเมืองจะมีความสำคัญการหาเลี้ยงชีพตนเองอย่างไรจึงปฏิเสธการมีส่วนร่วมทางการเมืองเมื่อขาดปัจจัยจูงใจ
3. ปัจจัยแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น การไปใช้สิทธิ์ในการเลือกตั้ง สูงมากแต่ในความเป็นจริงมีการซื้อสิทธิ์ขายเสียงกันอย่างมาก พฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองเช่นนี้ยังก่อให้เกิดปัญหาและอุปสรรคขัดขวางการพัฒนาการเมือง รวมถึงการปฏิเสธการเมืองอีกด้วย
4. การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่มีระบบและมีส่วนร่วมทางการเมือง อย่างไม่เป็นทางการมากเกินไป ที่ผ่านมาจะเห็นว่าเกิดการประท้วง กดดันรัฐบาล เพื่อให้ออกมาแก้ปัญหาต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
5. การที่ประชาชนมีส่วนร่วมทางการ เมืองน้อยนั้นมีสาเหตุประการหนึ่งคือ การขาดองค์กรหรือสถาบันทางการเมืองที่คอย กระตุ้นให้ประชาชนมีความกระตือรือร้นทางการเมืองอยู่เสมอ
ส.ต.หญิงนฤมล สุดสวาท ทบ.รุ่นที่ 50 64423471332
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ตอบ ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 คือ การทำงานเพื่อก้าวสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 ด้วยการจัดระบบระเบียบการให้บริการ ประชาชนให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยปรับเปลี่ยนและปฏิรูปการทำงานให้สอดรับกับนโยบาย และ วิสัยทัศน์ดังกล่าว เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐมีการพัฒนาองค์การไปสู่ “ระบบราชการ 4.0” ตามนโยบายของ รัฐบาลโดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ คือ
1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และการตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร

ลักษณะสำคัญในยุค 5 G คือ คือ ระบบที่มีการติดต่อเชื่อมโยงเอกสารระหว่างหน่วยงานของรัฐทั้งหมด โดยมีการติดต่อกับทางรัฐเพียงหน่วยงานเดียวเท่านั้น จากนั้นข้อมูลจะทำการเชื่อมต่อ และมีระบบฐานข้อมูลของภาครัฐอันเดียวกัน เช่น ระบบบัตรประชาชน E-Sim เสียบบัตรเข้าเครื่องสแกนก็สามารถดึงข้อมูลทั้งระบบได้ องค์กรภาครัฐจึงควรเห็นมิติทางโอกาสที่จะสามารถใช้ศักยภาพทั้งหมดเพื่อการเรียนรู้และปรับ ใช้จากประโยชน์จากระบบ 5G ด้วย คือ
1) การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน (Studious) ซึ่งเป็นความพยายามที่จะ ปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น
2) การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย (Underlie) ในยุค 5G องค์กร ภาครัฐจำ
เป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้น
3) การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate) โดยการเร่งพัฒนาและปรับกระบวนงานระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมของประชาชนที่กำลังจะเปลี่ยนไป ทั้งด้านบริการภาครัฐ ต้องมีความสะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน
4) ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง การเกิดปัญหาของประชาชนที่ซับซ้อนตามไปด้วย ทำให้องค์กรภาครัฐที่มี่หน้าที่ในการดูแล แก้ไขปัญหาประชาชนจำต้องเท่าเทียมและเตรียมความพร้อมในการพัฒนาระบบการให้บริการโดยนำเทคโนโลยีมาใช้ สนับสนุนเพื่อให้บริการประชาชน โดยมีเป้าหมายสำคัญ คือ การยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่างสะดวกรวดเร็ว โปร่งใส
5) การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนมีการแบ่งระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนไว้ 2 ระดับคือ (สุนีย์ มัลลิกะมาลย์, 2545 : 56-57)
1 การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำ หมายถึงหน่วยงานรัฐเป็นฝ่ายริเริ่มคิดตัดสินใจให้มีโครงการหรือกิจกรรมขึ้นมาและเห็นว่าสมควรจะให้ประชาชนมีส่วนร่วมดำเนินการด้วยจึงให้แจ้งและมอบหมายให้ประชาชนเข้ามาดำเนินการ การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับนี้จึงมีลักษณะเป็นการสั่งการจากรัฐสู่ประชาชน (Top-Down Approach) ซึ่งจะเป็นการมีส่วนร่วมที่มิได้เกิดจากความต้องการโดยแท้จากประชาชน ประชาชนอาจไม่เห็นความสำคัญและความจำเป็นที่จะเข้าไปมีส่วนร่วม ดังนั้นจึงไม่เกิดความประสงค์จะร่วมดำเนินการใด ๆ ด้วย และบางครั้งจำเป็นต้องเข้ามีส่วนร่วมเนื่องจากเป็นการสั่งการหรือมอบหมายของเจ้าหน้าที่ที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ เพราะฉะนั้นเมื่อโครงการหรือกิจกรรมนั้น ๆ ได้ดำเนินการไปได้ระยะหนึ่งก็จะมีอันล้มเลิกไป การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับนี้ จึงเป็นการปฏิบัติการตามนโยบายของหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง จึงอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามแต่นโยบายที่อาจเปลี่ยนแปลงตามเจ้าหน้าที่รัฐที่เข้ามาดูแลประชาชนซึ่งไม่ได้เป็นเจ้าหน้าที่ที่ประจำการตลอดไป เพราะมีการสับเปลี่ยนโยกย้ายตามความเหมาะสม
2 การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับสูง หมายถึงประชาชนเป็นฝ่ายคิดริเริ่มตัดสินใจและดำเนินโครงการหรือกิจกรรมนั้น ๆ (Bottom-Up Approach) หลักการนี้จะเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีประสิทธิภาพสูง แต่มีปัญหาอีกเช่นกันนั่นคือการดำเนินการนั้นในบางครั้งจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือสนับสนุนจากรัฐ ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วอาจไม่เป็นเช่นนั้นเพราะโครงการหรือกิจกรรมนั้นอาจไม่ได้รับความเห็นชอบหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องอาจไม่เห็นด้วยเพราะถือว่าเป็นเรื่องของประชาชน เพราะฉะนั้นประชาชนก็ควรทำกันเองโครงการหรือกิจกรรมที่ไม่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐแล้วย่อมจะไม่สัมฤทธิผลเช่นกัน
หลักการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมกับภาคราชการนั้น International Association for Public Participation ได้แบ่งระดับของการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น 5 ระดับ ดังนี้
1. การให้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำที่สุด แต่เป็นระดับที่สำคัญที่สุด เพราะเป็นก้าวแรกของการที่ภาคราชการจะเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมในเรื่องต่าง ๆ วิธีการให้ข้อมูลสามารถใช้ช่องทางต่าง ๆ เช่น เอกสารสิ่งพิมพ์ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเสื่อต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายข่าว การจัดงานแถลงข่าว การติดประกาศ และการให้ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
2. การรับฟังความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข้อเท็จจริงและความคิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การรับฟังความคิดเห็น การสำรวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
3. การเกี่ยวข้อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอแนะทางที่นำไปสู่การตัดสินใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่าข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของประชาชนจะถูกนำไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ เช่น การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพิจารณาประเด็นนโยบายสาธารณะ ประชาพิจารณ์ การจัดตั้งคณะทำงานเพื่อเสนอแนะประเด็นนโยบาย เป็นต้น
4. ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชนผู้แทนภาคสาธารณะมีส่วนร่วม โดยเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ และมีการดำเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เช่น คณะกรรมการที่มีฝ่ายประชาชนร่วมเป็นกรรมการ เป็นต้น
5. การเสริมอำนาจแก่ประชาชน เป็นขั้นที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด โดยให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ เช่น การลงประชามติในประเด็นสาธารณะต่าง ๆ โครงการกองทุนหมู่บ้านที่มอบอำนาจให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจทั้งหมด เป็นต้น
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง 
ระบบราชการ ๔.- ประเทศไทยมุ่งสู่ไทยแลนด์ ๔.๐ มีการกำหนดยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ภาครัฐต้องปรับตัวให้สามารถอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัลท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและไม่สามารถคาดเดาได้ จึงต้องมุ่งเน้นความคล่องตัวเพื่อขับเคลื่อนภารกิจพิเศษ (Agenda - Based) และนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาพลิกโฉมระบบราชการสู่ Government 4.0
1.การสานพลังระหว่างภาครั ฐและภาคส่วนอื่น ๆ ในสังคม (Cdlaboration)เป็นการยกระดับการทำงานจากการประสานงานกัน (Coordination) หรือทำงานด้วยกัน (Cooperation) ไปสู่ การร่วมมือกัน (Collaboration) เป็นการบริหารกิจการบ้านเมืองในรูปแบบ "ประชารัฐ"
2.การสร้างนวัตกรรม (Innovation) เป็นการคิดค้นและหาวิธีการ หรือศึกษาเรื่องใหม่ๆ เพื่อให้เกิดผลกระทบใหญ่ต่อการตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างมีคุณภาพ โดยให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อสร้างความเข้าใจ การเข้าถึงความรู้สึกนึกคิด
3.การปรับเข้าสู่ความเป็นดิจิทัล (Digitalization) เป็นการผสมผสานการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลผ่านระบบคลาวด์ อุปกรณ์สมาร์ทโฟน และเครื่องมือที่ใช้ในการทำงานร่วมกัน เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับการดำเนินการการให้บริการของราชการ สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ในทุกเวลา ทุกสถานที่ ทุกอุปกรณ์และทุกช่องทางได้อย่างมั่นคง ปลอดภัยและประหยัด
วิวัฒนาการบริการรัฐ ระบบบริการภาครัฐ 5.0(Government 5.0 - Fully Networking DigitalServices)
คือระบบที่มีการติดต่อเชื่อมโยงเอกสารระหว่างหน่วยงานของรัฐทั้งหมด โดยมีการติดต่อกับทางรัฐเพียงหน่วยงานเดียวเท่านั้น จากนั้นข้อมูลจะทำการเชื่อมต่อ และมีระบบฐานข้อมูลของภาครัฐอันเดียวกัน เช่น
-ระบบบัตรประชาชน E-Sim เสียบบัตรเข้าเครื่องสแกนก็สามารถดึงข้อมูลทั้งระบบได้
-ระบบจัดส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน หรือเรียกกันว่า "ระบบสารบรรณ
อิเล็กทรอนิกส์" ทั้งนี้ยังให้ประชาชนติดต่อผ่านทางดิจิทัโดยตรงกับหน่วยงานได้เหมือนเดิมระบบดึงข้อมูล และเข้าระบบโดยมีระดับความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ตามความจำเป็นของแต่ละระดับของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ
การพัฒนาประเทศให้ทันต่อโลกยุคดิจิทัล ที่จะทำให้การเข้าถึงข้อมูลนั้นทำได้โดยง่าย และการทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการของหน่วยงานของรัฐทำได้โดยง่ายนั้น จำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องมีระบบที่ปลอดภัย รวดเร็ว ทันสมัยซึ่งแน่นอนรัฐบาลก็ให้ความสำคัญและมีการพัฒนาระบบของภาครัฐอย่างต่อเนื่อง
ส.ต.วุฑฒินันท์ พลนาแสน 64423471285 said…
ส.ต.วุฑฒินันท์ พลนาแสน รหัส 64423471285
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน ถือเป็นหลักการสากลที่อารยประเทศให้ความสำคัญ และเป็นประเด็นหลักที่สังคมไทยให้ความสนใจเพื่อพัฒนาการเมืองเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมตามหลักการธรรมมาภิบาลที่ภาครัฐจะต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนรับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ เพื่อสร้างความโปร่งใสและเพิ่มคุณภาพการตัดสินใจของภาครัฐให้ดีขึ้น และเป็นที่ยอมรับร่วมกันของทุก ๆ ฝ่าย

ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาไทย พ.ศ.2540 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 จึงต่างให้ความสำคัญต่อการบริหารราชการอย่างโปร่งใส สุจริต เปิดเผยข้อมูล และการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะ การตัดสินใจทางการเมือง รวมถึงการตรวจสอบ การใช้อำนาจรัฐในทุกระดับ

หลักการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมกับภาคราชการนั้น International Association for Public Participation ได้แบ่งระดับของการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น 5 ระดับ ดังนี้

1. การให้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำที่สุด แต่เป็นระดับที่สำคัญที่สุด เพราะเป็นก้าวแรกของการที่ภาคราชการจะเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมในเรื่องต่าง ๆ วิธีการให้ข้อมูลสามารถใช้ช่องทางต่าง ๆ เช่น เอกสารสิ่งพิมพ์ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเสื่อต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายข่าว การจัดงานแถลงข่าว การติดประกาศ และการให้ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น

2. การรับฟังความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข้อเท็จจริงและความคิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การรับฟังความคิดเห็น การสำรวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น

3. การเกี่ยวข้อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอแนะทางที่นำไปสู่การตัดสินใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่าข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของประชาชนจะถูกนำไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ เช่น การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพิจารณาประเด็นนโยบายสาธารณะ ประชาพิจารณ์ การจัดตั้งคณะทำงานเพื่อเสนอแนะประเด็นนโยบาย เป็นต้น

4. ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชนผู้แทนภาคสาธารณะมีส่วนร่วม โดยเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ และมีการดำเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เช่น คณะกรรมการที่มีฝ่ายประชาชนร่วมเป็นกรรมการ เป็นต้น

5. การเสริมอำนาจแก่ประชาชน เป็นขั้นที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด โดยให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ เช่น การลงประชามติในประเด็นสาธารณะต่าง ๆ โครงการกองทุนหมู่บ้านที่มอบอำนาจให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจทั้งหมด เป็นต้น

ส.ต.วุฑฒินันท์ พลนาแสน 64423471285 said…
ส.ต.วูฑฒินันท์ พลนาแสน รหัส 64423471285
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง

ตอบ ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 คือ การทำงานเพื่อก้าวสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 ด้วยการจัดระบบระเบียบการให้บริการ ประชาชนให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยปรับเปลี่ยนและปฏิรูปการทำงานให้สอดรับกับนโยบาย และ วิสัยทัศน์ดังกล่าว เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐมีการพัฒนาองค์การไปสู่ “ระบบราชการ 4.0” ตามนโยบายของ รัฐบาลโดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ คือ
1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และการตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
จ่าโท ณัฐดนัย เสดา
รหัสนักศึกษา 64423471329
3 สิงหาคม ค.ศ. 2022


วิชาการบริหารการพัฒนา
POS3404


5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน

หลักการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมกับภาคราชการนั้น International Association for Public Participation ได้แบ่งระดับของการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น 5 ระดับ ดังนี้
 
          1. การให้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำที่สุด แต่เป็นระดับที่สำคัญที่สุด เพราะเป็นก้าวแรกของการที่ภาคราชการจะเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมในเรื่องต่าง ๆ วิธีการให้ข้อมูลสามารถใช้ช่องทางต่าง ๆ เช่น เอกสารสิ่งพิมพ์ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเสื่อต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายข่าว การจัดงานแถลงข่าว การติดประกาศ และการให้ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
 
          2. การรับฟังความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข้อเท็จจริงและความคิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การรับฟังความคิดเห็น การสำรวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
 
          3. การเกี่ยวข้อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอแนะทางที่นำไปสู่การตัดสินใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่าข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของประชาชนจะถูกนำไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ เช่น การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพิจารณาประเด็นนโยบายสาธารณะ ประชาพิจารณ์ การจัดตั้งคณะทำงานเพื่อเสนอแนะประเด็นนโยบาย เป็นต้น
 
          4. ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชนผู้แทนภาคสาธารณะมีส่วนร่วม โดยเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ และมีการดำเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เช่น คณะกรรมการที่มีฝ่ายประชาชนร่วมเป็นกรรมการ เป็นต้น
 
          5. การเสริมอำนาจแก่ประชาชน เป็นขั้นที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด โดยให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ เช่น การลงประชามติในประเด็นสาธารณะต่าง ๆ โครงการกองทุนหมู่บ้านที่มอบอำนาจให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจทั้งหมด


ปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน

1.ปัญหาอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถ่ิน ขององค์การบริหารสว่ นตาบลเชิงทะเล ได้แก่
2.ประชาชนไม่ได้รับความสะดวกจาก การให้บริการ เช่น การให้บริการจากเจ้าหน้าที่รถฉุกเฉิน ความล่าช้าและการติดต่อ เจ้าหน้าที่ในการให้บริการ
3. ประชาชนได้รับความเดือดร้อนด้านสาธารณปู โภคต่างๆ เช่น นา้ ประปาไม่ไหล ไม่มีไฟฟ้าส่องสว่างข้างทาง นา้ เน่าเสียในชุมชน ถนนเป็นหลมุ เป็นบ่อ ระบบเสียงตามสายไม่ติด ฯลฯ
4.ผ้บูริหารไม่เข้ามาแก้ไขปัญหาตามท่ีเสนอ และไม่ให้ความสาคัญกับประชาชน
5.ประชาชนไม่ทราบข้อมูลข่าวสาร และ การประชาสัมพันธ์ให้เข้ามามีส่วนร่วมน้อยไม่ทั่วถึง
องค์การบริหารส่วนตาบล เชิงทะเล ไมเ่ ปิดโอกาสให้เข้าร่วม ประชาชนเข้าร่วมน้อย มีเฉพาะกลุ่ม
จ่าโท ณัฐดนัย เสดา
รหัสนักศึกษา 64423471329
3 สิงหาคม ค.ศ. 2022


วิชาการบริหารการพัฒนา
POS3404


5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง 
ระบบราชการ ๔.๐ ประเทศไทยมุ่งสู่ไทยแลนด์ ๔.๐ มีการกําหนด ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปo ภาครัฐตองปรับตัวใหสามารถอํานวยความสะดวกในการ ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัลทามกลางความเปลี่ยนแปลง ท่ีรวดเร็วและไมสามารถคาดเดาได จึงตองมุงเนนความคลองตััวเพ่ือขับเคลื่อน ภารกิจพิเศษ(Agenda – Based)และนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาพลิกโฉมระบบ ราชการสู Government 4.0
ปัจจัยสําคัญต่อความสําเร็จของการพัฒนาไปสู่ ระบบราชการ ๔.๐
สํานักงาน ก.พ.ร. ได้กําหนดปัจจัยสําคัญอย่างน้อย ๓ ประการต่อความ สําเร็จของการพัฒนาไปสู่ ระบบราชการ ๔.๐ โดยสรุป ดังน้ี
๑. การสานพลังระหว่างภาครัฐและภาคส่วนอื่นๆในสังคม(Collaboration) เป็นการยกระดับการทํางานจากการประสานงานกัน (Coordination) หรือ ทํางานดวยกัน (Cooperation) ไปสู่การรวมมือกัน (Collaboration) เป็น การบริหารกิจการบ้ารเมืองในรูปแบบ “ประชารัฐ”
๒. การส้างนวัตกรรม(Innovation)เป็นการคิดคนและหาวิธีการหรือ ศึกษาเรื่องใหม่ๆ เพื่อใหเกิดผลกระทบใหญ่ต่อการตอบสนองความตองการ ของประชาชนได้อย่างมีคุณภาพ โดยให้ประชาชนเข้่มามีสวนร่วมเพื่อสร้าง ความเข้าใจ การเข้าถึงความรู้สึกนึกคิด
๓. การปรับเข้าสู่ความเป็นดิจิทัล(Digitalization)เป็นการผสมผสาน การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลผ่านระบบคลาวด์ อุปกรณสมารทโฟน และ เครื่องมือที่ใชในการทํางานรวมกัน เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับการดําเนินการ การให้บริการของราชการ สามารถตอบสนองความตองการของประชาชนได้ ในทุกเวลา ทุกสถานที่ ทุกอุปกรณ์และทุกช่อวทางได้อย่างมั่นคง ปลอดภัย และประหยัด
ลักษณะสำคัญในยุค 5 G
ถึงแม้เทคโนโลยี 5G ในไทยเราจะยังใช้งานในรูปแบบผู้ใช้งานแบบ 4G ที่เราใช้งานกันในตอนนี้ แต่ก็ใกล้มากๆ แล้ว ที่เราจะได้สัมผัสและลองใช้งานเทคโนโลยี 5G เชิงพาณิชย์ในประเทศไทย เพราะตามไทม์ไลน์เราน่าจะได้เริ่มใช้งานกันเต็มรูปแบบก็ประมาณปี 2020 - 2021 ดังนั้นจึงไม่ใช่เรื่องใกล้ตัวที่ทุกคนจะมองข้ามไป แถม 5G ยังเป็นเทคโนโลยีที่จะเข้ามาช่วยยกระดับทั้งในแง่ของการใช้งาน และภาคอุตสาหกรรมให้ก้าวไกลยิ่งขึ้น ด้วยมาตราฐานการเชื่อมต่อที่เร็วขึ้น นิ่งกว่าเครือข่าย 4G ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันถึง 10 เท่า
ส.ท.ภูวนาท เชิงสวัสดิ์ รหัสนักศึกษา 64423471284
1. จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วม หมายถึง ลักษณะของการเข้าไปกระทำร่วมกันโดยบุคคลที่อยู่เป็นกลุ่มชนทั้งทางด้านนามธรรมคือจิตใจ ความคิด อารมณ์ การเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน การพัฒนาทั้งในการแก้ไข ปัญหาและป้องกันปัญหาโดยเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการคิดริเริ่ม ร่วมก าหนด นโยบาย ร่วมวางแผน ตัดสินใจและปฏิบัติตามแผน ร่วมตรวจสอบการใช้อ านาจรัฐทุก ระดับ ร่วมติดตามประเมินผลและรับผิดชอบในเรื่องต่าง ๆ อันมีผลกระทบถึง ประชาชน ชุมชนและเครือข่ายทุกรูปแบบในพื้นที่
ปัญหาของการ มีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนเกิดขึ้นในหลายส่วนสรุปได้ดังนี้
1. ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนชั้นกลางขึ้นไปมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การเมืองดีแต่ก็ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมทางการเมืองในรูปแบบที่เป็นทางการหรือการใช้ สิทธิ์เลือกตั้งเพราะขาดความเชื่อมั่นและศรัทธาต่อพฤติกรรมของนักการเมือง
2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนระดับล่างในสังคมที่มีฐานะยากจนขาดการศึกษา ขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ
2. ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
1 การสื่อสารของผู้นำยุคดิจิทัล
2 การติดตามผลการดำเนินงานโดยใช้ดิจิทัล
3 การชี้นำและขับเครื่ององค์กรด้วยนวัตกรรม


ส.อ.อภิเชษฐ์ พวงซ้อน รหัส 64423471311
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
คำตอบ การมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นการกระทำที่มีจุดมุ่งหมายที่จะเข้าไปมีอิทธิพลต่อการ
กำหนดนโยบาย การบริหารงานของรัฐ หรือการเลือกผู้นำรัฐบาลและการกระทำนั้นต้องเป็นการ
กระทำด้วยความสมัครใจซึ่งอาจเป็นไปในทางตรงหรือทางอ้อมก็ได้ และเป็นกิจกรรมต่างๆ ที่
เป็นไปโดยสมัครใจซึ่งสมาชิกในสังคมมีส่วนร่วมโดยตรงหรือโดยอ้อม ในการเลือกผู้ปกครองประเทศ
การกำหนดนโยบายสาธารณะ การลงคะแนนเสียงเลือกตั้งการติดตามข่าวสาร การอภิปราย การ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น การเข้าร่วมประชุม การบริจาคเงินและการติดต่อกับสมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎร ลักษณะความกระตือรือร้นของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองอาจพิจารณาได้จากการสมัคร
เป็นสมาชิกพรรคการเมืองอย่างเป็นทางการ นอกจากนี้ Myon Weiner ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมทางการเมืองไว้ 10 ประการ ดังนี้
1. การมีส่วนร่วม หมายถึง การกระทำในการสนับสนุนหรือการกระทำในการเรียกร้องกับผู้นำของรัฐบาลในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยและเผด็จการก็ได้ เช่น การออกเสียงประชามติ
2. การมีส่วนร่วม หมายถึง ความพยายามที่สำเร็จในการสร้างผลกระทบต่อการดำเนินการของรัฐบาลหรือ การเลือกผู้นำรัฐบาล
3. การมีส่วนร่วม หมายถึง การกระทำหรือกิจกรรมทางการเมืองที่กำหนดไว้ในตัวบทกฎหมาย เช่น การออกเสียงเลือกตั้ง การยื่นข้อเรียกร้อง การวิ่งเต้นในเรื่องต่างๆ ที่เป็นไปตามกฎหมาย ซึ่งการกระทำเหล่านี้จะต้องไม่ขัดกฎหมาย
4. การมีส่วนร่วมหมายถึงการใช้สิทธิเลือกตัวแทนเข้าไปใช้อำนาจแทนตัวเองในระบอบ ประชาธิปไตยแบบมีตัวแทน
5. การมีส่วนร่วม หมายถึง ความรู้สึกแปลกแยกหรือแปลกปลอม หรือตีตนออกจากระบบการเมืองเนื่องจากการถูกกีดกันไม่ให้เขาได้มีโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วม
6. การมีส่วนร่วม หมายถึงการกระทำที่ตื่นตัวทางการเมือง ซึ่งการกระทำยังหมายรวมไปถึงการพูดคุยถกเถียงปัญหาทางการเมืองหรือพวกที่สนใจข่าวสารทางการเมืองในสื่อสารมวลชน ไม่จำเป็นจะต้องอยู่ในรูปของการใช้สิทธิเลือกตั้งเสมอไป
7. การมีส่วนร่วมทางการเมืองนั้นเป็นกิจกรรมทางการเมืองทุกชนิดทั้งแบบที่ใช้ความรุนแรงและไม่ใช้ความรุนแรง
8. การมีส่วนร่วมทางการเมืองเป็นกิจกรรมทางการเมืองและกิจกรรมที่มองว่าต้องมีจุดมุ่งหมายที่จะมีอิทธิพลต่อผู้นำทางการเมือง มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติการและดำเนินการของข้าราชการด้วย
9. การมีส่วนร่วมบางคนก็มองเพียงการกระทำที่จะมีผลต่อการดำเนินการทางการเมืองระดับชาติเท่านั้น แต่ที่จริงก็รวมถึงการดำเนินการที่มีผลต่อการเมืองท้องถิ่นและระดับชาติ
10. การมีส่วนร่วมทางการเมืองดูที่การปฏิบัติทางการเมืองและเป็นกิจกรรมทุกชนิดที่เป็นการเมือง

สรุป การมีส่วนร่วมของประชาชนกับนโยบายสาธารณะในความหมายกว้างซึ่งมักจะคาบ
เกี่ยวกับกับการพัฒนานั้นก็คือ การให้โอกาสประชาชนเป็นฝ่ายการตัดสินใจ กำหนดปัญหาความ
ต้องการของตนเองอย่างแท้จริง เป็นการเสริมพลังอำนาจ ให้แก่ประชาชน/กลุ่ม/องค์กรชุมชนให้
สามารถระดมขีดความสามารถในการจัดการทรัพยากร การตัดสินใจ และควบคุมดูแลกิจกรรมต่างๆ
ใน ชุมชนมากกว่าที่จะเป็นฝ่ายตั้งรับ สามารถกำหนดการดำรงชีวิตได้ด้วยตนเองให้มีชีวิตมีความ
เป็นอยู่ที่ดีขึ้นตามความจำเป็นอย่างมีศักดิ์ศรีและสามารถพัฒนาศักยภาพของประชาชน/ชุมชนใน
ด้านภูมิปัญญา ทักษะ ความรู้ ความสามารถ และการจัดการและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลก
ได้ และประชาชนจะต้องเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการอย่างมีอิสระ การทำงานต้องเน้นในรูปกลุ่ม
หรือองค์กรชุมชนที่มีวัตถุประสงค์ในการเข้าร่วมอย่างชัดเจน เนื่องจากพลังกลุ่มจะเป็นปัจจัยสำคัญ
ที่ทำให้งานพัฒนาต่าง ๆ บรรลุผลสำเร็จตามความมุ่งหมายได้ ทั้งนี้ การจะเกิดสภาพของการมีส่วน
ร่วมของประชาชนตามความหมายที่กล่าวถึงข้างต้น จะต้องเกิดสภาพการณ์หรือเงื่อนไขสำคัญคือ
การมีความตระหนักและความเห็นพ้องต้องกันของประชาชนที่มีจำนวนมากพอต่อการริเริ่ม
โครงการ/กิจกรรมหนึ่งกิจกรรมใดเพื่อที่จะการเปลี่ยนแปลงที่เป็นความต้องการของส่วนรวม ทั้งนี้
ความร่วมมือของประชาชนไม่ว่าของปัจเจกชน บุคคลหรือกลุ่มคนที่เห็นพ้องต้องกันและเข้ามา
รับผิดชอบเพื่อการดำเนินการพัฒนา และการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ต้องการโดยมีลักษณะเป็น
การกระทำผ่านกลุ่ม หรือองค์กรเพื่อให้บรรลุถึงความเปลี่ยนแปลงที่พึงประสงค์
คำถาม 5. นักศึกษาทำ Assignment
ตอบ 5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนถือเป็นหัวใจสำคัญ ในการสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กร การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารราชการเป็นแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐ แนวใหม่ที่ให้ความสำคัญกับ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดินโดยส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีบทบาทตั้งแต่ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมดำเนินการ ร่วมรับผลประโยชน์และร่วมประเมินผล ซึงจะนำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารราชการและบรรลุเป้าหมายในการพัฒนาระบบราชการวมทั้งสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริงแม้ว่าการพัฒนาระบบราชการให้เป็นระบบราชการแบบเปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมเป็นเรื่องใหม่ สำหรับสังคมไทยรวมถึงระบบราชการและข้าราชการไทยคงยังคุ้นเคยกับการทำงานแบบรวมศูนย์และสั่งการแต่เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายสำคัญนี้จำเป็นต้องมีการกำหนดยุทธศาสตร์แนวทางและมาตรการที่ชัดเจนเพื่อเป็นบรรทัดฐานใหม่ในการวางระบบการบริหารราชการไทยให้สนับสนุนกระบวนการทำงานของส่วนราชการที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้นเพราะหากระบบราชการมีการบริหารราชการ ที่ปิดโอกาสให้ประชาชนผู้ที่เกี่ยวช้องและภาคส่วนอื่นๆ ในสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมในงานราชการในระดับต่าง ๆ อย่างมีคุณภาพก็จะถือว่าเป็นก้าวสำคัญอีกก้าวหนึ่งในการพัฒนาระบบราชการ
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
5.2.1 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0
1. ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2. ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3. แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4. ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์และการตัดสินใจในการทำงาน
5. ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6. ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถนการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งในระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7. เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8. ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
9. บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเนันผลงานที่ดี
10. ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
5.2.2 ลักษณะสำคัญในยุค 5 G
1. การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน (Studious) ซึ่งเป็นความพยายามที่จะปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น
2. การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย (Underlie) ในยุค 5G องค์กร ภาครัฐจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้น
3. การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate) โดยการเร่งพัฒนาและปรับระบวนงานระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมของประชาชนที่กำลังจะเปลี่ยนไป ทั้งด้านบริการภาครัฐ ต้องมีความสะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน
4. ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง การเกิดปัญหาของประชาชนที่ซับซ้อนตามไปด้วย ทำให้องค์กรภาครัฐที่มี่หน้าที่ในการดูแล แก้ไขปัญหาประชาชนจำต้องเท่าเทียมและเตรียมความพร้อมในการพัฒนาระบบการให้บริการโดยนำเทคโนโลยีมาใช้ สนับสนุนเพื่อให้บริการประชาชน โดยมีเป้าหมายสำคัญ คือ การยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่างสะดวกรวดเร็ว โปร่งใส
5. การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน


นางสาวอมรรัตน์ พึงใจ รหัสประจำตัวนักศึกษา 64423471323
จ.ต.ชุมพล ศรีคำม้วน 64423471330
Module 3

-จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ
การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การที่กลุ่มประชาชนหรือขบวนการที่สมาชิกของชุมชนที่กระทำการออกมาในลักษณะของการ ทำงานร่วมกัน ที่จะแสดงให้เห็นถึงความต้องการร่วม ความสนใจร่วม มีความต้องการ ที่จะบรรลุถึงเป้าหมายร่วมทางเศรษฐกิจและสังคมหรือการเมืองหรือการดำเนินการร่วมกันเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจ มติชน ไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม หรือการดำเนินการเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจ การปรับปรุงสถานภาพทางสังคมในกลุ่มชุมชน

ปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
1. ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนชั้นกลางขึ้นไปมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเมืองดีแต่ก็ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมทางการเมืองในรูปแบบที่เป็นทางการหรือการใช้สิทธิ์เลือกตั้งเพราะขาดความเชื่อมั่นและศรัทธาต่อพฤติกรรมของนักการเมืองและพรรคการเมือง
2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนระดับล่างในสังคมที่มีฐานะยากจนขาดการศึกษา ขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ ทำให้ประชาชนมองไม่เห็นและไม่เข้าใจว่าการมีส่วนร่วมทางการเมืองจะมีความสำคัญการหาเลี้ยงชีพตนเองอย่างไรจึงปฏิเสธการมีส่วนร่วมทางการเมืองเมื่อขาดปัจจัยจูงใจ
3. ปัจจัยแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น การไปใช้สิทธิ์ในการเลือกตั้งสูงมากแต่ในความเป็นจริงมีการซื้อสิทธิ์ขายเสียงกันอย่างมาก พฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองเช่นนี้ยังก่อให้เกิดปัญหาและอุปสรรคขัดขวางการพัฒนาการเมือง รวมถึงการปฏิเสธการเมืองอีกด้วย
4. การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่มีระบบและมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่เป็นทางการมากเกินไปที่ผ่านมาจะเห็นว่าเกิดการประท้วง กดดันรัฐบาล เพื่อให้ออกมาแก้ปัญหาต่างๆอย่างต่อเนื่อง
5. การที่ประชาชนมีส่วนร่วมทางการ เมืองน้อยนั้นมีสาเหตุประการหนึ่งคือ การขาดองค์กรหรือสถาบันทางการเมืองที่คอยกระตุ้นให้ประชาชนมีความกระตือรือร้นทางการเมืองอยู่เสมอ
ส.อ.อภิเชษฐ์ พวงซ้อน รหัส 64423471311
คำถาม 5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ตอบ “ระบบราชการ 4.0” ตามนโยบายของ รัฐบาล โดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ
1.ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2.ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3.แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการท างานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4.ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์
และการตัดสินใจในการทำงาน
5.ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6.ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน
ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7.เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8.ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลง
9.บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10.ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่
สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
สรุป การวางระบบและวิธีการทำงานของระบบราชการ 4.0 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกรอบแนวทางการปฏิรูประบบราชการเพื่อรองรับไทยแลนด์ 4.0 ระบบและวิธีการทำงานของระบบราชการ 4.0 คือการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาลเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนระบบราชการจะต้องเป็นที่พึ่งของประขาชนและเชื่อถือไว้วางใจได้ ภาครัฐที่เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางการบริการและ ภาครัฐอัจฉริยะ - มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย เข้าถึงความต้องการ ในระดับปัจเจก การทำงานต้องเปิดเผยและโปร่งใส -ทำงานโดยมองไปข้างหน้า การทำงานต้องมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเพื่อเตรียมการเปิดกว้างให้กลไกหรือภาคส่วนอื่น ๆ
ลักษณะสำคัญในยุค 5 G คือ องค์กรภาครัฐจึงควรเห็นมิติทางโอกาสที่จะสามารถใช้ศักยภาพทั้งหมดเพื่อการเรียนรู้และปรับใช้จากประโยชน์จากระบบ 5G ด้วยประเด็นดังต่อไปนี้
1.การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชนซึ่งเป็นความพยายามที่จะปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น
2.การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย ในยุค 5G องค์กรภาครัฐจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้น
3.การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุมโดยการเร่งพัฒนาและปรับกระบวนงานระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมของประชาชนที่ กำลังจะเปลี่ยนไป ทั้งด้านบริการภาครัฐ ต้องมีความสะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน
4.ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่องเพราะบริบทการเปลี่ยนแปลงมีความรวดเร็วอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี ที่ส่งผลต่อการเกิดปัญหาของประชาชนที่ซับซ้อนตามไปด้วยทำให้องค์กรภาคตรัฐที่มี่หน้าที่ในการดูแลแก้ไขปัญหาประชาชนจำต้องเท่าเทียมและเตรียมความพร้อมในการพัฒนาระบบการให้บริการโดยนำเทคโนโลยีมาใช้สนับสนุนเพื่อให้บริการประชาชน
5.การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน (Responsible) ซึ่งมีลักษณะการยอมรับทั้งผลที่ไม่ดีและผลที่ดีในกิจการที่ได้ทำลงไปหรือที่อยู่ในความดูแลของกิจการนั้นๆ ซึ่งความรับผิดชอบดังกล่าวอาจดูได้จากการองค์กรภาครัฐใดที่มี Productivity สูงๆ และมีความรับผิดชอบในการทำงานได้อย่างดีไม่ถูกดึงดูดออกไปจากงานได้ง่ายๆก็จะเป็นองค์กรที่ประสบความสำเร็จได้สูงกว่า และองค์กรอื่นๆ
สรุป การบริหารองค์กรภาครัฐในโลกอนาคตที่มีความรอบคอบ รองรับ เร่งรัด รวดเร็ว และรับผิดชอบอาจจะเป็นบทบาทใหม่ขององค์กรภาครัฐที่ควรให้ความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมใหม่ที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้นเพื่อการพลิกประเทศไปสู่ความทันสมัยได้มากขึ้นผ่านการทำงานด้วยการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีมาปรับใช้เพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กรภาครัฐและช่วยลดทัศนคติของประชาชนในแง่ลบกลายมาเป็นทัศนคติเชิงบวกได้ด้วยองค์ความรู้ที่สำคัญที่ส่งผลต่อการแก้ไขปัญหาของประชาชนบนฐานเทคนิคการบริหารองค์กรภาครัฐ มิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชนได้ ทั้งหากองค์กรภาครัฐสามารถปรับเปลี่ยนและพัฒนาระบบต่างๆ ด้วยความทันสมัยจะช่วยให้ภาครัฐสามารถตอบโจทย์ของบทบาทของตนเองได้อย่างแท้จริง
ส.ท.ศรายุทธ เชียงสาพันธ์ รหัส 64423471279
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ.
การมีส่วนร่วมของประชาชน ถือเป็นหลักการสากลที่ทุกประเทศให้ความสำคัญ และเป็นประเด็นหลักที่สังคมไทยให้ความสนใจเพื่อพัฒนาการเมือง เข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมตามหลักการธรรมมาภิบาลที่ภาครัฐจะต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนรับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ เพื่อสร้างความโปร่งใสและเพิ่มคุณภาพการตัดสินใจของภาครัฐให้ดีขึ้น และเป็นที่ยอมรับร่วมกันของทุก ๆ ฝ่าย
ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาไทย พ.ศ.2540 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 จึงต่างให้ความสำคัญต่อการบริหารราชการอย่างโปร่งใส สุจริต เปิดเผยข้อมูล และการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะ การตัดสินใจทางการเมือง รวมถึงการตรวจสอบ การใช้อำนาจรัฐในทุกระดับ
หลักการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมกับภาคราชการนั้น International Association for Public Participation (IAPP) ได้แบ่งระดับของการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น 5 ระดับ คือ
1. การให้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำที่สุด แต่สำคัญที่สุด เพราะเป็นก้าวแรกของการที่ภาคราชการจะเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมในเรื่องต่าง ๆ วิธีการให้ข้อมูลสามารถใช้ช่องทางต่าง ๆ เช่น เอกสารสิ่งพิมพ์ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเสื่อต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายข่าว การจัดงานแถลงข่าว การติดประกาศ และการให้ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
2. การรับฟังความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข้อเท็จจริงและความคิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การรับฟังความคิดเห็น การสำรวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
3. การเกี่ยวข้อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอแนะทางที่นำไปสู่การตัดสินใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่าข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของประชาชนจะถูกนำไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ เช่น การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพิจารณาประเด็นนโยบายสาธารณะ ประชาพิจารณ์ การจัดตั้งคณะทำงานเพื่อเสนอแนะประเด็นนโยบาย เป็นต้น

4. ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชนผู้แทนภาคสาธารณะมีส่วนร่วม โดยเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ และมีการดำเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เช่น คณะกรรมการที่มีฝ่ายประชาชนร่วมเป็นกรรมการ เป็นต้น
5. การเสริมอำนาจแก่ประชาชน เป็นขั้นที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด โดยให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ เช่น การลงประชามติในประเด็นสาธารณะต่าง ๆ โครงการกองทุนหมู่บ้านที่มอบอำนาจให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจทั้งหมด เป็นต้น
การสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน อาจทำได้หลายระดับและหลายวิธี ซึ่งบางวิธีสามารถทำได้อย่างง่าย ๆ แต่บางวิธีก็ต้องใช้เวลา ขึ้นอยู่กับความต้องการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชน ค่าใช้จ่ายและความจำเป็นในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นเรื่องละเอียดอ่อน จึงต้องมีการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องแก่ประชาชน การรับฟังความคิดเห็น การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม รวมทั้งพัฒนาทักษะและศักยภาพของข้าราชการทุกระดับควบคู่กันไปด้วย
จากหลักการและความจำเป็นดังกล่าวทำให้การพัฒนาระบบราชการที่ผ่านมาได้รับการพัฒนากระบวนการบริหารราชการที่สนับสนุนการปรับกระบวนการทำงานของส่วนราชการที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น หรือที่เรียกว่า “การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม”
ในส่วนภาคราชการ การส่งเสริมการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ถือได้ว่าเป็นเงื่อนไข และเป็นกุญแจดอกสำคัญของความสำเร็จของการพัฒนาระบบราชการให้สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนและเอื้อต่อประโยชน์สุขของประชาชน เพราะกระบวนการมีส่วนร่วมเป็นปัจจัยสำคัญที่สนับสนุน และส่งเสริมให้ระบบราชการมีพลังในการพัฒนาประเทศอย่างสร้างสรรค์ อันเป็นเป้าหมายหลักของการพัฒนาราชการยุคใหม่ที่เป็นราชการระบบเปิด
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ตอบ. ระบบราชการยุค 4.0
เพื่อรองรับต่อยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 ภาครัฐหรือระบบราชการจะต้องทำงานโดยยึดหลัก ธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน (Better Governance, Happier Citizens) หมายความว่า ระบบราชการต้องปรับเปลี่ยน แนวคิดและวิธีการทำงานใหม่เพื่อพลิกโฉม (transform) ให้สามารถเป็นที่เชื่อถือไว้วางใจ และเป็นพึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริง (Credible and Trusted Government) ดังนี้
1.เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน (Open & Connected Government) ต้องมีความเปิดเผยโปร่งใสในการทำงาน โดยบุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการ หรือมีการแบ่งปันข้อมูลซึ่งกันและกัน และสามารถเข้ามาตรวจสอบการทำงานได้ตลอดจนเปิดกว้างให้กลไกหรือภาคส่วนอื่น ๆ เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วม และโอนถ่ายภารกิจที่ภาครัฐไม่ควรดำเนินการเองออกไปให้แก่ภาคส่วนอื่น ๆ เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการแทน โดยการจัดระเบียบความสัมพันธ์ในเชิงโครงสร้างให้สอดรับกับการทำงานแนวระนาบ ในลักษณะของเครือข่าย มากกว่าตามสายการบังคับบัญชาในแนวดิ่ง ขณะเดียวกันก็ยังต้องเชื่อมโยงการทำงานในภาครัฐด้วยกันเองให้มีเอกภาพและสอดรับประสานกัน ไม่ว่าจะเป็นราชการบริหารส่วนกลางส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น
2.ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Citizen-Centric Government) ต้องทำงานในเชิงรุกและมองไปข้างหน้า โดยตั้งคําถามกับตนเองเสมอว่า ประชาชนจะได้อะไร มุ่งเน้นแก้ไขปัญหาและตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยไม่ต้องรอให้เข้ามาติดต่อขอรับบริการหรือร้องขอความช่วยเหลือจากทางราชการ (Proactive Public Services) รวมทั้งใช้ประโยชน์จากข้อมูลภาครัฐ (Big Government Data) และระบบดิจิทัลสมัยใหม่ในการจัดบริการสาธารณะที่ตรงกับความต้องการของประชาชน (Personalized หรือTailored Services) พร้อมทั้งอํานวยความสะดวก โดยมีการเชื่อมโยงกันเองของทางราชการเพื่อให้บริการได้เสร็จสิ้นในจุดเดียว ประชาชนสามารถเรียกใช้บริการของทางราชการได้ตลอดเวลาตามความต้องการของตนและผ่านการติดต่อได้หลายช่องทางผสมผสานกันทั้งการติดต่อมาด้วยตนเอง เว็บไซต์โซเชียลมีเดีย หรือแอปพลิเคชันทางโทรศัพท์มือถือ
3.มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย (Smart & High Performance Government) ต้องทำงานอย่างเตรียมการณ์ไว้ล่วงหน้า มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง สร้างนวัตกรรมหรือความคิดริเริ่มและประยุกต์องค์ความรู้ในแบบสหสาขาวิชาเข้ามาใช้ในการตอบโต้กับโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน เพื่อสร้างคุณค่า มีความยืดหยุ่นและความสามารถในการตอบสนองกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างทันเวลา ตลอดจนเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง และปรับตัวเข้าสู่สภาพความเป็นสำนักงานสมัยใหม่ รวมทั้งทำให้ข้าราชการมีความผูกพันต่อการปฏิบัติราชการและปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเหมาะสมกับบทบาทของตน
ยุค 5.0
Society 5.0 คือนโยบายที่ประเทศญี่ปุ่นประกาศใช้เมื่อปี 2018 เพื่อแก้ปัญหาที่ญี่ปุ่นกำลังเผชิญและอาจสร้างวิกฤตมากขึ้นในอนาคต ไม่ว่าจะเป็น 1.) การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุและอัตราการเกิดลดลง 2.) ภัยธรรมชาติ 3.) คุณภาพของสิ่งแวดล้อมและแหล่งพลังงานที่มีการเปลี่ยนแปลง
โดยยุค Society 5.0 คือการควบรวมระหว่างโลกทางกายภาพ (Physical Space) ซึ่งเป็นโลกที่มนุษย์ใช้ชีวิตผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 เข้ากับโลกเสมือน (Cyber Space) ที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญต่อทุกด้านของชีวิตมนุษย์ เพื่อตอบสนองการใช้ชีวิตอย่างอัจฉริยะ โดยมี AI (ปัญญาประดิษฐ์) และหุ่นยนต์ เป็นเทคโนโลยีสำคัญในการขับเคลื่อน เช่น
1. การใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Network) ในการสื่อสารเป็นหลัก
สามารถพูดคุย เห็นหน้า และแชร์เรื่องราวกันได้จากทั่วทุกมุมโลก เพียงแค่มีระบบอินเทอร์เน็ต (ซึ่งปัจจุบัน Social Network ก็ถือเป็นปัจจัยสำคัญในการใช้ชีวิตของผู้คนไปแล้ว)
2. นำเทคโนโลยีมาใช้กับที่อยู่อาศัย
เช่น เทคโนโลยี Smart Home ที่ควบคุมระบบภายในบ้านด้วยอินเทอร์เน็ต ผ่านการสั่งงานด้วยเสียง (Smart Speaker) หรือระบบสแกนใบหน้า เพื่อช่วยยกระดับความปลอดภัยทั้งในด้านการป้องกันอาชญากรรม ภัยพิบัติ หรือด้านสุขภาพ
3. นำเทคโนโลยีมาใช้กับรถยนต์
เช่น เทคโนโลยีไร้คนขับ ที่นอกจากจะสร้างความสะดวกสบายแล้วยังสามารถช่วยผู้สูงอายุ ผู้พิการทางสายตา หรือผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้งานรถยนต์เอง ให้เดินทางถึงที่หมายได้อย่างปลอดภัย พร้อมมีระบบวิเคราะห์ข้อมูลเส้นทางหรือระบบแจ้งเตือนสิ่งกีดขวาง เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุ รวมถึงการใช้รถยนต์พลังงานไฟฟ้า เพื่อลดการเผาผลาญพลังงาน
4. นำเทคโนโลยีมาใช้กับอุตสาหกรรมการเงิน
ที่จะทำให้ผู้คนไม่ต้องพกเงินสดอีกต่อไป แต่สามารถใช้จ่ายหรือแลกเปลี่ยนเงินผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้อย่างเต็มรูปแบบ
5. นำเทคโนโลยีมาใช้กับวงการแพทย์
เช่น การเชื่อมต่อข้อมูล Big Data ระหว่างโรงพยาบาลต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา หรือสามารถตรวจสุขภาพขั้นพื้นฐานได้ผ่านแอปพลิเคชัน รวมถึงในอนาคตอาจจะได้เห็นการใช้หุ่นยนต์ทางการแพทย์ช่วยในการผ่าตัด หรือการพัฒนาหุ่นยนต์ดูแลผู้ป่วยพร้อมระบบรายงานสุขภาพผู้ป่วยไปยังแพทย์ได้โดยตรง
ส.ท.เฟาซี เกาะหมาน
รหัสนักศึกษา 64423471307

5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การมีส่วนร่วม(Participation) ตามพจนานุกรมได้ให้คำนิยามไว้ว่า“เป็น การมีส่วน(ร่วมกับคนอื่น)ในการกระทำบางอย่างหรือบางเรื่อง” คำว่าการมีส่วนร่วม โดยมากมักจะใช้ในความหมายตรงข้ามกับคำว่า “การเมินเฉย (Apathy)” ฉะน้ัน คำว่าการมีส่วนร่วมตามความหมายข้างต้น จึงหมายถึง การที่บุคคลกระทำการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือในประเด็นที่บุคคลนั้นสนใจ ไม่ว่าเขาจะได้ปฏิบัติการเพื่อแสดงถึง ความสนใจอย่างจริงจังหรือไม่ก็ตาม และไม่จำเป็นท่ีบุคคลน้ันจะต้องเข้าไปเกี่ยวข้อง กับกิจกรรมนั้นโดยตรงก็ได้ แต่การมีทัศนคติ ความคิดเห็น ความสนใจ ห่วงใย ก็เพียงพอแล้วที่จะเรียกว่าเป็นการมีส่วนร่วมได้ และยังได้ให้คำจำกัดความของการมี ส่วนร่วมของประชาชนว่า “การมีส่วนร่วมของประชาชน” หมายถึง การที่กลุ่ม ประชาชน หรือขบวนการที่สมาชิกของชุมชนที่กระทำการออกมาในลักษณะของการทำงานร่วมกัน ที่จะแสดงให้เห็นถึงความต้องการร่วม ความสนใจร่วม มีความต้องการ ที่จะบรรลุถึงเป้าหมายร่วมทางเศรษฐกิจและสังคมหรือการเมือง หรือการดำเนินการร่วมกันเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจ มติชน ไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม หรือการดำเนินการเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจ การ ปรับปรุงสถานภาพทางสังคมในกลุ่มชุมชน

ปัญหาของการ มีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนเกิดขึ้นในหลายส่วนสรุปได้ดังน้ี
1. ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนชั้นกลางขึ้นไปมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การเมืองดีแต่ก็ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมทางการเมืองในรูปแบบท่ีเป็นทางการหรือการใช้ สิทธ์ิเลือกต้ังเพราะขาดความเชื่อมั่นและศรัทธาต่อพฤติกรรมของนักการเมืองและ พรรคการเมืองท่ีสังกัดอยู่นอกจากนี้วิถีชีวิตในโลกเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ทำให้คนกลุ่มนี้มีความเร่งรีบในการดำรงชีวิตแสวงหาความมั่งคั่ง ความก้าวหน้าในหน้าท่ีการงานและชีวิตส่วนตัวโดยคำนึงถึงประโยชน์ส่วนตนมากกว่าขาดจิตที่เป็นสาธารณะจน ทำให้ไม่สนใจการมีส่วนร่วมทางการเมือง
2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนระดับล่างในสังคมที่มีฐานะยากจนขาดการศึกษา ขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ ทำให้ประชาชนมองไม่เห็นและไม่เข้าใจว่า การมี ส่วนร่วมทางการเมืองจะมีความสำคัญการหาเลี้ยงชีพตนเองอย่างไรจึงปฏิเสธ การมีส่วนร่วมทางการเมืองเมื่อขาดปัจจัยจูงใจ
3. การมีส่วนร่วมทางการเมืองในเชิงสัญลักษณ์โดยปราศจากความตระหนัก และความเข้าใจในคุณค่าของการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแท้จริงหรือเป็นการมีส่วนร่วมทางการเมืองเพราะมีปัจจัยแทรกซ้อนอื่นๆเช่น การไปใช้สิทธิ์ในการเลือกต้ัง สูงมาก แต่ในความเป็นจริงมีการซื้อสิทธ์ิขายเสียงกันอย่างมาก พฤติกรรมการมีส่วน ร่วมทางการเมืองเช่นนี้ยังก่อให้เกิดปัญหาและอุปสรรคขัดขวางการพัฒนาการเมือง รวมถึงการปฏิเสธการเมืองอีกด้วย
4. การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่มีระบบและมีส่วนร่วมทางการเมือง อย่างไม่เป็นทางการมากเกินไป ท่ีผ่านมาจะเห็นว่าเกิดการประท้วง กดดันรัฐบาล เพื่อให้ออกมาแก้ปัญหาต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งการมีส่วนร่วมทางการเมืองลักษณะนี้ บางครั้งจะส่งผลกระทบรุนแรงต่อระบบเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศได้
5. ปัญหาจากบทบาทของพรรคการเมือง การท่ีประชาชนมีส่วนร่วมทางการ เมืองน้อยน้ันมีสาเหตุประการหนึ่งคือ การขาดองค์กรหรือสถาบันทางการเมืองที่คอย กระตุ้นให้ประชาชนมีความกระตือรือร้นทางการเมืองอยู่เสมอ สถาบันทางการเมืองที่สำคัญคือ“พรรคการเมือง”ในปัจจุบันพรรคการเมืองยังเป็นองค์กรที่อ่อนแอมากและ ยังขาดความเป็นสถาบันที่ต่อเนื่อง ปัญหาท่ีสำคัญท่ีสุดของพรรคการเมืองไทยคือเป็น องค์กรที่ซับซ้อนและต้องเผชิญกับความรับผิดชอบท่ีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว พรรคการ เมืองไทยตั้งข้ึนจากการรวมตัวของสมาชิกเพื่อสนับสนุนผู้นำทางการเมืองคนใดคน หน่ึงเท่านั้น พรรคการเมืองทุกพรรคไม่ว่าเล็กหรือใหญ่มีสาขาพรรคน้อยสาขาพรรค บางแห่งมีแต่รูปแบบเท่าน้ันไม่มีบทบาทอะไร
ส.ท.เฟาซี เกาะหมาน
รหัสนักศึกษา 64423471307
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ตอบ การทำงานเพื่อก้าวสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 ด้วยการจัดระบบระเบียบการให้บริการ ประชาชนให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากข้ึน โดยปรับเปลี่ยนและปฏิรูปการ ทำงานให้สอดรับกับนโยบาย และ วิสัยทัศน์ดังกล่าว เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐมีการพัฒนา องค์การไปสู่ “ระบบราชการ 4.0” ตามนโยบายของ รัฐบาล โดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ
1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทางานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4)ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการมีฐานข้อมูลท่ีทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และ การตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมความคิดริเร่ิมและการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานท่ีดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
นอกจากนี้ การบริหารจัดการองค์กรสมัยใหม่ทางสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ได้ร่วมกับ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติจัดทำเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) เพื่อเป็นแนวทางให้หน่วยราชการใช้ในการ ประเมินตนเองเพื่อก้าวไปเป็นองค์กรสมรรถนะสูงท่ี มุ่งเน้นในการบริหารจัดการท่ีดีใน 7 มิติ

เทคนิคการบริหารองค์กรภาครัฐในยุค 5G
ความพร้อมของระบบราชการในปัจจุบันน่าเป็นห่วงอย่างมากถึงแม้ประเทศจะเข้าสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 แล้ว ก็ตามหรือยุคการบริหารแบบ 5G ท่ีมีปัจจัยที่ขับเคลื่อนให้เกิดเทคโนโลยีสำคัญอย่างมากซึ่งมาจากการผลักดันทางการเมือง เศรษฐกิจของโลกภายใต้การแข่งขันอย่างเท่าเทียม ประเทศใดท่ีมีเทคโนโลยีดังกล่าวจะทำให้มีความได้เปรียบเทียบในทุกช่องทางเพราะสามารถมีเทคโนโลยีมีความรวดเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลจำนวนภายในไม่ก่ีวินาที หรือความเร็วมากกว่า 4G ถึง 20 เท่า ด้วยความเร็วรวด ดังกล่าวเป็นผลทาให้องค์กรราชการในปัจจุบันต่างก็ต้องปรับตัวเพื่อเรียนและการทำงานให้เร็วข้ึน แต่มีความสะดวกข้ึนไปตามด้วยเพราะใช้แรงงานข้าราชการน้อยลง รวมทั้งมีประสิทธิภาพสูงสุดในโลกปัจจุบัน แต่กระน้ัน หากจะมอง ถึงบริบทองค์กรรัฐแม้ว่าจะมีปรับเปลี่ยนระบบการบริหารจัดการเพื่อการบริการมากน้อยเพียงใด บทบาทภาครัฐก็ยัง มิได้เปลี่ยนแปลงมานักทำให้ภาคเอกชนเกิดการปรับตัวอย่างรุนภายใต้สังคมที่มีการแข่งขันหรือเพื่อการอยู่รวดของ บริษัทของตนเอง แต่กระน้ันความเช่ือมโยงระหว่างภาครัฐกับเอกชนจึงดูแตกต่างในด้านการบริหารองค์กร แต่ถึง อย่างไรก็ตามภาครัฐที่มีบทบาทสนับสนุนภาคเอกชนกลับทำหน้าท่ีไม่ดีมากนักทำให้ความผันผวนทั้งเชิงสังคมและ เศรษฐกิจไม่สอดรับต่อกิจกรรมต่าง ๆ จนกลายเป็นว่าหากภาครัฐไม่ปรับตัวและขาดเทคนิคการพัฒนาความพร้อม
ขาดเทคนคิ ในยุค 5G จะทำให้ภาครัฐกลายเป็นองค์กรที่เช่ืองช้าไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน ผู้เสียภาษีได้ ดังนั้น องค์กรภาครัฐจึงควรเห็นมิติทางโอกาสท่ีจะสามารถใช้ศักยภาพท้ังหมดเพื่อการเรียนรู้และปรับ ใช้จากประโยชน์จากระบบ 5G
Anonymous said…
ส.ท.เอกธวัช พรสิงห์ รหัสนักศึกษา 64423471287

5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การมีส่วนร่วมของประชาชนถือเป็นรากฐานสำคัญของหลักการปกครองแบบประชาธิปไตย มีความสำคัญอย่างมากเช่นกัน เพราะเป็นสถาบันที่ฝึกหัดให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมทางการเมืองทำให้ประชาชนมีความรู้สึกเป็นเจ้าของท้องถิ่นอันเป็นที่อยู่ของ
ตนเอง เกิดความหวงแหนและความรับผิดชอบต่อชุมชนท้องถิ่น เป็นผลให้ประชาชนมีความรู้สึกที่ดีต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ปัญหาของการ มีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนเกิดขึ้นในหลายส่วนสรุปได้ดังนี้
1. ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนชั้นกลางขึ้นไปมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเมืองดี แต่ก็ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมทางการเมืองในรูปแบบที่เป็นทางการหรือการใช้สิทธิ์เลือกตั้งเพราะขาดความเชื่อมั่นและศรัทธาต่อพฤติกรรมของนักการเมืองและพรรคการเมืองที่สังกัด
อยู่
2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนระดับล่างในสังคมที่มีฐานะยากจนขาดการศึกษาขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ ทำให้ประชาชนมองไม่เห็นและไม่เข้าใจว่า การมีส่วนร่วมทางการเมืองจะมีความสำคัญกับการหาเลี้ยงชีพตนเองอย่างไร จึงปฏิเสธการมีส่วนร่วมทางการเมืองเมื่อขาดปัจจัยจูงใจ
3. การมีส่วนร่วมทางการเมืองในเชิงสัญลักษณ์โดยปราศจากความตระหนักและความเข้าใจในคุณค่าของการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแท้จริงหรือเป็นการมีส่วนร่วมทางการเมืองเพราะมีปัจจัยแทรกซ้อนอื่นๆ
4. การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่มีระบบและมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่เป็นทางการมากเกินไป เช่น การประท้วง กดดันรัฐบาลเพื่อให้ออกมาแก้ปัญหาต่างๆ บางครั้งส่งผลกระทบรุนแรงต่อระบบเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศได้
5. ปัญหาจากบทบาทของพรรคการเมือง การที่ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองน้อยนั้นมีสาเหตุประการหนึ่งคือ การขาดองค์กรหรือสถาบันทางการเมืองที่คอยกระตุ้นให้ประชาชนมีความกระตือรือร้นทางการเมืองอยู่เสมอ

สรุปได้ว่า ประเทศไทยมีความจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนโดยเฉพาะในระดับท้องถิ่นอย่างจริงจัง การแสดงออกซึ่งกิจกรรมทางการเมืองของบุคคลในสังคม รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนกับรัฐบาล การแสดงออกทางการเมืองเหล่านี้คือกระบวนการทางการเมือง ซึ่งจะนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายที่ประชาชนต้องการ

Anonymous said…
ส.ท.เอกธวัช พรสิงห์ รหัสนักศึกษา 64423471287

5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การมีส่วนร่วมของประชาชนถือเป็นรากฐานสำคัญของหลักการปกครองแบบประชาธิปไตย มีความสำคัญอย่างมากเพราะเป็นสถาบันที่ฝึกหัดให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมทางการเมืองทำให้ประชาชนมีความรู้สึกเป็นเจ้าของท้องถิ่นอันเป็นที่อยู่ของตนเอง
เกิดความหวงแหนและความรับผิดชอบต่อชุมชนท้องถิ่น เป็นผลให้ประชาชนมีความรู้สึกที่ดีต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ปัญหาของการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนเกิดขึ้นในหลายส่วนสรุปได้ดังนี้
1. ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนชั้นกลางขึ้นไปมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเมืองดี แต่ก็ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมทางการเมืองในรูปแบบที่เป็นทางการ หรือการใช้สิทธิ์เลือกตั้งเพราะขาดความเชื่อมั่นและศรัทธาต่อพฤติกรรมของนักการเมืองและพรรคการเมืองที่สังกัดอยู่
2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนระดับล่างในสังคมที่มีฐานะยากจนขาดการศึกษาขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ ทeให้ประชาชนมองไม่เห็นและไม่เข้าใจว่า การมีส่วนร่วมทางการเมืองจะมีความสำคัญการหาเลี้ยงชีพตนเองอย่างไร
3. การมีส่วนร่วมทางการเมืองในเชิงสัญลักษณ์โดยปราศจากความตระหนักและความเข้าใจในคุณค่าของการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแท้จริง หรือเป็นการมีส่วนร่วมทางการเมืองเพราะมีปัจจัยแทรกซ้อนอื่นๆ
4. การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่มีระบบและมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่เป็นทางการมากเกินไป เช่น การประท้วง กดดันรัฐบาลเพื่อให้ออกมาแก้ปัญหาต่างๆ บางครั้งจะส่งผลกระทบรุนแรงต่อระบบเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศได้
5. ปัญหาจากบทบาทของพรรคการเมือง การที่ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองน้อยนั้นมีสาเหตุประการหนึ่งคือ การขาดองค์กรหรือสถาบันทางการเมืองที่คอยกระตุ้นให้ประชาชนมีความกระตือรือร้นทางการเมืองอยู่เสมอ

5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ตอบ ระบบราชการ 4.0 มีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ
1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4)ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์
และการตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งในระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร

ลักษณะสำคัญในยุค 5 G
คือ ควบรวมระหว่างโลกทางกายภาพ (Physical Space) ซึ่งเป็นโลกที่มนุษย์ใช้ชีวิตผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 เข้ากับโลกเสมือน (Cyber Space) ที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญต่อทุกด้านของชีวิตมนุษย์ เพื่อตอบสนองการใช้ชีวิตอย่างอัจฉริยะ โดยมี AI (ปัญญาประดิษฐ์) และหุ่นยนต์ เป็นเทคโนโลยีสำคัญในการขับเคลื่อน เช่น
1. การใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Network) ในการสื่อสารเป็นหลัก
2. นำเทคโนโลยีมาใช้กับที่อยู่อาศัย เช่น เทคโนโลยี Smart Home ที่ควบคุมระบบภายในบ้านด้วยอินเทอร์เน็ต ผ่านการสั่งงานด้วยเสียง
3. นำเทคโนโลยีมาใช้กับรถยนต์
4. นำเทคโนโลยีมาใช้กับอุตสาหกรรมการเงิน
5. นำเทคโนโลยีมาใช้กับวงการแพทย์
6. นำเทคโนโลยีมาใช้กับระบบราชการ เพื่อความสามารถในการปฏิบัติงานอย่างรวดเร็ว และมีความสะดวกสบาย

Anonymous said…
ส.ท.เอกธวัช พรสิงห์ รหัสนักศึกษา 64423471287

5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การมีส่วนร่วมของประชาชนถือเป็นรากฐานสำคัญของหลักการปกครองแบบประชาธิปไตย มีความสำคัญอย่างมากเพราะเป็นสถาบันที่ฝึกหัดให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมทางการเมืองทำให้ประชาชนมีความรู้สึกเป็นเจ้าของท้องถิ่นอันเป็นที่อยู่ของตนเอง
เกิดความหวงแหนและความรับผิดชอบต่อชุมชนท้องถิ่น เป็นผลให้ประชาชนมีความรู้สึกที่ดีต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ปัญหาของการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนเกิดขึ้นในหลายส่วนสรุปได้ดังนี้
1. ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนชั้นกลางขึ้นไปมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเมืองดี แต่ก็ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมทางการเมืองในรูปแบบที่เป็นทางการ หรือการใช้สิทธิ์เลือกตั้งเพราะขาดความเชื่อมั่นและศรัทธาต่อพฤติกรรมของนักการเมืองและพรรคการเมืองที่สังกัดอยู่
2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนระดับล่างในสังคมที่มีฐานะยากจนขาดการศึกษาขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ ทeให้ประชาชนมองไม่เห็นและไม่เข้าใจว่า การมีส่วนร่วมทางการเมืองจะมีความสำคัญการหาเลี้ยงชีพตนเองอย่างไร
3. การมีส่วนร่วมทางการเมืองในเชิงสัญลักษณ์โดยปราศจากความตระหนักและความเข้าใจในคุณค่าของการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแท้จริง หรือเป็นการมีส่วนร่วมทางการเมืองเพราะมีปัจจัยแทรกซ้อนอื่นๆ
4. การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่มีระบบและมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่เป็นทางการมากเกินไป เช่น การประท้วง กดดันรัฐบาลเพื่อให้ออกมาแก้ปัญหาต่างๆ บางครั้งจะส่งผลกระทบรุนแรงต่อระบบเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศได้
5. ปัญหาจากบทบาทของพรรคการเมือง การที่ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองน้อยนั้นมีสาเหตุประการหนึ่งคือ การขาดองค์กรหรือสถาบันทางการเมืองที่คอยกระตุ้นให้ประชาชนมีความกระตือรือร้นทางการเมืองอยู่เสมอ

5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ตอบ ระบบราชการ 4.0 มีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ
1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4)ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์
และการตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งในระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร

ลักษณะสำคัญในยุค 5 G
คือ ควบรวมระหว่างโลกทางกายภาพ (Physical Space) ซึ่งเป็นโลกที่มนุษย์ใช้ชีวิตผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 เข้ากับโลกเสมือน (Cyber Space) ที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญต่อทุกด้านของชีวิตมนุษย์ เพื่อตอบสนองการใช้ชีวิตอย่างอัจฉริยะ โดยมี AI (ปัญญาประดิษฐ์) และหุ่นยนต์ เป็นเทคโนโลยีสำคัญในการขับเคลื่อน เช่น
1. การใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Network) ในการสื่อสารเป็นหลัก
2. นำเทคโนโลยีมาใช้กับที่อยู่อาศัย เช่น เทคโนโลยี Smart Home ที่ควบคุมระบบภายในบ้านด้วยอินเทอร์เน็ต ผ่านการสั่งงานด้วยเสียง
3. นำเทคโนโลยีมาใช้กับรถยนต์
4. นำเทคโนโลยีมาใช้กับอุตสาหกรรมการเงิน
5. นำเทคโนโลยีมาใช้กับวงการแพทย์
6. นำเทคโนโลยีมาใช้กับระบบราชการ เพื่อความสามารถในการปฏิบัติงานอย่างรวดเร็ว และมีความสะดวกสบาย

จ.ส.อ. พรพล พุ่มพินิจ รหัส 64423471337
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
1. ความหมายของการมีส่วนร่วมของประชาชน การมีส่วนร่วม (Participation) เป็นคำที่เกิดและอยู่เคียงคู่กับการปกครองระบอบประชาธิปไตย เนื่องจากระบบการปกครองนี้ถือว่าอำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศนั้นมาจากประชาชน ดังนั้นการมีส่วนร่วมจึงนำมาใช้ในการบริหารงานแบบประชาธิปไตยและเป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่งของหลักธรรมภิบาล การบริหารงานแบบมีส่วนร่วมหรือการมีส่วนร่วมในการบริหารงาน (Participate Management) จะเป็นการที่บุคคลได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานทั้งในด้านการแสดงความคิดเห็นและการปฏิบัติการมีส่วนร่วมและช่วยสร้างพลังจิตให้ร่วมกันปฏิบัติงานอย่างเต็มที่มีประสิทธิภาพมากกว่าการยินยอมปฏิบัติตามคำสั่งการมีส่วนร่วมจะช่วยกระตุ้นให้บุคคลนั้นสนับสนุนเป้าหมายของกลุ่มตลอดจนวัตถุประสงค์รวมขององค์กร
1) การมีส่วนร่วมไม่ใช่ความร่วมมือ (Collaboration)การมีส่วนร่วมรวมถึงความสัมพันธ์มีความขัดแย้งกันมีความประสานกลมกลืนกันมีความสนิทสนมกัน และยังมีการแข่งขันด้วย
2) การมีส่วนร่วมในชุมชนทางสังคมจะสร้างประสบการณ์และสร้างชุมชนประชาชนจะได้ทำงานจริง ๆในชุมชนของตน
3) การมีส่วนร่วมมีความหมายกว้างกว่าการผูกมัด เพราะรวมถึงการปฏิบัติที่เกิดจากการเจรจาต่อรองในกิจกรรมต่าง ๆ ที่กระทำได้รวบรวมทัศนะของนักวิชาการหลายคน ทั้งนี้กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นวิธีการที่ภาครัฐภาคประชาสังคมและผู้ที่เกี่ยวข้อง มีโอกาสเรียนรู้ทำความเข้าใจประเด็นนโยบายสาธารณะร่วมกันปรึกษาหารือร่วมกัน เพื่อหาหนทางที่ดีที่สุด ทุกฝ่ายยอมรับมากที่สุดและมีผลกระทบเชิงลบน้อยที่สุด
จ.ส.อ. พรพล พุ่มพินิจ รหัส 64423471337
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0
ตอบ เพื่อรองรับต่อยุทธศาสตร์ Thailand 4.0 ภาครัฐหรือระบบราชการจะต้องทำงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนเป็นหลัก (Better Governance, Happier Citizens) ในการนี้ หมายความว่า ระบบราชการไทยจะต้องปฏิรูปขนานใหญ่ เพื่อให้สามารถเป็นที่ไว้วางใจและเป็นพึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริง กล่าวคือ
1. (Open & Connected Government) ต้องมีความเปิดเผยโปร่งใส ในการทำงาน โดยบุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการหรือมีการแบ่งปันข้อมูลซึ่งกันและกัน และสามารถเข้ามาตรวจสอบการทำงานได้ตลอดจนเปิดกว้างให้กลไกหรือภาคส่วนอื่น ๆ เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ได้เข้ามามีส่วนร่วม
2. (Citizen-Centric Government) ต้องทำงานในเชิงรุกและมองไปข้างหน้า โดยไม่ต้องรอให้ประชาชนเข้ามาติดต่อขอรับบริการหรือร้องขอความช่วยเหลือจากทางราชการ รวมทั้งใช้ประโยชน์จากข้อมูลของทางราชการ และระบบดิจิทัลสมัยใหม่ในการจัดบริการสาธารณะที่ตรงกับความต้องการของประชาชน พร้อมทั้งอำนวยความสะดวกโดยมีการเชื่อมโยงกันเองของทางราชการเพื่อให้บริการต่างๆ ประชาชนสามารถเรียกใช้บริการของทางราชการได้ตลอดเวลาตามความต้องการของตนและผ่านการติดต่อได้หลายช่องทาง เช่น อินเตอร์เน็ต เว็บไซด์ โซเชียลมีเดีย หรือแอปพลิเคชั่นทางโทรศัพท์มือถือ
3. (Smart & High Performance Government) ต้องทำงานอย่างเตรียมการณ์ไว้ล่วงหน้า มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง สร้างนวัตกรรมหรือความคิดริเริ่มและประยุกต์องค์ความรู้ ในแบบสหสาขาวิชาเข้ามาใช้ในการตอบโต้กับโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน เพื่อสร้างคุณค่า มีความยืดหยุ่น และความสามารถในการตอบสนองกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างทันเวลา ตลอดจนเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง และปรับตัวเข้าสู่สภาพความเป็นสำนักงานสมัยใหม่ รวมทั้งทำให้ข้าราชการมีความผูกพันต่อการปฏิบัติราชการ และปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเหมาะสมกับบทบาทของตนฉะนั้น ความสำเร็จของการพัฒนาไปสู่ระบบราชการ 4.0 ดังกล่าวต้องอาศัยปัจจัยสำคัญ ๆ อย่างน้อย สามประการ ได้แก่
1. การสานพลังระหว่างภาครัฐและภาคส่วนอื่น ๆ ในสังคม
2. การสร้างนวัตกรรม (Innovation) อันเป็นการคิดค้นและแสวงหาวิธีการหรือ solutions ใหม่ ๆ อันจะเกิด
3. การปรับเข้าสู่ความเป็นดิจิทัล อันเป็นการผสมผสานกันของการจัดเก็บและประมวลข้อมูลผ่าน อุปกรณ์ประเภท smart phone ทำให้สามารถติดต่อกันได้อย่าง real time ไม่ว่าจะอยู่ที่ใด
ลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ตอบ คือระบบที่มีการติดต่อเชื่อมโยงเอกสารระหว่างหน่วยงานของรัฐทั้งหมด โดยมีการติดต่อกับทางรัฐเพียงหน่วยงานเดียวเท่านั้น จากนั้นข้อมูลจะทำการเชื่อมต่อ และมีระบบฐานข้อมูลของภาครัฐอันเดียวกัน เช่น
ระบบบัตรประชาชน E-Sim เสียบบัตรเข้าเครื่องสแกนก็สามารถดึงข้อมูลทั้งระบบได้ระบบจัดส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน หรือเรียกกันว่า "ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์" ทั้งนี้ยังให้ประชาชนติดต่อผ่านทางดิจิทัลโดยตรงกับหน่วยงานได้เหมือนเดิมระบบดึงข้อมูล และเข้าระบบโดยมีระดับความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ตามความจำเป็นของแต่ละระดับของเจ้าหน้าที่ภาครัฐการพัฒนาประเทศให้ทันต่อโลกยุคดิจิทัล ที่จะทำให้การเข้าถึงข้อมูลนั้นทำได้โดยง่าย และการทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการของหน่วยงานของรัฐทำได้โดยง่ายนั้น จำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องมีระบบที่ปลอดภัย รวดเร็ว ทันสมัยซึ่งแน่นอนรัฐบาลก็ให้ความสำคัญและมีการพัฒนาระบบของภาครัฐอย่างต่อเนื่อง คือ ระบบที่มีการติดต่อเชื่อมโยงเอกสารระหว่างหน่วยงานของรัฐทั้งหมด โดยมีการติดต่อกับทางรัฐเพียงหน่วยงานเดียวเท่านั้น จากนั้นข้อมูลจะทำการเชื่อมต่อ และมีระบบฐานข้อมูลของภาครัฐอันเดียวกัน เช่น ระบบบัตรประชาชน E-Sim เสียบบัตรเข้าเครื่องสแกนก็สามารถดึงข้อมูลทั้งระบบได้ องค์กรภาครัฐจึงควรเห็นมิติทางโอกาสที่จะสามารถใช้ศักยภาพทั้งหมดเพื่อการเรียนรู้และปรับ ใช้จากประโยชน์จากระบบ 5G ด้วย
ส.ท. ฐิติกร ณ วิเชียร รหัส 64423471280

5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การมีส่วนร่วม (Participation) หมายถึง การที่บุคคลกระทำการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือในประเด็น
ที่บุคคลนั้นสนใจ ไม่ว่าเขาจะได้ปฏิบัติการเพื่อแสดงถึงความสนใจอย่างจริงจังหรือไม่ก็ตาม และไม่จำเป็น
ที่บุคคลนั้นจะต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับกิจกรรมนั้นโดยตรงก็ได้ แต่การมีทัศนคติ ความคิดเห็น ความสนใจ ห่วงใย ก็เพียงพอแล้วที่จะเรียกว่าเป็นการมีส่วนร่วมได้
การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การที่กลุ่มประชาชน หรือขบวนการที่สมาชิกของชุมชน
ที่กระทำการออกมาในลักษณะของการทำงานร่วมกัน ที่จะแสดงให้เห็นถึงความต้องการร่วม ความสนใจร่วม
มีความต้องการที่จะบรรลุถึงเป้าหมายร่วมทางเศรษฐกิจและสังคมหรือการเมือง หรือการดำเนินการร่วมกันเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจ มติชน ไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม หรือการดำเนินการเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจ การปรับปรุงสถานภาพทางสังคมในกลุ่มชุมชน

ปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน มีดังนี้
- ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนชั้นกลางขึ้นไป มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเมืองดีแต่ก็ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมทางการเมืองในรูปแบบที่เป็นทางการหรือการใช้สิทธิ์เลือกตั้งเพราะขาดความเชื่อมั่นต่อพรรคการเมือง
- ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนระดับล่าง ขาดการศึกษา ขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ ทำให้ไม่เข้าใจว่า การมีส่วนร่วมทางการเมืองจะมีความสำคัญการหาเลี้ยงชีพตนเองอย่างไร จึงปฏิเสธการมีส่วนร่วมทางการเมือง เมื่อขาดปัจจัยจูงใจ
- การมีส่วนร่วมทางการเมืองในเชิงสัญลักษณ์โดยปราศจากความตระหนักและความเข้าใจในคุณค่าของการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแท้จริง
- การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่มีระบบและมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่เป็นทางการ
มากเกินไป
- ปัญหาจากบทบาทของพรรคการเมือง

5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ตอบ การปฏิรูประบบราชการในปัจจุบัน เน้นการสร้างการบริหารจัดการระบบราชการ 4.0 ประเทศไทย
มุ่งสู่ไทยแลนด์ 4.0 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ภาครัฐต้องปรับตัวให้สามารถอำนวยความดำเนินกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัลท่ามกลางความที่รวดเร็วและไม่สามารถคาดเดาได้จึงต้องมุ่งเน้น
ความคล่องตัวภารกิจพิเศษ (Agenda – Based) และนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาพราชการสู่ Government 4.0
แต่ด้วยวิทยาการทางด้านเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาและปรับเปลี่ยนระบบอย่างรวดเร็วทำให้องค์กรภาครัฐ
เกิดความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนระบบการบริหารราชการไปสู่ยุคที่มีความรวดเร็วมากขึ้นด้วยการนำเทคนิคการบริหารระบบราชการยุค 5G มาปรับใช้ให้เกิดความพร้อมและประสิทธิภาพในเชิงการบริหารจัดการมากขึ้น

โดยมีลักษณะที่สำคัญ คือ
- การส่งผ่านของข้อมูลข่าวสารไปยังประชาชนที่มิได้ปกปิดข้อมูลต่อประชาชนอีกต่อไป
- การบริหารสาธารณะที่มีความรวดเร็วมากขึ้น
- การบริการประชาชนได้มากขี้น ครอบคลุมมากขึ้นไม่ว่าจะอยู่พื้นที่ใดก็ตาม
- การตอบสนองต่อการแก้ไขปัญหา และช่วยเหลือประชาชนมีประสิทธิภาพมากขึ้น และเกิดความครอบคลุมที่สามารถลดความเหลื่อมล้ำได้
- การสร้างจิตสำนึกร่วมพัฒนาสังคมระหว่างองค์กรภาครัฐกับประชาชนภายใต้บริบทอย่างรอบคอบ
รองรับ เร่งรัด รวดเร็ว และรับผิดชอบ
Unknown said…
ส.ท.หญิง พรลภัส พงษ์พา 64423471301
ตอบ 5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนถือเป็นหัวใจสำคัญ ในการสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กร การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารราชการเป็นแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐ แนวใหม่ที่ให้ความสำคัญกับ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดินโดยส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีบทบาทตั้งแต่ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมดำเนินการ ร่วมรับผลประโยชน์และร่วมประเมินผล ซึงจะนำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารราชการและบรรลุเป้าหมายในการพัฒนาระบบราชการวมทั้งสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริงแม้ว่าการพัฒนาระบบราชการให้เป็นระบบราชการแบบเปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมเป็นเรื่องใหม่ สำหรับสังคมไทยรวมถึงระบบราชการและข้าราชการไทยคงยังคุ้นเคยกับการทำงานแบบรวมศูนย์และสั่งการแต่เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายสำคัญนี้จำเป็นต้องมีการกำหนดยุทธศาสตร์แนวทางและมาตรการที่ชัดเจนเพื่อเป็นบรรทัดฐานใหม่ในการวางระบบการบริหารราชการไทยให้สนับสนุนกระบวนการทำงานของส่วนราชการที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้นเพราะหากระบบราชการมีการบริหารราชการ ที่ปิดโอกาสให้ประชาชนผู้ที่เกี่ยวช้องและภาคส่วนอื่นๆ ในสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมในงานราชการในระดับต่าง ๆ อย่างมีคุณภาพก็จะถือว่าเป็นก้าวสำคัญอีกก้าวหนึ่งในการพัฒนาระบบราชการ
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
5.2.1 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0
1. ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2. ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3. แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4. ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์และการตัดสินใจในการทำงาน
5. ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6. ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถนการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งในระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7. เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8. ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
9. บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเนันผลงานที่ดี
10. ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
5.2.2 ลักษณะสำคัญในยุค 5 G
1. การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน (Studious) ซึ่งเป็นความพยายามที่จะปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น
2. การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย (Underlie) ในยุค 5G องค์กร ภาครัฐจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้น
3. การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate) โดยการเร่งพัฒนาและปรับระบวนงานระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมของประชาชนที่กำลังจะเปลี่ยนไป ทั้งด้านบริการภาครัฐ ต้องมีความสะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน
4. ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง การเกิดปัญหาของประชาชนที่ซับซ้อนตามไปด้วย ทำให้องค์กรภาครัฐที่มี่หน้าที่ในการดูแล แก้ไขปัญหาประชาชนจำต้องเท่าเทียมและเตรียมความพร้อมในการพัฒนาระบบการให้บริการโดยนำเทคโนโลยีมาใช้ สนับสนุนเพื่อให้บริการประชาชน โดยมีเป้าหมายสำคัญ คือ การยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่างสะดวกรวดเร็ว โปร่งใส
5. การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน
ส.ท.ณรงค์ สัตตัง
รหัส 64423471327
5.1จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การเข้าไปกระทำร่วมกันโดยบุคคลที่อยู่เป็นกลุ่มชนท้ังทางด้านนามธรรมคือจิตใจ ความคิด อารมณ์ การเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน การพัฒนาทั้งในการแก้ไขปัญหาและป้องกันปัญหาโดยเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการคิดริเริ่มร่วมกำหนดนโยบาย ร่วมวางแผน ตัดสินใจและปฏิบัติตามแผน ร่วมตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐทุก ระดับ ร่วมติดตามประเมินผลและรับผิดชอบในเรื่องต่าง ๆ
5.2ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5G มีอะไรบ้าง
ตอบ ระบบราชการ 4.0” ตามนโยบายของ รัฐบาล โดยมีคุณลักษณะสาคัญ 10 ประการ (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2563 : 1) ประกอบด้วย
1) ทางานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
มิถุนายน 2564
4)ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการมีฐานข้อมูลท่ีทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์และ การตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งในระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมความคิดริเร่ิมและการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเองสู่องค์การที่มีความทันสมัยและมุ่งเน้นผลงานท่ีดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากรดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูงพัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร

ลักษณะสำคัญในยุค 5G
1. การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบท่ีไม่ส่งกระทบต่อประชาชน (Studious)
2. การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย
3. การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate)
4. ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง (Expeditious)
5. การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน(Responsible)
สิบโท สุนันท์ รัววิชา 64423471317
1. จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การมีส่วนร่วมของประชาชน ถือเป็นหลักการสากลที่อารยประเทศให้ความสำคัญ และเป็นประเด็นหลักที่สังคมไทยให้ความสนใจเพื่อพัฒนาการเมืองเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมตามหลักการธรรมมาภิบาลที่ภาครัฐจะต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนรับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ เพื่อสร้างความโปร่งใสและเพิ่มคุณภาพการตัดสินใจของภาครัฐให้ดีขึ้น และเป็นที่ยอมรับร่วมกันของทุก ๆ ฝ่าย

ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาไทย พ.ศ.2540 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 จึงต่างให้ความสำคัญต่อการบริหารราชการอย่างโปร่งใส สุจริต เปิดเผยข้อมูล และการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะ การตัดสินใจทางการเมือง รวมถึงการตรวจสอบ การใช้อำนาจรัฐในทุกระดับ

หลักการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมกับภาคราชการนั้น ได้แบ่งระดับของการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น 5 ระดับ ดังนี้

1. การให้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำที่สุด แต่เป็นระดับที่สำคัญที่สุด เพราะเป็นก้าวแรกของการที่ภาคราชการจะเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมในเรื่องต่าง ๆ วิธีการให้ข้อมูลสามารถใช้ช่องทางต่าง ๆ เช่น เอกสารสิ่งพิมพ์ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเสื่อต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายข่าว การจัดงานแถลงข่าว การติดประกาศ และการให้ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น

2. การรับฟังความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข้อเท็จจริงและความคิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การรับฟังความคิดเห็น การสำรวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น

3. การเกี่ยวข้อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอแนะทางที่นำไปสู่การตัดสินใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่าข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของประชาชนจะถูกนำไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ เช่น การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพิจารณาประเด็นนโยบายสาธารณะ ประชาพิจารณ์ การจัดตั้งคณะทำงานเพื่อเสนอแนะประเด็นนโยบาย เป็นต้น

4. ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชนผู้แทนภาคสาธารณะมีส่วนร่วม โดยเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ และมีการดำเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เช่น คณะกรรมการที่มีฝ่ายประชาชนร่วมเป็นกรรมการ เป็นต้น

5. การเสริมอำนาจแก่ประชาชน เป็นขั้นที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด โดยให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ เช่น การลงประชามติในประเด็นสาธารณะต่าง ๆ โครงการกองทุนหมู่บ้านที่มอบอำนาจให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจทั้งหมด เป็นต้น
สิบโท สุนันท์ รัววิชา 64423471317
2. ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5G มีอะไรบ้าง
ตอบ “ระบบราชการ 4.0” ตามนโยบายของ รัฐบาล โดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ
1.ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2.ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3.แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการท างานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4.ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์
และการตัดสินใจในการทำงาน
5.ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6.ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน
ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7.เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8.ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลง
9.บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10.ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่
สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
สรุป การวางระบบและวิธีการทำงานของระบบราชการ 4.0 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกรอบแนวทางการปฏิรูประบบราชการเพื่อรองรับไทยแลนด์ 4.0 ระบบและวิธีการทำงานของระบบราชการ 4.0 คือการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาลเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนระบบราชการจะต้องเป็นที่พึ่งของประขาชนและเชื่อถือไว้วางใจได้ ภาครัฐที่เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางการบริการและ ภาครัฐอัจฉริยะ - มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย เข้าถึงความต้องการ ในระดับปัจเจก การทำงานต้องเปิดเผยและโปร่งใส -ทำงานโดยมองไปข้างหน้า การทำงานต้องมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเพื่อเตรียมการเปิดกว้างให้กลไกหรือภาคส่วนอื่น ๆ
ลักษณะสำคัญในยุค 5 G คือ องค์กรภาครัฐจึงควรเห็นมิติทางโอกาสที่จะสามารถใช้ศักยภาพทั้งหมดเพื่อการเรียนรู้และปรับใช้จากประโยชน์จากระบบ 5G ด้วยประเด็นดังต่อไปนี้
1.การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชนซึ่งเป็นความพยายามที่จะปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น
2.การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย ในยุค 5G องค์กรภาครัฐจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้น
3.การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุมโดยการเร่งพัฒนาและปรับกระบวนงานระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมของประชาชนที่ กำลังจะเปลี่ยนไป ทั้งด้านบริการภาครัฐ ต้องมีความสะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน
4.ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่องเพราะบริบทการเปลี่ยนแปลงมีความรวดเร็วอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี ที่ส่งผลต่อการเกิดปัญหาของประชาชนที่ซับซ้อนตามไปด้วยทำให้องค์กรภาคตรัฐที่มี่หน้าที่ในการดูแลแก้ไขปัญหาประชาชนจำต้องเท่าเทียมและเตรียมความพร้อมในการพัฒนาระบบการให้บริการโดยนำเทคโนโลยีมาใช้สนับสนุนเพื่อให้บริการประชาชน
5.การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน (Responsible) ซึ่งมีลักษณะการยอมรับทั้งผลที่ไม่ดีและผลที่ดีในกิจการที่ได้ทำลงไปหรือที่อยู่ในความดูแลของกิจการนั้นๆ ซึ่งความรับผิดชอบดังกล่าวอาจดูได้จากการองค์กรภาครัฐใดที่มี Productivity สูงๆ และมีความรับผิดชอบในการทำงานได้อย่างดีไม่ถูกดึงดูดออกไปจากงานได้ง่ายๆก็จะเป็นองค์กรที่ประสบความสำเร็จได้สูงกว่า และองค์กรอื่นๆ
สรุป การบริหารองค์กรภาครัฐในโลกอนาคตที่มีความรอบคอบ รองรับ เร่งรัด รวดเร็ว และรับผิดชอบอาจจะเป็นบทบาทใหม่ขององค์กรภาครัฐที่ควรให้ความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมใหม่ที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้นเพื่อการพลิกประเทศไปสู่ความทันสมัยได้มากขึ้นผ่านการทำงานด้วยการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีมาปรับใช้เพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กรภาครัฐและช่วยลดทัศนคติของประชาชนในแง่ลบกลายมาเป็นทัศนคติเชิงบวกได้ด้วยองค์ความรู้ที่สำคัญที่ส่งผลต่อการแก้ไขปัญหาของประชาชนบนฐานเทคนิคการบริหารองค์กรภาครัฐ มิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชนได้ ทั้งหากองค์กรภาครัฐสามารถปรับเปลี่ยนและพัฒนาระบบต่างๆ ด้วยความทันสมัยจะช่วยให้ภาครัฐสามารถตอบโจทย์ของบทบาทของตนเองได้อย่างแท้จริง

ส.ต. พัชร หวังสิทธิโชค
รหัส 64423471303
Module 3
ข้อ 1. จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ
1. การมีส่วนร่วมของประชาชน การมีส่วนร่วมของประชาชน คือ กระบวนการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินงานพัฒนา ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจแก้ปัญหาของตนเอง ร่วมใช้ความคิดสร้างสรรค์ความรู้และความชํานาญร่วมกับวิทยากรที่ เหมาะสม และสนับสนุนติดตามผลการปฏิบัติงานขององค์กรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ แท้จริง จึงหมายถึง การที่ประชาชนหรือชุมชนพัฒนาขีดความสามารถของตนเองในการจัดการและควบคุมการใช้ ทรัพยากร และปัจจัยการผลิตที่มีอยู่ในสังคม เพื่อประโยชน์ต่อการดำรงชีพทางเศรษฐกิจและสังคม และการตัดสินใจต่างๆ เกี่ยวกับโครงการที่เหมาะสมและเป็นที่ยอมรับร่วมกันกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นแนวความคิดใหม่ที่มีรากฐานมาจากแนวคิดของระบอบประชาธิปไตย เป็นกระแสของความคิดที่ทำให้ผู้คนในสังคมตระหนักดีว่าการดำเนินกิจการใด ๆ ก็ตาม ผู้ที่ได้รับผลกระทบและมีส่วนได้ เสียควรเป็นผู้มีโอกาสได้แสดงความคิดเห็นและเสนอแนะความคิด การปฏิบัติงานประชาสัมพันธ์ในยุคปัจจุบันจึงต้อง ประยุกต์แนวคิดให้ตอบรับกับแนวคิดประชาธิปไตย โดยต้องสร้างกระบวนการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนอัน เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงาน และเป็นส่วนสำคัญของแนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประชาชนกลุ่มที่มีส่วนได้เสียและได้รับผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต ดังนั้น การพัฒนาจึงเริ่มจากความต้องการของ ชุมชนแทนความต้องการของหน่วยงานภาครัฐรูปแบบของการมีส่วนร่วม การท ี่ประชาชนภายในพื้นที่มีการรวมกลุ่ม ในรูปของประชาคมหรือชุมชน ซึ่งเป็นแนวคิดที่สนับสนุน ความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม โดยเน้นการมีส่วนร่วม ของประชาชน ให้ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ไขปัญหา ซึ่งการแก้ไขปัญหานั้นจำเป็นต้องมีความร่วมมือทำพร้อม ๆ กันใน ทุกระดับ ต้องระดมทุกองค์ประกอบในสังคม โดยเฉพาะชุมชน เพื่อเสริมสร้างความเป็นชุมชนให้มีความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้ด้วยตนเอง รูปแบบของการมีส่วนร่วมที่ดำเนินอยู่โดยทั่วไป สามารถสรุปได้เป็น 4 รูปแบบ ดังนี้.-
1.1 การรับรู้ข่าวสาร ประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องได้รับการ แจ้งให้ทราบถึงรายละเอียดของโครงการที่จะดำเนินการ รวมทั้งผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ทั้งนี้การได้รับแจ้งข่าวสาร ดังกล่าวจะต้องเป็นการแจ้งก่อนที่จะมีการตัดสินใจดำเนินโครงการ
1.2 การปรึกษาหารือ เป็นรูปแบบการมีส่วนร่วมที่มีการจัดการหารือ ระหว่างผู้ดำเนินการโครงการกับประชาชนที่เกี่ยวข้องและได้รับผลกระทบ เพื่อรับฟังความคิดเห็นและตรวจสอบข้อมูล เพิ่มเติม เพื่อให้เกิดความเข้าใจในโครงการและกิจกรรมมากขึ้น
1.3 การประชุมรับฟังความคิดเห็น มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนและฝ่าย เกี่ยวข้องกับโครงการหรือกิจกรรม และผู้มีอำนาจตัดสินใจในการทำโครงการหรือกิจกรรมนั้นได้ใช้เวที สาธารณะในการทำความเข้าใจ และค้นหาเหตุผลในการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมในพื้นที่นั้น
1.4 การร่วมในการตัดสินใจ เป็นเป้าหมายสูงสุดของการมีส่วนร่วมของ ประชาชน ซึ่งประชาชนจะมีบทบาทในการตัดสินใจได้เพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของคณะกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชนในพื้นที่ลักษณะที่สำคัญของการมีส่วนร่วมว่าเป็นเรื่องของกระบวนการ
ส.ต. พัชร หวังสิทธิโชค
รหัส 64423471303
Module 3
ข้อ 2. ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5G มีอะไรบ้าง?
ตอบ
ระบบราชการยุค 4.0 ประเทศไทยมุ่งสูไทยแลนด์ 4.0 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ภาครัฐต้องปรับตัวให้สามารถอํานวยความสะดวกในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัลท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและไม่สามารถคาดเดาได้ จึงต้องมุ่งเน้นความคล้องตัว เพื่อขับเคลื่อนภารกิจพิเศษ (Agenda – Based) และนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาสู่ระบบราชการ 4.0
ระบบราชการและการบริหารจัดการภาครัฐในยุคปัจจุบัน ต้องมีการปรับเปลี่ยนไปตามเทคโนโลยีดิจิทัลที่กำลังเปลี่ยนโลกในเวลานี้ โดยนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับระบบราชการไทย จึงจำเป็นต้องพัฒนาเพื่อยกระดับวิธีคิด การทำงาน เพื่อก้าวสู่การเป็นระบบราชการในยุค 5G ด้วยการจัดระบบระเบียบการให้บริการประชาชนให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยปรับเปลี่ยนและปฏิรูป การทำงานให้สอดรับกับนโยบาย และวิสัยทัศน์ดังกล่าว เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐมีการพัฒนาองค์ ตามนโยบายของรัฐบาล โดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ ดังนี้.-
1. ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2. ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3. แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4. ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และการตัดสินใจในการทำงาน
5. ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6. ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งในระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7. เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8. ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการทำงานที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
9. บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์กรที่มีความทันสมัยและมุ่งเน้นผลงานที่ดี
10. ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
Unknown said…
ณพวิทย์ ลิ่วมงคล 64423471346
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนการมีส่วนร่วม (Participation) ตามพจนานุกรมได้ให้คำนิยามไว้ว่า“ เป็นการมีส่วน (ร่วมกับคนอื่น) ในการกระทำบางอย่างหรือบางเรื่อง” คำว่าการมีส่วนร่วมโดยมากมักจะใช้ในความหมายตรงข้ามกับคำว่า“ การเงินเฉย (Apathy)” ฉะนั้นคำว่าการมีส่วนร่วมตามความหมายข้างต้นจึงหมายถึงการที่บุคคลกระทำการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือในประเด็นที่บุคคลนั้นสนใจไม่ว่าเขาจะได้ปฏิบัติการเพื่อแสดงถึงความสนใจอย่างจริงจังหรือไม่ก็ตามและไม่จำเป็นที่บุคคลนั้นจะต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับกิจกรรมนั้นโดยตรงก็ได้ แต่การมีทัศนคติความคิดเห็นความสนใจห่วงใยเพียงพอแล้วที่จะเรียกว่าเป็นการมีส่วนร่วมได้และยังได้ให้คำจำกัดความของการมีส่วนร่วมของประชาชนว่า“ การมีส่วนร่วมของประชาชน” หมายถึงการที่กลุ่มประชาชนหรือขบวนการที่สมาชิกของชุมชนที่กระทำการออกมาในลักษณะของการทำงานร่วมกันที่จะแสดงให้เห็นถึงความต้องการร่วมความสนใจร่วมมีความต้องการที่จะบรรลุถึงเป้าหมายร่วมทางเศรษฐกิจและสังคมหรือการเมืองหรือการดำเนินการร่วมกันเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจมติชนไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อมหรือการดำเนินการเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจทางการเมืองเศรษฐกิจการปรับปรุงสถานภาพทางสังคมในกลุ่มชุมชน
Unknown said…
ณพวิทย์ ลิ่วมงคล 64423471346
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ระบบราชการ 4.0” ตามนโยบายของรัฐบาลโดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ ประกอบด้วย
1) ทำงานอย่างเปิดเผยโปร่งใสเอื้อให้บุคคลภายนอกและประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชนและสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการมีฐานข้อมูลที่ทันสมัยเพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์และการตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัวรองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ทันเวลามีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งในระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วมถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8)ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมความคิดริเริ่มและการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการทำงานที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเองสู่องค์การที่มีความทันสมัยและมุ่งเน้นผลงานที่ดี 10) ให้ความสำคัญกับบุคลากรดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูงพัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาทหน้าที่สร้างความผูกพันสร้างแรงจูงใจมีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
องค์กรภาครัฐจึงควรเห็นมิติทางโอกาสที่จะสามารถใช้ศักยภาพทั้งหมดเพื่อการเรียนรู้และปรับ ใช้จากประโยชน์จากระบบ 5G ด้วยประเด็นดังต่อไปนี้
1.การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน (Studious) ซึ่งเป็นความพยายามที่จะปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้นรวมถึงการควบคุมตรวจตราให้งานเป็นไปตามแผนที่วางไว้อย่างถูกต้องชัดเจนมีละเอียดถี่ถ้วนในการปฏิบัติตามขั้นตอนการปฏิบัติงานกฎระเบียบที่วางไว้อันอาทิจัดระเบียบโต๊ะเป็นการแสดงอุปนิสัยรักความเป็นระเบียบเรียบร้อยทั้งในงานและในสภาวะแวดล้อมรอบตัวทำงานและบริเวณหน่วยงานที่ตนปฏิบัติหน้าที่อยู่ริเริ่มหรือร่วมดำเนินกิจกรรมเพื่อความเป็นระเบียบของสถานที่ทํางานสามารถลดข้อผิดพลาดที่เคยเกิดขึ้นแล้วจากความไม่ตั้งใจ
2. การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย (Underlle) ในยุค 5G องค์กรภาครัฐจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้น รวมทั้งวิธีการส่งเสริมการจัดการสมัยใหม่ที่มีความผสมผสานกับกิจกรรมทางสังคมเดิมจึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะนำไปสู่นวัตกรรมทางการบริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง
3. การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate) โดยการเร่งพัฒนาและปรับเปลี่ยนไปทั้งด้านบริการภาครัฐต้องมีความสะดวกรวดเร็วและตอบโจทย์ชีวิตประชาชนข้อมูลภาครัฐมีมาตรฐานทันสมัยและเชื่อมโยงกันก้าวสู่รัฐบาลดิจิทัลโครงสร้างองค์กรภาครัฐต้องกะทัดรัดสามารถปรับตัวได้เร็วและระบบงานผลสัมฤทธิ์สูงส่วนกำลังคนภาครัฐมีขนาดที่เหมาะสมและมีสมรรถนะสูงพร้อมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติอีกทั้งระบบบริหารงานบุคคลที่สามารถดึงดูดสร้างและรักษาคนดีคนเก่งไว้ในภาครัฐและการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐคล่องตัวโปร่งใสและมีกลไกป้องกันการทุจริตทุกขั้นตอน
4. ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง (Expeditious) เพราะบริบทการเปลี่ยนแปลงมีความรวดเร็วอย่างมากไม่ว่าจะเป็นด้านการเมืองสังคมเศรษฐกิจวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อการเกิดปัญหาของประชาชนที่ซับซ้อนตามไปด้วยทำให้องค์กรภาคตรัฐที่มีหน้าที่ในการดูแลแก้ไขปัญหาประชาชนต้องเท่าเทียมและเตรียมความพร้อมในการพัฒนาระบบการให้บริการโดยนาเทคโนโลยีมาใช้สนับสนุนเพื่อให้บริการประชาชนโดยมีเป้าหมายสำคัญคือการยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางตอบสนองความต้องการและให้บริการอย่างสะดวกรวดเร็วโปร่งใสโดยภาครัฐต้องทำงานร่วมมือและประสานพลังในการปฏิบัติหน้าที่มีระบบการบริหารจัดการที่ทันสมัย
5. การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน (Responsible) ซึ่งมีลักษณะการยอมรับทั้งผลที่ไม่ดีและผลที่ดีในกิจการที่ได้ทำลงไปหรือที่อยู่ในความดูแลของกิจการนั้น ๆ ซึ่งความรับผิดชอบดังกล่าวอาจดูได้จากการองค์กรภาครัฐใดที่มี Productivity สูง ๆ และมีความรับผิดชอบในการทำงานได้อย่างที่ไม่ถูกดึงดูดออกไปจากงานได้ง่ายๆก็จะเป็นองค์กรที่ประสบความสำเร็จได้สูงกว่าและองค์กรอื่น ๆ นอกจากนี้องค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐานได้วางแนวทางในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรเพื่อส่งเสริมให้องค์กรสามารถพัฒนาตนเองไปสู่การเป็นองค์กรที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมระบุทั้งสิ้น 7 ประการ ได้แก่ 1) การกำกับดูแลองการ 2) สิทธิมนุษยชน 3 การปฏิบัติด้านแรงงาน 4) สิ่งแวดล้อม 5) การดำเนินงานอย่างเป็นธรรม 6) ประเด็นด้านผู้บริโภคและ 7) การมีส่วนร่วมและการพัฒนาชุมชน
ส.อ.หญิง พนิดา ใจงาม 64423471296

5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การมีส่วนร่วมของประชาชน ถือเป็นหลักการสากลที่อารยประเทศให้ความสำคัญ และเป็นประเด็นหลักที่สังคมไทยให้ความสนใจเพื่อพัฒนาการเมืองเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมตามหลักการธรรมมาภิบาลที่ภาครัฐจะต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนรับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ เพื่อสร้างความโปร่งใสและเพิ่มคุณภาพการตัดสินใจของภาครัฐให้ดีขึ้น และเป็นที่ยอมรับร่วมกันของทุก ๆ ฝ่าย
หลักการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมกับภาคราชการนั้น Iได้แบ่งระดับของการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น 5 ระดับ ดังนี้
1. การให้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำที่สุด แต่เป็นระดับที่สำคัญที่สุด เพราะเป็นก้าวแรกของการที่ภาคราชการจะเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมในเรื่องต่าง ๆ วิธีการให้ข้อมูลสามารถใช้ช่องทางต่าง ๆ เช่น เอกสารสิ่งพิมพ์ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเสื่อต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายข่าว การจัดงานแถลงข่าว การติดประกาศ และการให้ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
2. การรับฟังความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข้อเท็จจริงและความคิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การรับฟังความคิดเห็น การสำรวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
3. การเกี่ยวข้อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอแนะทางที่นำไปสู่การตัดสินใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่าข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของประชาชนจะถูกนำไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ เช่น การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพิจารณา การจัดตั้งคณะทำงานเพื่อเสนอแนะประเด็นนโยบาย เป็นต้น
4. ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชนผู้แทนภาคสาธารณะมีส่วนร่วม โดยเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ และมีการดำเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เช่น คณะกรรมการที่มีฝ่ายประชาชนร่วมเป็นกรรมการ เป็นต้น
5. การเสริมอำนาจแก่ประชาชน เป็นขั้นที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด โดยให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ เช่น การลงประชามติในประเด็นสาธารณะต่าง ๆ โครงการกองทุนหมู่บ้านที่มอบอำนาจให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจทั้งหมด เป็นต้น
การสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน อาจทำได้หลายระดับและหลายวิธี ซึ่งบางวิธีสามารถทำได้อย่างง่าย ๆ แต่บางวิธีก็ต้องใช้เวลา ขึ้นอยู่กับความต้องการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชน ค่าใช้จ่ายและความจำเป็นในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นเรื่องละเอียดอ่อน จึงต้องมีการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องแก่ประชาชน การรับฟังความคิดเห็น การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม รวมทั้งพัฒนาทักษะและศักยภาพของข้าราชการทุกระดับควบคู่กันไปด้วย

- อุปสรรค และปัญหาที่สำคัญของกระบวนการการมีส่วนร่วมที่สำคัญ  มีดังนี้
ประการแรก  เนื่องจากสังคมไทยเป็นสังคมอำนาจนิยม-อุปถัมภ์  ผู้มีอำนาจไม่ค่อยอมรับฟังความคิดเห็นของคนที่มีตำแหน่งแห่งที่ต่ำกว่า หรือด้อยกว่า ทั้งในองค์กร และภายนอกองค์กร ผู้มีอำนาจทำตัวเป็นเจ้าของหน่วยงาน หรือองค์กร มักจะออกมาตอบโต้คนที่คิดเห็นต่างกับตน ด้วยตรรกะที่คับแคบ  บิดเบือน  เพื่อเอาชนะคะคาน  สร้างความชอบธรรมให้แก่ความคิด  ความเห็นของตนเอง  และสร้างความไม่ชอบธรรมให้แก่ฝ่ายที่เห็นต่าง  โดยไม่คำนึงถึงความถูกต้อง
ประการที่สอง  ผู้มีส่วนร่วมฝ่ายที่สนับสนุน หรือมีความคิดคล้อยตามผู้มีอำนาจแบบ “สาวก” หรือองครักษ์พิทักษ์นาย  มักจะทำหน้าที่เป็นสาวก  ปกป้องผู้มีอำนาจ  ส่วนมากมักจะจบลงด้วยการดูหมิ่นดูแคลนอีกฝ่าย  ฝ่ายนี้เข้ามีส่วนร่วมด้วยความรู้สึก  ด้วยอารมณ์  มากกว่าด้วยข้อมูล  ด้วยความรู้ และด้วยจิตสำนึกเพื่อสาธารณะ  จุดยืนหลักคือ  พิทักษ์นายแลกกับผลประโยชน์เล็กๆ น้อยๆ เฉพาะหน้า  แต่ก็เป็นมรรคเป็นผลในระยะยาว
ประการที่สาม  ฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยต่อผู้มีอำนาจถูกกระทำทุกวิถีทางให้ขาดความชอบธรรม  ไม่มีที่ยืนในสังคม  และต้องแบกรับภาระทั้งต้องแจกแจง หรือบอกข้อบกพร่องของผู้มีอำนาจ และต้องนำเสนอทางออกที่ดีกว่า
สุดท้ายความขัดแย้งของกระบวนการมีส่วนร่วมก็มักจะจบลงที่ผู้มีอำนาจดำเนินการไปตามที่ตน และพรรคพวกต้องการ จนกว่าฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยจะขยายวงออกไปจนมากพอที่จะล้มโครงการ หรือหยุดนโยบายสาธารณะที่ไม่ชอบธรรมนั้นๆ ได้
ประการที่สี่  ประชาชนส่วนใหญ่ที่ไม่ได้รับผลกระทบโดยตรง หรือรับผลกระทบก็ตาม  มักจะเพิกเฉย  คอยเสมอนอก  เมื่อฝ่ายใดแพ้ก็จะรุมประณาม  เยาะเย้ย

ส.อ.หญิง พนิดา ใจงาม 64423471296

5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ตอบ คุณลักษณะสำคัญในการเป็น ระบบราชการ 4.0 ควรต้องมีการดำเนินการในเรื่องสำคัญ 10 ข้อดังนี้
 1) ทำงานอย่างเปิดเผยโปร่งใสเพื่อให้บุคคลภายนอกและประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้ 
2 )ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชนและสร้างคุณค่า 
3 )แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว 
4 )ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการบริหารจัดการมีฐานข้อมูลที่ทันสมัยเพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์และการตัดสินใจในการทำงาน 
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัวรองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย 
6) การเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ทันเวลามีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งในระดับองค์กรและในระดับปฏิบัติการ 
7) เปิดให้เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้ 
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมความคิดริเริ่มและการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ ในการทำงานที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง 
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมปรับเปลี่ยนตัวเองสู่วงการที่มีความทันสมัยและมุ่งเน้นผลงานที่ดี 
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากรดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูงพัฒนาอย่างเหมาะสม ตามบทบาทหน้าที่สร้างความผูกพันสร้างแรงจูงใจมีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงทางด้านบุคลากร

- ลักษณะสำคัญในยุค 5G
คือ ระบบที่มีการติดต่อเชื่อมโยงเอกสารระหว่างหน่วยงานของรัฐทั้งหมด โดยมีการติดต่อกับทางรัฐเพียงหน่วยงานเดียวเท่านั้น จากนั้นข้อมูลจะทำการเชื่อมต่อ และมีระบบฐานข้อมูลของภาครัฐอันเดียวกัน เช่น
* ระบบบัตรประชาชน E-Sim เสียบบัตรเข้าเครื่องสแกนก็สามารถดึงข้อมูลทั้งระบบได้
* ระบบจัดส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน หรือเรียกกันว่า “ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์” ทั้งนี้ยังให้ประชาชนติดต่อผ่านทางดิจิทัลโดยตรงกับหน่วยงานได้เหมือนเดิม
* ระบบดึงข้อมูล และเข้าระบบโดยมีระดับความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ตามความจำเป็นของแต่ละระดับของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ
การพัฒนาประเทศให้ทันต่อโลกยุคดิจิทัล ที่จะทำให้การเข้าถึงข้อมูลนั้นทำได้โดยง่าย และการทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการของหน่วยงานของรัฐทำได้โดยง่ายนั้น จำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องมีระบบที่ปลอดภัย รวดเร็ว ทันสมัย ซึ่งแน่นอนรัฐบาลก็ให้ความสำคัญและมีการพัฒนาระบบของภาครัฐอย่างต่อเนื่อง
อนึ่ง ระบบของภาครัฐนั้นเป็นระบบที่ใหญ่ ดังนั้นการปรับปรุงเพื่อให้ทันต่อยุคสมัยในเป็นไปได้ยาก และค่อนข้างใช้เวลาและทรัพยากรค่อนข้างสูง เพื่อตอบคำถามที่ทุกคนมีในใจว่า “ทำไมข้อมูลไม่เชื่อมโยงกัน?” หรือ “ทำไมต้องติดต่อราชการแยกทุกหน่วยงาน ไปที่เดียวไม่ได้เหรอ?” รัฐบาลก็ยังไม่ย่อท้อต่อการปรับปรุงระบบทั้งเพื่อคนทำงานที่ทำให้ทำงานง่าย ไม่เกิดความซ้ำซ้อน ลดกำลังคนทำงานภาครัฐ ในส่วนเอกสารต่างๆ ลง และปลายทางของงานนี้คือ ประชาชนชาวไทย ได้รับบริการที่ถูกต้อง รวดเร็ว ตลอดจนเกิดคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ในด้านเวลา คุณภาพการเข้าถึงข้อมูล การติดตามตรวจสอบข้อมูลทำให้ง่าย เรียกง่ายๆ ว่า ตอบโจทย์ประชาชนทุกระดับเลยทีเดียว
Unknown said…
ส.ท.พุทธิพงศ์ ดีเบา 64423471351
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การมีส่วนร่วม (Participation) หมายถึง การที่บุคคลกระทำการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือในประเด็น
ที่บุคคลนั้นสนใจ ไม่ว่าเขาจะได้ปฏิบัติการเพื่อแสดงถึงความสนใจอย่างจริงจังหรือไม่ก็ตาม และไม่จำเป็น
ที่บุคคลนั้นจะต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับกิจกรรมนั้นโดยตรงก็ได้ แต่การมีทัศนคติ ความคิดเห็น ความสนใจ ห่วงใย ก็เพียงพอแล้วที่จะเรียกว่าเป็นการมีส่วนร่วมได้
การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การที่กลุ่มประชาชน หรือขบวนการที่สมาชิกของชุมชน
ที่กระทำการออกมาในลักษณะของการทำงานร่วมกัน ที่จะแสดงให้เห็นถึงความต้องการร่วม ความสนใจร่วม
มีความต้องการที่จะบรรลุถึงเป้าหมายร่วมทางเศรษฐกิจและสังคมหรือการเมือง หรือการดำเนินการร่วมกันเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจ มติชน ไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม หรือการดำเนินการเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจ การปรับปรุงสถานภาพทางสังคมในกลุ่มชุมชน

ปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน มีดังนี้
- ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนชั้นกลางขึ้นไป มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเมืองดีแต่ก็ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมทางการเมืองในรูปแบบที่เป็นทางการหรือการใช้สิทธิ์เลือกตั้งเพราะขาดความเชื่อมั่นต่อพรรคการเมือง
- ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนระดับล่าง ขาดการศึกษา ขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ ทำให้ไม่เข้าใจว่า การมีส่วนร่วมทางการเมืองจะมีความสำคัญการหาเลี้ยงชีพตนเองอย่างไร จึงปฏิเสธการมีส่วนร่วมทางการเมือง เมื่อขาดปัจจัยจูงใจ
- การมีส่วนร่วมทางการเมืองในเชิงสัญลักษณ์โดยปราศจากความตระหนักและความเข้าใจในคุณค่าของการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแท้จริง
- การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่มีระบบและมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่เป็นทางการ
มากเกินไป
- ปัญหาจากบทบาทของพรรคการเมือง

5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ตอบ การปฏิรูประบบราชการในปัจจุบัน เน้นการสร้างการบริหารจัดการระบบราชการ 4.0 ประเทศไทย
มุ่งสู่ไทยแลนด์ 4.0 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ภาครัฐต้องปรับตัวให้สามารถอำนวยความดำเนินกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัลท่ามกลางความที่รวดเร็วและไม่สามารถคาดเดาได้จึงต้องมุ่งเน้น
ความคล่องตัวภารกิจพิเศษ (Agenda – Based) และนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาพราชการสู่ Government 4.0
แต่ด้วยวิทยาการทางด้านเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาและปรับเปลี่ยนระบบอย่างรวดเร็วทำให้องค์กรภาครัฐ
เกิดความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนระบบการบริหารราชการไปสู่ยุคที่มีความรวดเร็วมากขึ้นด้วยการนำเทคนิคการบริหารระบบราชการยุค 5G มาปรับใช้ให้เกิดความพร้อมและประสิทธิภาพในเชิงการบริหารจัดการมากขึ้น

โดยมีลักษณะที่สำคัญ คือ
- การส่งผ่านของข้อมูลข่าวสารไปยังประชาชนที่มิได้ปกปิดข้อมูลต่อประชาชนอีกต่อไป
- การบริหารสาธารณะที่มีความรวดเร็วมากขึ้น
- การบริการประชาชนได้มากขี้น ครอบคลุมมากขึ้นไม่ว่าจะอยู่พื้นที่ใดก็ตาม
- การตอบสนองต่อการแก้ไขปัญหา และช่วยเหลือประชาชนมีประสิทธิภาพมากขึ้น และเกิดความครอบคลุมที่สามารถลดความเหลื่อมล้ำได้
- การสร้างจิตสำนึกร่วมพัฒนาสังคมระหว่างองค์กรภาครัฐกับประชาชนภายใต้บริบทอย่างรอบคอบ
รองรับ เร่งรัด รวดเร็ว และรับผิดชอบ
ส.อ.ชัชวาลย์ การุณยรัต รหัส 64423471338
Module#3
1. จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วม และปัญหารการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การมีส่วนร่วมของประชาชน ในฐานะสมาชิกของสังคม ไม่ว่าจะในบริบทของการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมืองหรือวัฒนธรรม ย่อมเป็นสิ่งที่แสดงออกให้เห็นถึงพัฒนาการรับรู้ และภูมิปัญญาในการกำหนดชีวิตของตนอย่างเป็นตัวของตนเองในการจัดการควบคุมการใช้ และการกระจายทรัพยากรที่มีอยู่เพื่อประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตทางเศรษฐกิจและสังคม ตามความจำเป็นอย่างสมศักดิ์ศรี การบริหารราชการแผ่นดิน เป็นการกำหนดนโบายและทิศทางว่าจะจัดการปกครองประเทศในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง การต่างประเทศ ไปในแนวทางใดและใช้วิธีการใด จึงจะเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐมีประสิทธิภาพ คุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยการจัดหาอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ งบประมาณ เครื่องมือเครื่องใช้ และออกกฎ ระเบียบต่าง ๆ มารองรับ ตลอดจนการบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมายตามที่อำนาจนิติบัญญัติคือรัฐสภาให้ความเห็นชอบตราขึ้นใช้บังคับ
ปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน เกิดจากการที่ประชาชนไม่รู้ และไม่ตื่นตัวเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เนื่องจากประชาชนยังมองว่าเป็นเรื่องไกลตัว และยังมีภาระหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบทั้งของตัวเอง หรือแม้กระทั้งต่อครอบครัวหรือต่อสังคมเองก็ตาม ทำให้การมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนเกิดปัญหา ซึ่งแนวทางแก้ไข ควรที่จะอธิบายทำความเข้าใจให้ประชาชนรู้ถึงสิทธิและหน้าที่ของตัวเองตามกฎหมาย เพื่อให้ประชาชนรับรู้ และรับทราบถึงสิทธิของตัวเอง เมื่อประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ การมีส่วนร่วมในสังคมก็จะเกิดขึ้นได้โดยง่าย
2.ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5G มีอะไรบ้าง
ตอบ ลักษณะสำคัญของระบบราชการยุค 4.0 มี 10 ประการดังนี้
1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์
และการตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งในระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
ลักษณะสำคัญในยุค 5G มี 5 ประการ ดังนี้
1. การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน (Studious) ซึ่งเป็นความพยายามที่จะปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น รวมถึงการควบคุมตรวจตราให้งานเป็นไปตามแผนที่วางไว้อย่างถูกต้องชัดเจน
2. การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย (Underlie) ในยุค 5G องค์กรภาครัฐจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้นการนำเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานเน้นการให้บริการ
3. การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate) โดยการเร่งพัฒนาและปรับกระบนงานระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมของประชาชนที่ กำลังจะเปลี่ยนแปลงไป
4. ความรวดเร็วในการแก้ใขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง (Expeditious) เพราะบริบทการเปลี่ยนแปลงมีความรวดเร็วอย่างมากไม่ว่าจะเป็นด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี
5. การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประซาชน(Responsible) ซึ่งมีลักษณะการยอมรับทั้งผลที่ไม่ดีและผลที่ดีในกิจการที่ได้ทำลงไปหรือที่อยู่ในความดูแลของกิจการนั้นๆ

ส.ท. ธีรพงศ์ พูลเพิ่ม รหัส 64423471309
Module3

1.) จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ 1.1 การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การที่กลุ่มประชาชน หรือขบวนการที่สมาชิกของชุมชนที่กระทำการออกมาในลักษณะของการทำงานร่วมกัน ที่จะแสดงให้เห็นถึงความต้องการร่วม ความสนใจร่วม มีความต้องการที่จะบรรลุถึงเป้าหมายร่วมทางเศรษฐกิจและสังคมหรือการเมือง หรือการดำเนินการร่วมกันเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจ มติชน ไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม หรือการดำเนินการเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจ การปรับปรุงสถานภาพทางสังคมในกลุ่มชุมชน
1.2 ปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน มีดังนี้
1.2.1 ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนชั้นกลางขึ้นไป มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเมืองดีแต่ก็ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมทางการเมืองในรูปแบบที่เป็นทางการหรือการใช้สิทธิ์เลือกตั้งเพราะขาดความเชื่อมั่นต่อพรรคการเมือง
1.2.2 ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนระดับล่าง ขาดการศึกษา ขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ ทำให้ไม่เข้าใจว่า การมีส่วนร่วมทางการเมืองจะมีความสำคัญการหาเลี้ยงชีพตนเองอย่างไร จึงปฏิเสธการมีส่วนร่วมทางการเมือง เมื่อขาดปัจจัยจูงใจ
1.2.3 การมีส่วนร่วมทางการเมืองในเชิงสัญลักษณ์โดยปราศจากความตระหนักและความเข้าใจในคุณค่าของการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแท้จริง
1.2.4 การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่มีระบบและมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่เป็นทางการ
มากเกินไป
1.2.5 ปัญหาจากบทบาทของพรรคการเมือง

2.) ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ตอบ 2.1 ระบบราชการยุค 4.0 มีลักษณะสำคัญ 10 ประการ ดังนี้
2.1.1 ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2.1.2 ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
2.1.3 แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
2.1.4 ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์
และการตัดสินใจในการทำงาน
2.1.5 ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
2.1.6 ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน
ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
2.1.7 เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
2.1.8 ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการทำงานที่ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลง
2.1.9 บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
2.1.10 ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่
สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
2.2 ลักษณะสำคัญในยุค 5 G มี 5 ประการ ดังนี้
2.2.1. การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน (Studious)
2.2.2 การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย (Underlie)
2.2.3 การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate)
2.2.4 ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง (Expeditious)
2.2.5 การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน(Responsible)
นางสาวภาณิชา เทียมทัด รหัสนักศึกษา 64423471300
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การมีส่วนร่วม คือ การเปิดโอกาสให้ทุกคนเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินงานพัฒนาไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม โดยการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจเพื่อกำหนดเป้าหมายของสังคมและการจัดสรรทรัพยากรเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย และปฏิบัติตามแผนการหรือ โครงการต่าง ๆ ด้วยความเต็มใจ
การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การที่กลุ่มประชาชน หรือขบวนการที่สมาชิกของชุมชน
ที่กระทำการออกมาในลักษณะของการทำงานร่วมกัน ที่จะแสดงให้เห็นถึงความต้องการร่วม ความสนใจร่วม มีความต้องการที่จะบรรลุถึงเป้าหมายร่วมทางเศรษฐกิจและสังคมหรือการเมือง หรือการดำเนินการร่วมกันเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจ มติชน ไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม หรือการดำเนินการเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจ การปรับปรุงสถานภาพทางสังคมในกลุ่มชุมชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนที่แท้จริง จึงหมายถึง การที่ประชาชนหรือชุมชนพัฒนาขีดความสามารถของตนเองในการจัดการและควบคุมการใช้ทรัพยากร และปัจจัยการผลิตที่มีอยู่ในสังคม เพื่อประโยชน์ต่อการดำรงชีพทางเศรษฐกิจและสังคม และการตัดสินใจต่างๆเกี่ยวกับโครงการที่เหมาะสมและเป็นที่ยอมรับร่วมกัน
ปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน มีดังนี้
- ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนชั้นกลางขึ้นไป มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเมืองดีแต่ก็ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมทางการเมืองในรูปแบบที่เป็นทางการหรือการใช้สิทธิ์เลือกตั้งเพราะขาดความเชื่อมั่นต่อพรรคการเมือง
- ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนระดับล่าง ขาดการศึกษา ขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ ทำให้ไม่เข้าใจว่า การมีส่วนร่วมทางการเมืองจะมีความสำคัญการหาเลี้ยงชีพตนเองอย่างไร จึงปฏิเสธการมีส่วนร่วมทางการเมือง เมื่อขาดปัจจัยจูงใจ
- การมีส่วนร่วมทางการเมืองในเชิงสัญลักษณ์โดยปราศจากความตระหนักและความเข้าใจในคุณค่าของการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแท้จริง
- การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่มีระบบและมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่เป็นทางการ
มากเกินไป
- ปัญหาจากบทบาทของพรรคการเมือง
นางสาวภาณิชา เทียมทัด รหัวนักศึกษา 64423471300
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การมีส่วนร่วม (Participation) หมายถึง การเปิดโอกาสให้ทุกคนเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินงานพัฒนาไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม โดยการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจเพื่อกำหนดเป้าหมายของสังคมและการจัดสรรทรัพยากรเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย และปฏิบัติตามแผนการหรือ โครงการต่าง ๆ ด้วยความเต็มใจ
การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การที่กลุ่มประชาชน หรือขบวนการที่สมาชิกของชุมชน
ที่กระทำการออกมาในลักษณะของการทำงานร่วมกัน ที่จะแสดงให้เห็นถึงความต้องการร่วม ความสนใจร่วม มีความต้องการที่จะบรรลุถึงเป้าหมายร่วมทางเศรษฐกิจและสังคมหรือการเมือง หรือการดำเนินการร่วมกันเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจ มติชน ไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม หรือการดำเนินการเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจ การปรับปรุงสถานภาพทางสังคมในกลุ่มชุมชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนที่แท้จริง จึงหมายถึง การที่ประชาชนหรือชุมชนพัฒนาขีดความสามารถของตนเองในการจัดการและควบคุมการใช้ทรัพยากร และปัจจัยการผลิตที่มีอยู่ในสังคม เพื่อประโยชน์ต่อการดำรงชีพทางเศรษฐกิจและสังคม และการตัดสินใจต่างๆเกี่ยวกับโครงการที่เหมาะสมและเป็นที่ยอมรับร่วมกัน
ปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน มีดังนี้
- ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนชั้นกลางขึ้นไป มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเมืองดีแต่ก็ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมทางการเมืองในรูปแบบที่เป็นทางการหรือการใช้สิทธิ์เลือกตั้งเพราะขาดความเชื่อมั่นต่อพรรคการเมือง
- ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนระดับล่าง ขาดการศึกษา ขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ ทำให้ไม่เข้าใจว่า การมีส่วนร่วมทางการเมืองจะมีความสำคัญการหาเลี้ยงชีพตนเองอย่างไร จึงปฏิเสธการมีส่วนร่วมทางการเมือง เมื่อขาดปัจจัยจูงใจ
- การมีส่วนร่วมทางการเมืองในเชิงสัญลักษณ์โดยปราศจากความตระหนักและความเข้าใจในคุณค่าของการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแท้จริง
- การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่มีระบบและมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่เป็นทางการ
มากเกินไป
- ปัญหาจากบทบาทของพรรคการเมือง
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การมีส่วนร่วม (Participation) หมายถึง การเปิดโอกาสให้ทุกคนเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินงานพัฒนาไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม โดยการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจเพื่อกำหนดเป้าหมายของสังคมและการจัดสรรทรัพยากรเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย และปฏิบัติตามแผนการหรือ โครงการต่าง ๆ ด้วยความเต็มใจ
การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การที่กลุ่มประชาชน หรือขบวนการที่สมาชิกของชุมชน
ที่กระทำการออกมาในลักษณะของการทำงานร่วมกัน ที่จะแสดงให้เห็นถึงความต้องการร่วม ความสนใจร่วม มีความต้องการที่จะบรรลุถึงเป้าหมายร่วมทางเศรษฐกิจและสังคมหรือการเมือง หรือการดำเนินการร่วมกันเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจ มติชน ไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม หรือการดำเนินการเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจ การปรับปรุงสถานภาพทางสังคมในกลุ่มชุมชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนที่แท้จริง จึงหมายถึง การที่ประชาชนหรือชุมชนพัฒนาขีดความสามารถของตนเองในการจัดการและควบคุมการใช้ทรัพยากร และปัจจัยการผลิตที่มีอยู่ในสังคม เพื่อประโยชน์ต่อการดำรงชีพทางเศรษฐกิจและสังคม และการตัดสินใจต่างๆเกี่ยวกับโครงการที่เหมาะสมและเป็นที่ยอมรับร่วมกัน
ปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน มีดังนี้
- ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนชั้นกลางขึ้นไป มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเมืองดีแต่ก็ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมทางการเมืองในรูปแบบที่เป็นทางการหรือการใช้สิทธิ์เลือกตั้งเพราะขาดความเชื่อมั่นต่อพรรคการเมือง
- ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนระดับล่าง ขาดการศึกษา ขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ ทำให้ไม่เข้าใจว่า การมีส่วนร่วมทางการเมืองจะมีความสำคัญการหาเลี้ยงชีพตนเองอย่างไร จึงปฏิเสธการมีส่วนร่วมทางการเมือง เมื่อขาดปัจจัยจูงใจ
- การมีส่วนร่วมทางการเมืองในเชิงสัญลักษณ์โดยปราศจากความตระหนักและความเข้าใจในคุณค่าของการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแท้จริง
- การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่มีระบบและมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่เป็นทางการ
มากเกินไป
- ปัญหาจากบทบาทของพรรคการเมือง
สิบตรี ศาสตราวุฑ หร่ายพิมาย ระหัสนักศึกษา 64423471295 Module 3
1.จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ กระบวนการมีส่วนร่วมของสาธารณชน ( Public Participation) เป็นกลไก กระบวนการที่ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการ ตัดสินใจอย่างเท่าเทียมกัน (Equity) - การเข้าร่วมโดยตรง - เข้าร่วมโดยผ่านกลุ่มผู้แทนที่ได้รับเลือกตั ้งจากประชาชนโดยชอบธรรม มีรูปแบบการปกครอง และการบริหารงานที่กระจายอ านาจเปิ ดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างเสรี รวมถึงการให้ เสรีภาพแก่ สื่อมวลชน และสาธารณชน ในการแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์
2.ลักษณะของระบบข้าราชการยุค4.0 กับลักษณะส าคัญในยุค 5.0 มีอะไรบ้าง
ตอบ ระบบข้าราชการประเทศไทย 4.0 มีการก าหนดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ภาครัฐต้องปรับตัวให้เข้า กับการด าเนินกิจกรรม ทาง เศรษฐกิจและสังคม ในยุคดิจิทัล โดยต้องเป็น ที่พึ่งของประชาชนและ เป็นที่เชื่อถือไว้วางใจได้ โดยแนวโน้มการท างาน ภาครัฐมุ่งสู่ - Citizen -Centric Government -Open and Connected Government -Smart and High Performance Government
ระบบข้าราชการ 5.0 ผู้คนจะต้องมีชีวิตที ่มั ่นคงปลอดภัย สะดวกสบาย มีสุขภาพดี และมีวิถีการด าเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสมตาม ความต้องการ ของตน ซึ่งประกอบด้วย การท างาน การพักผ่อน การบริโภค การศึกษา การเดินทาง และการดูแลสุขภาพ ทั้งนี้ รัฐ และเอกชนต้องร ่วมมือกัน ในการพัฒนาประเทศ โดยภาคเอกชนจะปรับเพิ่มผลิตภาพด้วยการใช้ ดิจิทัลและต้องปฏิรูปรูปแบบใน การท าธุรกิจ ระบบเศรษฐกิจและ สังคมใหม่จะอยู่บนพื้นฐานของการสร้างนวัตกรรม ญี่ปุ่นจะขยายธุรกิจใหม่ ๆ ออกไปยัง ต่างประเทศ และจะมีบทบาทในการแก้ปัญหาในระดับโลก ญี ่ปุ ่นต้องใช้ความได้เป รียบของโลกก ายภาพที ่มีอยู ่ในก ารส ร้าง ความสามารถในการแข่งขันภายใต้ ระบบที่ประกอบด้วยโลกทั้งสองมิติ เพื่อผลิตทั้ง Hardware และ Software สร้างนวัตกรรมแบบ ค่อยเป็นค่อยไป และนวัตกรรมแบบพลิกโฉม รวมถึงสร้างนวัตกรรมบนฐานเทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ตอบสนองประเด็นทางสังคม
นางสาวภาณิชา เทียมทัด รหัสนักศึกษา 64423471300
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การมีส่วนร่วม (Participation) หมายถึง การเปิดโอกาสให้ทุกคนเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินงานพัฒนาไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม โดยการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจเพื่อกำหนดเป้าหมายของสังคมและการจัดสรรทรัพยากรเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย และปฏิบัติตามแผนการหรือ โครงการต่าง ๆ ด้วยความเต็มใจ
การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การที่กลุ่มประชาชน หรือขบวนการที่สมาชิกของชุมชน
ที่กระทำการออกมาในลักษณะของการทำงานร่วมกัน ที่จะแสดงให้เห็นถึงความต้องการร่วม ความสนใจร่วม มีความต้องการที่จะบรรลุถึงเป้าหมายร่วมทางเศรษฐกิจและสังคมหรือการเมือง หรือการดำเนินการร่วมกันเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจ มติชน ไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม หรือการดำเนินการเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจ การปรับปรุงสถานภาพทางสังคมในกลุ่มชุมชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนที่แท้จริง จึงหมายถึง การที่ประชาชนหรือชุมชนพัฒนาขีดความสามารถของตนเองในการจัดการและควบคุมการใช้ทรัพยากร และปัจจัยการผลิตที่มีอยู่ในสังคม เพื่อประโยชน์ต่อการดำรงชีพทางเศรษฐกิจและสังคม และการตัดสินใจต่างๆเกี่ยวกับโครงการที่เหมาะสมและเป็นที่ยอมรับร่วมกัน
ปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน มีดังนี้
- ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนชั้นกลางขึ้นไป มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเมืองดีแต่ก็ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมทางการเมืองในรูปแบบที่เป็นทางการหรือการใช้สิทธิ์เลือกตั้งเพราะขาดความเชื่อมั่นต่อพรรคการเมือง
- ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนระดับล่าง ขาดการศึกษา ขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ ทำให้ไม่เข้าใจว่า การมีส่วนร่วมทางการเมืองจะมีความสำคัญการหาเลี้ยงชีพตนเองอย่างไร จึงปฏิเสธการมีส่วนร่วมทางการเมือง เมื่อขาดปัจจัยจูงใจ
- การมีส่วนร่วมทางการเมืองในเชิงสัญลักษณ์โดยปราศจากความตระหนักและความเข้าใจในคุณค่าของการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแท้จริง
- การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่มีระบบและมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่เป็นทางการ
มากเกินไป
- ปัญหาจากบทบาทของพรรคการเมือง
ส.ต. พัชร หวังสิทธิโชค
รหัส 64423471303
Module 3
ข้อ 2. ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5G มีอะไรบ้าง?
ตอบ
ระบบราชการยุค 4.0 ภาครัฐต้องปรับตัวให้สามารถอํานวยความสะดวกในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัลท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและไม่สามารถคาดเดาได้ จึงต้องมุ่งเน้นความคล้องตัว เพื่อขับเคลื่อนภารกิจพิเศษ (Agenda – Based) และนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาสู่ระบบราชการ 4.0
ระบบราชการและการบริหารจัดการภาครัฐในยุคปัจจุบัน ต้องมีการปรับเปลี่ยนไปตามเทคโนโลยีดิจิทัลที่กำลังเปลี่ยนโลกในเวลานี้ โดยนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับระบบราชการไทย จึงจำเป็นต้องพัฒนาเพื่อยกระดับวิธีคิดการทำงาน เพื่อก้าวสู่การเป็นระบบราชการในยุค 5G ด้วยการจัดระบบระเบียบการให้บริการประชาชนให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยปรับเปลี่ยนและปฏิรูปการทำงานให้สอดรับกับนโยบาย และวิสัยทัศน์ดังกล่าว เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐมีการพัฒนาองค์ ตามนโยบายของรัฐบาล โดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ ดังนี้.-
1. ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2. ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3. แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4. ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และการตัดสินใจในการทำงาน
5. ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6. ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งในระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7. เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8. ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการทำงานที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
9. บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์กรที่มีความทันสมัยและมุ่งเน้นผลงานที่ดี
10. ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาทหน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
ส.ต. พัชร หวังสิทธิโชค
รหัส 64423471303
Module 3
ข้อ 2. ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5G มีอะไรบ้าง?
ตอบ ระบบราชการยุค 4.0 ประเทศไทยมุ่งสูไทยแลนด์ 4.0 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ภาครัฐต้องปรับตัวให้สามารถอํานวยความสะดวกในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัลท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและไม่สามารถคาดเดาได้ จึงต้องมุ่งเน้นความคล้องตัว เพื่อขับเคลื่อนภารกิจพิเศษ (Agenda – Based) และนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาสู่ระบบราชการ 4.0
ระบบราชการและการบริหารจัดการภาครัฐในยุคปัจจุบัน ต้องมีการปรับเปลี่ยนไปตามเทคโนโลยีดิจิทัลที่กำลังเปลี่ยนโลกในเวลานี้ โดยนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับระบบราชการไทย จึงจำเป็นต้องพัฒนาเพื่อยกระดับวิธีคิด การทำงาน เพื่อก้าวสู่การเป็นระบบราชการในยุค 5G ด้วยการจัดระบบระเบียบการให้บริการประชาชนให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยปรับเปลี่ยนและปฏิรูป การทำงานให้สอดรับกับนโยบาย และวิสัยทัศน์ดังกล่าว เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐมีการพัฒนาองค์ ตามนโยบายของรัฐบาล โดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ ดังนี้.-
1. ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2. ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3. แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4. ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และการตัดสินใจในการทำงาน
5. ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6. ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง ทั้งในระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7. เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8. ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการทำงานที่ทันต่อ การเปลี่ยนแปลง
9. บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์กรที่มีความทันสมัยและมุ่งเน้นผลงานที่ดี
10. ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
Unknown said…
ส.อ.อวิรุทธิ์ แว่นแก้ว
รหัสนักศึกษา 64423471348
ทบ.รุ่น 50

5.1ความหมายของการมีส่วนร่วมของประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน (Citizen Participation) มีความหมายหลากหลาย และ ใช้คาภาษาอังกฤษแตกต่างกัน เช่น Popular Participation, People Participation และ Public Participation ซึ่งต่างก็มีเป้าประสงค์และเนื้อหาสาระไปในทางเดียวกันในเอกสารฉบับนี้ใช้คาว่า Citizen Participation เป็นหลัก การมีส่วนร่วม (Participation) เป็นคาที่เกิดและอยู่เคียงคู่กับการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย เนื่องจากระบบการปกครองนี้ถือว่าอานาจอธิปไตยซึ่งเป็นอานาจสูงสุด ในการปกครองประเทศนั้นมาจากประชาชน ดังนั้นการมีส่วนร่วมจึงนามาใช้ในการบริหารงานแบบ ประชาธิปไตยและเป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่งของหลักธรรมภิบาล
การบริหารงานแบบมีส่วนร่วมหรือการมีส่วนร่วมในการบริหารงาน (Participate Management) จะเป็นการที่บุคคลได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานทั้งในด้านการแสดงความ คิดเห็นและการปฏิบัติการมีส่วนร่วมและช่วยสร้างพลังจิตให้ร่วมกันปฏิบัติงานอย่างเต็มที่มี ประสิทธิภาพมากกว่าการยินยอมปฏิบัติตามคาสั่งการมีส่วนร่วมจะช่วยกระตุ้นให้บุคคลนั้นสนับสนุน เป้าหมายของกลุ่มตลอดจนวัตถุประสงค์รวมขององค์กร

ปัญหาของการ มีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนเกิดขึ้นในหลายส่วนสรุปได้ดังนี้
1. ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนชั้นกลางขึ้นไปมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การเมืองดีแต่ก็ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมทางการเมืองในรูปแบบที่เป็นทางการหรือการใช้ สิทธิ์เลือกตั้งเพราะขาดความเชื่อมั่นและศรัทธาต่อพฤติกรรมของนักการเมือง
2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนระดับล่างในสังคมที่มีฐานะยากจนขาดการศึกษา ขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ
2. ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
1 การสื่อสารของผู้นำยุคดิจิทัล
2 การติดตามผลการดำเนินงานโดยใช้ดิจิทัล
3 การชี้นำและขับเครื่ององค์กรด้วยนวัตกรรม

5.2 ระบบราชการไทย ยุค 4.0
ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 คือ การทำงานเพื่อก้าวสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 ด้วยการจัดระบบระเบียบการให้บริการ ประชาชนให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยปรับเปลี่ยนและปฏิรูปการทำงานให้สอดรับกับนโยบาย และ วิสัยทัศน์ดังกล่าว เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐมีการพัฒนาองค์การไปสู่ “ระบบราชการ 4.0” ตามนโยบายของ รัฐบาลโดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ คือ
1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และการตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
จ.ท.เสรีภาพ รักษ์เสรี รหัสนักศึกษา 64423471355 said…
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน มีนักวิชาการได้ให้ความหมายการมีส่วนร่วมไว้ ดังนี% นรินทร์ พัฒนพงศา (2546 : 4) ได้สรุปความหมายของการมีส่วนร่วมวาการมีส่วนร่วมคือ การที่ฝ่ายหนึ่งฝ่ ายใดที่ไม่เคยได้เข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ หรือเข้าร่วมการตัดสินใจหรือเคยเข้าร่วมด้วย เล็กน้อยได้เข้าร่วมมากขึ%นเป็ นไปอย่างมีอิสรภาพเสมอภาค มิใช่มีส่วนร่วมอย่างผิวเผิน แต่เข้าร่วม อยางแท้จริงยิ่งขึ้ และการเข้าร่วมนั้นต้องเริ่มตั้งแต่ขั้นแรกจนถึงขั้นสุดท้ายของโครงการ ยุพา รูปงาม (2545 : 5) การมีส่วนร่วม (Participation) คือ เป็นผลมาจากการเห็นพ้องกนในเรื่องของความต้องการ และทิศทางการเปลี่ยนแปลงและความเห็นพร้องกนจะต้องมีมากจนเกิดความริเริ่ม โครงการเพื่อ การปฏิบัติ เหตุผลแรกของการที่มีคนมารวมกันได้ควรจะต้องมีการตระหนักว่า ปฏิบัติการทั้งหมดหรือการกระทําทั้งหมด ที่ทําโดยกลุ่มหรือในนามกลุ่มนั%น กระทําผ่านองค์การ (Organization) ดังนั้น องค์การเป็นเสมือนตัวนําให้บรรลุถึงความเปลี่ยนแปลงได้ ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ (2543 : 8-10) ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมใน 2 ลักษณะ กล่าวคือ การมีส่วนร่วมในลักษณะที่เป็นกระบวนการของการพัฒนาโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในกระบวนการพัฒนาตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ เช่น การร่วมกนค้นหาปัญหา การวางแผน

1) การมีส่วนร่วม หมายถึง การกระทาในการสนับสนุนหรือการกระทาในการ เรียกร้องกับผู้นาของรัฐบาลในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยและเผด็จการก็ได้ เช่น การ ออกเสียงประชามติ
2) การมีส่วนร่วม หมายถึง ความพยายามที่สาเร็จในการสร้างผลกระทบต่อการ ดาเนินการของรัฐบาลหรือ การเลือกผู้นารัฐบาล
3) การมีส่วนร่วม หมายถึง การกระทาหรือกิจกรรมทางการเมืองที่กาหนดไว้ในตัว บทกฎหมาย เช่น การออกเสียงเลือกตั้ง การยื่นข้อเรียกร้อง การวิ่งเต้นในเรื่องต่าง ๆ ที่เป็นไปตาม กฎหมาย ซึ่งการกระทาเหล่านี้จะต้องไม่ขัดกฎหมาย
4) การมีส่วนร่วมหมายถึงการใช้สิทธิเลือกตัวแทนเข้าไปใช้อานาจแทนตัวเองใน ระบอบ ประชาธิปไตยแบบมีตัวแทน
5) การมีส่วนร่วม หมายถึง ความรู้สึกแปลกแยกหรือแปลกปลอม หรือตีตนออก จากระบบการเมืองเนื่องจากการถูกกีดกันไม่ให้เขาได้มีโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วม
6) การมีส่วนร่วม หมายถึงการกระทาที่ตื่นตัวทางการเมือง ซึ่งการกระทายัง หมายรวมไปถึงการพูดคุยถกเถียงปัญหาทางการเมืองหรือพวกที่สนใจข่าวสารทางการเมืองใน สื่อสารมวลชน ไม่จาเป็นจะต้องอยู่ในรูปของการใช้สิทธิเลือกตั้งเสมอไป
7) การมีส่วนร่วมทางการเมืองนั้นเป็นกิจกรรมทางการเมืองทุกชนิดทั้งแบบที่ใช้ ความรุนแรงและไม่ใช้ความรุนแรง
8) การมีส่วนร่วมทางการเมืองเป็นกิจกรรมทางการเมืองและกิจกรรมที่มองว่าต้อง มีจุดมุ่งหมายที่จะมีอิทธิพลต่อผู้นาทางการเมือง มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติการและดาเนินการของ ข้าราชการด้วย
9) การมีส่วนร่วมบางคนก็มองเพียงการกระทาที่จะมีผลต่อการดาเนินการทาง การเมืองระดับชาติเท่านั้น แต่ที่จริงก็รวมถึงการดาเนินการที่มีผลต่อการเมืองท้องถิ่นและระดับชาติ
10) การมีส่วนร่วมทางการเมืองดูที่การปฏิบัติทางการเมืองและเป็นกิจกรรมทุก
ชนิดที่เป็นการเมือง

5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
1 การสื่อสารของผู้นำยุคดิจิทัล ผู้นพในยุคดิจิตอลมีโอกําสชี้แจงวิสัยทัศน์และเป้าหมายของตนและทำให้ผู้อื่นเห็นภาพเดียวกันด้วยการใช้สื่อโซเชียลมีเดียโดยต้องอธิบํายวิสัยทัศน์ให้ชัดเจนเข้าใจง่ายไม่ต้องรอชี้แจงข้อมูลในการรายงานประจพปีอีกต่อไปเพราะสามารถสร้างแรงจูงใจให้ทุกคนเห็นภาพเป้าหมายในอนาคตและเข้าถึงบุคลากรได้ตลอดเวลาไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนในโลกใบนี้การสื่อสารของผู้นำในยุคดิจิตอลตั้งอยู่บนหลักกสรของการสื่อสารสพหรับผู้นำการใช้เทคโนโลยีเพื่อประโยชน์สูงสุดของโลกดิจิตอลขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้นำการสื่อสารจะยิ่งทวีความสำคัญเพราะเป็นหัวใจของการเป็นผู้นำและจะยังมีความสพคัญต่อไปในโลกของการสื่อสารแบบออนไลน์ การที่จะเปลี่ยนแปลงจากการบริหารจัดการแบบที่เคยทพมาสู่ระบบดิจิตอลนั้น ผู้นำทางการศึกษาโดยเฉพาะผู้บริหารสถานศึกษาต้องเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงอย่างแท้จริง
2 การติดตามผลการดำเนินงานโดยใช้ดิจิทัล
3 การชี้นำและขับเครื่ององค์กรด้วยนวัตกรรม
Anonymous said…
ส.ท.ณพล ศรีโสภา รหัสนักศึกษา 64423471298

Module 3

1. จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน

การมีส่วนร่วมของประชาชน (People Participation) เป็นหัวใจของการพัฒนาชุมชนโดยเป็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ในเรื่องของการปกครองตนเอง (Self-government) คือ ต้องการให้ประชาชนได้เข้าไปตัดสินใจในเรื่องต่าง ( ของชุมชนด้วยตนเอง ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาทุก ๆ แขนง โดย โคเฮนและอัฟฮอฟฟ์ได้กล่าวถึงการมีส่วนร่วมไว้กล่าวคือ การมีส่วนร่วมโดยทั่วไป หมายถึง การมีส่วนร่วมในขั้นตอนการตัดสินใจ (Decision Making) แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะเป็นการตัดสินใจเพียงอย่างเดียว ยังใช้การตัดสินใจควบคู่ไปกับขั้นตอนการ
ปฏิบัติการ (Implementation) ด้วย เช่น ในการจัดองค์กร การกำหนดกิจกรรมพัฒนา เป็นต้น การตัดสินใจยังมีความเกี่ยวข้องกับประชาชนในเรื่องของผลประโยชน์ (Benefit) และการประเมินผล(Evaluation) ในกิจกรรมการพัฒนาด้วย ซึ่งจะเห็นได้ว่าการตัดสินใจนั้นเกี่ยวข้องเกือบโดยตรงกับการปฏิบัติการ แต่ก็เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์และการประเมินผลด้วยเหมือนกัน โดยที่ผลประโยชน์นั้นเป็นผลมาจากการปฏิบัติการ และผลประโยชน์ก็จะมาเป็นตัวกำหนดให้มีการประเมินผล ซึ่งต่างก็ได้รับผลมาจากขั้นตอนการตัดสินใจแล้วทั้งสิ้นนั่นเอง นอกจากนี้ก็จะมีผลสะท้อนกลับ (Feed -
back) จากการประเมินผลและการปฏิบัติการกลับไปสู่การตัดสินใจอีกด้วย

ปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชน ประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียไม่ค่อยได้มีโอกาสในการแสดงทัศนะ ความคิดเห็น และการเข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่มีผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน จากการที่ประชาชนไม่ค่อยได้มีโอกาสในมีส่วนร่วม จึงเป็นการลดคุณภาพในการตัดสินใจการลดค่าใช้จ่ายและการสูญเสียเวลา เป็นปัญหาในการสร้างฉันทามติและทำให้เป็นเรื่องต่อการนำไปปฏิบัติ ทำให้แนวคิดของของประชาชนมีโอกาสน้อยมากในการนำมาใช้ในการบริหารราชการ จึงไม่เป็นการบริการหรือเข้าถึงประชาชนอย่างแท้จริง ทำให้ประชาชนไม่ใช่ศูนย์กลาง รวมถึงในเรื่องของการกระจายโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามาร่วมรับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ เป็นไปได้ยากเพราะขาดการให้ความรู้ในแนวคิดของการบริหารราชการแบบนี้
Anonymous said…
ส.ท.ณพล ศรีโสภา รหัสนักศึกษา 64423471298

Module 3

2.ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5G
ลักษณะของระบบราชการ 4.0 เพื่อรองรับต่อยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 ภาครัฐหรือระบบราชการจะต้องทำงานโดย
1.ยึดหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน(Better Governance, Happier Citizens) หมายความว่า ระบบราชการต้องปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการทำงานใหม่เพื่อพลิกโฉม (transform) ให้สามารถเป็นที่เชื่อถือไว้วางใจ และเป็นพึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริง (Credible and Trusted Government) ดังนี้ เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน (Open & Connected Government)ต้องมีความเปิดเผยโปร่งใสในการทำงาน โดยบุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการ หรือมีการแบ่งปันข้อมูลซึ่งกันและกัน และสามารถเข้ามาตรวจสอบการทำงานได้ ตลอดจนเปิดกว้างให้กลไกหรือภาคส่วนอื่น ๆ เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วม และโอนถ่ายภารกิจที่ภาครัฐไม่ควรดำเนินการเองออกไปให้แก่ภาคส่วนอื่น ๆ เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการแทน โดยการจัดระเบียบความสัมพันธ์ในเชิงโครงสร้างให้สอดรับกับการทำงานแนวระนาบ ในลักษณะของเครือข่าย มากกว่าตามสายการบังคับบัญชาในแนวดิ่ง ขณะเดียวกันก็ยังต้องเชื่อมโยงการทำงานในภาครัฐด้วยกันเองให้มีเอกภาพและสอดรับประสานกัน ไม่ว่าจะเป็นราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น
2.ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Citizen-Centric Government) ต้องทำงานในเชิงรุกและมองไปข้างหน้า โดยตั้งคำถามกับตนเองเสมอว่า ประชาชนจะได้อะไร มุ่งเน้นแก้ไขปัญหาและตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยไม่ต้องรอให้เข้ามาติดต่อขอรับบริการหรือร้องขอความช่วยเหลือจากทางราชการ (Proactive Public Services) รวมทั้งใช้ประโยชน์จากข้อมูลภาครัฐ (Big Government Data) และระบบดิจิทัลสมัยใหม่ในการจัดบริการสาธารณะที่ตรงกับความต้องการของประชาชน (Personalized หรือ Tailored Services) พร้อมทั้งอำนวยความสะดวก โดยมีการเชื่อมโยงกันเองของทางราชการเพื่อให้บริการได้เสร็จสิ้นในจุดเดียว ประชาชนสามารถเรียกใช้บริการของทางราชการได้ตลอดเวลาตามความต้องการของตนและผ่านการติดต่อได้หลายช่องทางผสมผสานกันทั้งการติดต่อมาด้วยตนเอง เว็บไซต์ โซเชียลมีเดีย หรือแอปพลิเคชั่นทางโทรศัพท์มือถือ
3.มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย (Smart & High Performance Government) ต้องทำงานอย่างเตรียมการณ์ไว้ล่วงหน้า มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง สร้างนวัตกรรมหรือความคิดริริ่มและประยุกต์องค์ความรู้ในแบบสหสาขาวิชาเข้ามาใช้ในการตอบโต้กับโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน เพื่อสร้างคุณค่า มีความยืดหยุ่น และความสามารถในการตอบสนองกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างทันเวลา ตลอดจนเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง และปรับตัวเข้าสู่สภาพความเป็นสำนักงานสมัยใหม่ รวมทั้งทำให้ข้าราชการมีความผูกพันต่อการปฏิบัติราชการและปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเหมาะสมกับบทบาทของตน

ลักษณะสำคัญในยุค 5G
5G คือ Generation 5 หรือรุ่นที่ 5 ของการสื่อสารที่อนาคตมันจะไม่ใช่แค่มือถือแล้วแต่เป็นอุปกรณ์ทุกชนิดที่เชื่อมอินเตอร์เน็ตได้ (Internet of Things หรือ IoT) ว่ากันว่าถ้าเรามี 5G เราจะดาวน์โหลดวีดีโอ หนังหรือแอปฯได้เร็วถึง 10,000 Mbps! ถ้าใช้ 4G ดูวิดีโอออนไลน์ (ขนาด 8K) หรือดาวน์โหลดหนังต้องรอ 6 นาที แต่ถ้ามี 5G ใช้เวลาแค่ 6 วินาที!ถ้ามี 5G เราจะเชื่อมต่อไปปลายทางได้เร็วกว่า 0.001 วินาที (คือเร็วมาก) รับส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ตเพิ่มเป็น 1,000 เท่า ใช้พลังงานในการเชื่อมต่อน้อยลง 90% ทำให้แบตจะยืดอายุการใช้งานได้ถึง 10 ปี
ลักษณะสำคัญของยุค 5G
1. ตอบสนองไวกว่า
ถ้าเราใช้ 4G สั่งงานควบคุมสิ่งต่างๆได้เร็วที่ 20 – 30 ms (Milli-second คือ 1:1,000 วินาที) แต่ถ้าใช้ 5G จะเร็วขึ้น 10 เท่า จะสั่งงาน IoT หรือสมาร์ทดีไวซ์ได้เร็วจริงถึง 3-4ms
2. รับส่งข้อมูลได้มากกว่า 4G
ถ้า 4G รับส่งข้อมูลต่อเดือนได้แค่ 7.2 Exabytes 5G จะทำให้เรารับส่งข้อมูลได้เพิ่มขึ้น 7 เท่า คือ 50 Exabytes ต่อเดือน
3. มีความถี่สำหรับใช้งานมากกว่า
ตอนใช้ 4G มีให้ใช้ถึงแค่ 3GHz แต่ถ้าเป็น 5G เราใช้งานคลื่นความถี่ได้ถึง 30GHz
4. รับรองการใช้งานในแต่ละพื้นที่ได้มากกว่า
ถ้า 4G รับคนได้ราว 1 แสนคนต่อพื้นที่ 1 ตร.กม. 5G จะรับได้ 10 เท่าคือรับได้ 1 ล้านคนต่อพื้นที่ 1 ตร.กม.
5. ถ่ายโอนข้อมูลต่อวินาทีได้เยอะกว่า
ถ้า 4G โอนข้อมูลเข้าเครื่องได้แค่ 1 GB ต่อวินาที 5G จะทำได้ถึง 20 GB ต่อวินาทีหรือ 20 เท่าของ 4G
Anonymous said…
น.ส.อาทิยาภัทร เพ่งผล รหัสนักศึกษา 64423471349

Module 3

2.ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5G
ลักษณะของระบบราชการ 4.0 เพื่อรองรับต่อยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 ภาครัฐหรือระบบราชการจะต้องทำงานโดย
1.ยึดหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน(Better Governance, Happier Citizens) หมายความว่า ระบบราชการต้องปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการทำงานใหม่เพื่อพลิกโฉม (transform) ให้สามารถเป็นที่เชื่อถือไว้วางใจ และเป็นพึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริง (Credible and Trusted Government) ดังนี้ เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน (Open & Connected Government)ต้องมีความเปิดเผยโปร่งใสในการทำงาน โดยบุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการ หรือมีการแบ่งปันข้อมูลซึ่งกันและกัน และสามารถเข้ามาตรวจสอบการทำงานได้ ตลอดจนเปิดกว้างให้กลไกหรือภาคส่วนอื่น ๆ เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วม และโอนถ่ายภารกิจที่ภาครัฐไม่ควรดำเนินการเองออกไปให้แก่ภาคส่วนอื่น ๆ เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการแทน โดยการจัดระเบียบความสัมพันธ์ในเชิงโครงสร้างให้สอดรับกับการทำงานแนวระนาบ ในลักษณะของเครือข่าย มากกว่าตามสายการบังคับบัญชาในแนวดิ่ง ขณะเดียวกันก็ยังต้องเชื่อมโยงการทำงานในภาครัฐด้วยกันเองให้มีเอกภาพและสอดรับประสานกัน ไม่ว่าจะเป็นราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น
2.ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Citizen-Centric Government) ต้องทำงานในเชิงรุกและมองไปข้างหน้า โดยตั้งคำถามกับตนเองเสมอว่า ประชาชนจะได้อะไร มุ่งเน้นแก้ไขปัญหาและตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยไม่ต้องรอให้เข้ามาติดต่อขอรับบริการหรือร้องขอความช่วยเหลือจากทางราชการ (Proactive Public Services) รวมทั้งใช้ประโยชน์จากข้อมูลภาครัฐ (Big Government Data) และระบบดิจิทัลสมัยใหม่ในการจัดบริการสาธารณะที่ตรงกับความต้องการของประชาชน (Personalized หรือ Tailored Services) พร้อมทั้งอำนวยความสะดวก โดยมีการเชื่อมโยงกันเองของทางราชการเพื่อให้บริการได้เสร็จสิ้นในจุดเดียว ประชาชนสามารถเรียกใช้บริการของทางราชการได้ตลอดเวลาตามความต้องการของตนและผ่านการติดต่อได้หลายช่องทางผสมผสานกันทั้งการติดต่อมาด้วยตนเอง เว็บไซต์ โซเชียลมีเดีย หรือแอปพลิเคชั่นทางโทรศัพท์มือถือ
3.มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย (Smart & High Performance Government) ต้องทำงานอย่างเตรียมการณ์ไว้ล่วงหน้า มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง สร้างนวัตกรรมหรือความคิดริริ่มและประยุกต์องค์ความรู้ในแบบสหสาขาวิชาเข้ามาใช้ในการตอบโต้กับโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน เพื่อสร้างคุณค่า มีความยืดหยุ่น และความสามารถในการตอบสนองกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างทันเวลา ตลอดจนเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง และปรับตัวเข้าสู่สภาพความเป็นสำนักงานสมัยใหม่ รวมทั้งทำให้ข้าราชการมีความผูกพันต่อการปฏิบัติราชการและปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเหมาะสมกับบทบาทของตน

ลักษณะสำคัญในยุค 5G
5G คือ Generation 5 หรือรุ่นที่ 5 ของการสื่อสารที่อนาคตมันจะไม่ใช่แค่มือถือแล้วแต่เป็นอุปกรณ์ทุกชนิดที่เชื่อมอินเตอร์เน็ตได้ (Internet of Things หรือ IoT) ว่ากันว่าถ้าเรามี 5G เราจะดาวน์โหลดวีดีโอ หนังหรือแอปฯได้เร็วถึง 10,000 Mbps! ถ้าใช้ 4G ดูวิดีโอออนไลน์ (ขนาด 8K) หรือดาวน์โหลดหนังต้องรอ 6 นาที แต่ถ้ามี 5G ใช้เวลาแค่ 6 วินาที!ถ้ามี 5G เราจะเชื่อมต่อไปปลายทางได้เร็วกว่า 0.001 วินาที (คือเร็วมาก) รับส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ตเพิ่มเป็น 1,000 เท่า ใช้พลังงานในการเชื่อมต่อน้อยลง 90% ทำให้แบตจะยืดอายุการใช้งานได้ถึง 10 ปี
ลักษณะสำคัญของยุค 5G
1. ตอบสนองไวกว่า
ถ้าเราใช้ 4G สั่งงานควบคุมสิ่งต่างๆได้เร็วที่ 20 – 30 ms (Milli-second คือ 1:1,000 วินาที) แต่ถ้าใช้ 5G จะเร็วขึ้น 10 เท่า จะสั่งงาน IoT หรือสมาร์ทดีไวซ์ได้เร็วจริงถึง 3-4ms
2. รับส่งข้อมูลได้มากกว่า 4G
ถ้า 4G รับส่งข้อมูลต่อเดือนได้แค่ 7.2 Exabytes 5G จะทำให้เรารับส่งข้อมูลได้เพิ่มขึ้น 7 เท่า คือ 50 Exabytes ต่อเดือน
3. มีความถี่สำหรับใช้งานมากกว่า
ตอนใช้ 4G มีให้ใช้ถึงแค่ 3GHz แต่ถ้าเป็น 5G เราใช้งานคลื่นความถี่ได้ถึง 30GHz
4. รับรองการใช้งานในแต่ละพื้นที่ได้มากกว่า
ถ้า 4G รับคนได้ราว 1 แสนคนต่อพื้นที่ 1 ตร.กม. 5G จะรับได้ 10 เท่าคือรับได้ 1 ล้านคนต่อพื้นที่ 1 ตร.กม.
5. ถ่ายโอนข้อมูลต่อวินาทีได้เยอะกว่า
ถ้า 4G โอนข้อมูลเข้าเครื่องได้แค่ 1 GB ต่อวินาที 5G จะทำได้ถึง 20 GB ต่อวินาทีหรือ 20 เท่าของ 4G

Anonymous said…
น.ส.อาทิยาภัทร เพ่งผล รหัสนักศึกษา 64423471349

Module 3

1. จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน

การมีส่วนร่วมของประชาชน (People Participation) เป็นหัวใจของการพัฒนาชุมชนโดยเป็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ในเรื่องของการปกครองตนเอง (Self-government) คือ ต้องการให้ประชาชนได้เข้าไปตัดสินใจในเรื่องต่าง ( ของชุมชนด้วยตนเอง ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาทุก ๆ แขนง โดย โคเฮนและอัฟฮอฟฟ์ได้กล่าวถึงการมีส่วนร่วมไว้กล่าวคือ การมีส่วนร่วมโดยทั่วไป หมายถึง การมีส่วนร่วมในขั้นตอนการตัดสินใจ (Decision Making) แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะเป็นการตัดสินใจเพียงอย่างเดียว ยังใช้การตัดสินใจควบคู่ไปกับขั้นตอนการ
ปฏิบัติการ (Implementation) ด้วย เช่น ในการจัดองค์กร การกำหนดกิจกรรมพัฒนา เป็นต้น การตัดสินใจยังมีความเกี่ยวข้องกับประชาชนในเรื่องของผลประโยชน์ (Benefit) และการประเมินผล(Evaluation) ในกิจกรรมการพัฒนาด้วย ซึ่งจะเห็นได้ว่าการตัดสินใจนั้นเกี่ยวข้องเกือบโดยตรงกับการปฏิบัติการ แต่ก็เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์และการประเมินผลด้วยเหมือนกัน โดยที่ผลประโยชน์นั้นเป็นผลมาจากการปฏิบัติการ และผลประโยชน์ก็จะมาเป็นตัวกำหนดให้มีการประเมินผล ซึ่งต่างก็ได้รับผลมาจากขั้นตอนการตัดสินใจแล้วทั้งสิ้นนั่นเอง นอกจากนี้ก็จะมีผลสะท้อนกลับ (Feed -
back) จากการประเมินผลและการปฏิบัติการกลับไปสู่การตัดสินใจอีกด้วย

ปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชน ประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียไม่ค่อยได้มีโอกาสในการแสดงทัศนะ ความคิดเห็น และการเข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่มีผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน จากการที่ประชาชนไม่ค่อยได้มีโอกาสในมีส่วนร่วม จึงเป็นการลดคุณภาพในการตัดสินใจการลดค่าใช้จ่ายและการสูญเสียเวลา เป็นปัญหาในการสร้างฉันทามติและทำให้เป็นเรื่องต่อการนำไปปฏิบัติ ทำให้แนวคิดของของประชาชนมีโอกาสน้อยมากในการนำมาใช้ในการบริหารราชการ จึงไม่เป็นการบริการหรือเข้าถึงประชาชนอย่างแท้จริง ทำให้ประชาชนไม่ใช่ศูนย์กลาง รวมถึงในเรื่องของการกระจายโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามาร่วมรับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ เป็นไปได้ยากเพราะขาดการให้ความรู้ในแนวคิดของการบริหารราชการแบบนี้
Anonymous said…
ส.ท.ณพล ศรีโสภา รหัสนักศึกษา 64423471298

Module 3

1. จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน

การมีส่วนร่วมของประชาชน (People Participation) เป็นหัวใจของการพัฒนาชุมชนโดยเป็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ในเรื่องของการปกครองตนเอง (Self-government) คือ ต้องการให้ประชาชนได้เข้าไปตัดสินใจในเรื่องต่าง ( ของชุมชนด้วยตนเอง ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาทุก ๆ แขนง โดย โคเฮนและอัฟฮอฟฟ์ได้กล่าวถึงการมีส่วนร่วมไว้กล่าวคือ การมีส่วนร่วมโดยทั่วไป หมายถึง การมีส่วนร่วมในขั้นตอนการตัดสินใจ (Decision Making) แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะเป็นการตัดสินใจเพียงอย่างเดียว ยังใช้การตัดสินใจควบคู่ไปกับขั้นตอนการ
ปฏิบัติการ (Implementation) ด้วย เช่น ในการจัดองค์กร การกำหนดกิจกรรมพัฒนา เป็นต้น การตัดสินใจยังมีความเกี่ยวข้องกับประชาชนในเรื่องของผลประโยชน์ (Benefit) และการประเมินผล(Evaluation) ในกิจกรรมการพัฒนาด้วย ซึ่งจะเห็นได้ว่าการตัดสินใจนั้นเกี่ยวข้องเกือบโดยตรงกับการปฏิบัติการ แต่ก็เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์และการประเมินผลด้วยเหมือนกัน โดยที่ผลประโยชน์นั้นเป็นผลมาจากการปฏิบัติการ และผลประโยชน์ก็จะมาเป็นตัวกำหนดให้มีการประเมินผล ซึ่งต่างก็ได้รับผลมาจากขั้นตอนการตัดสินใจแล้วทั้งสิ้นนั่นเอง นอกจากนี้ก็จะมีผลสะท้อนกลับ (Feed -
back) จากการประเมินผลและการปฏิบัติการกลับไปสู่การตัดสินใจอีกด้วย

ปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชน ประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียไม่ค่อยได้มีโอกาสในการแสดงทัศนะ ความคิดเห็น และการเข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่มีผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน จากการที่ประชาชนไม่ค่อยได้มีโอกาสในมีส่วนร่วม จึงเป็นการลดคุณภาพในการตัดสินใจการลดค่าใช้จ่ายและการสูญเสียเวลา เป็นปัญหาในการสร้างฉันทามติและทำให้เป็นเรื่องต่อการนำไปปฏิบัติ ทำให้แนวคิดของของประชาชนมีโอกาสน้อยมากในการนำมาใช้ในการบริหารราชการ จึงไม่เป็นการบริการหรือเข้าถึงประชาชนอย่างแท้จริง ทำให้ประชาชนไม่ใช่ศูนย์กลาง รวมถึงในเรื่องของการกระจายโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามาร่วมรับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ เป็นไปได้ยากเพราะขาดการให้ความรู้ในแนวคิดของการบริหารราชการแบบนี้
นางสาวภาณิชา เทียมทัด รหัสนักศึกษา 64423471300
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การมีส่วนร่วม (Participation) หมายถึง การเปิดโอกาสให้ทุกคนเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินงานพัฒนาไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม โดยการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจเพื่อกำหนดเป้าหมายของสังคมและการจัดสรรทรัพยากรเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย และปฏิบัติตามแผนการหรือ โครงการต่าง ๆ ด้วยความเต็มใจ
การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การที่กลุ่มประชาชน หรือขบวนการที่สมาชิกของชุมชน
ที่กระทำการออกมาในลักษณะของการทำงานร่วมกัน ที่จะแสดงให้เห็นถึงความต้องการร่วม ความสนใจร่วม มีความต้องการที่จะบรรลุถึงเป้าหมายร่วมทางเศรษฐกิจและสังคมหรือการเมือง หรือการดำเนินการร่วมกันเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจ มติชน ไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม หรือการดำเนินการเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจ การปรับปรุงสถานภาพทางสังคมในกลุ่มชุมชน
ปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน มีดังนี้
- ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนชั้นกลางขึ้นไป มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเมืองดีแต่ก็ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมทางการเมืองในรูปแบบที่เป็นทางการหรือการใช้สิทธิ์เลือกตั้งเพราะขาดความเชื่อมั่นต่อพรรคการเมือง
- ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนระดับล่าง ขาดการศึกษา ขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ ทำให้ไม่เข้าใจว่า การมีส่วนร่วมทางการเมืองจะมีความสำคัญการหาเลี้ยงชีพตนเองอย่างไร จึงปฏิเสธการมีส่วนร่วมทางการเมือง เมื่อขาดปัจจัยจูงใจ
- การมีส่วนร่วมทางการเมืองในเชิงสัญลักษณ์โดยปราศจากความตระหนักและความเข้าใจในคุณค่าของการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแท้จริง
- การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่มีระบบและมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่เป็นทางการ
มากเกินไป
- ปัญหาจากบทบาทของพรรคการเมือง
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0
ตอบ ระบบราชการ 4.0 ตามนโยบายของ รัฐบาลโดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ คือ
1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และการตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
ลักษณะสำคัญในยุค 5 G
1. การส่งผ่านของข้อมูลข่าวสารไปยังประชาชนได้รวดเร็ว
2. มีการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะ
3. มีความรวดเร็วในการบริหารสาธารณะ
4. จำนวนการให้บริการมีปริมาณมากขึ้น
5. การตอบสนองต่อภาคประชาชนได้อย่างรวดเร็วขึ้น
6. มีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหาของประชานคลอบคลุมมากขึ้น
7. สามารถลดความเหลื่อมล้ำได้ในระดับหนึ่ง
8. สามารถสร้างจิตำนึกเพื่อร่วมพัฒนาสังคมระหว่างองค์กรภาครัฐกับภาคประชาชนได้มากขึ้น
เทคนิคการบริหารองค์กรภาครัฐในยุค 5G
1. การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน (Studious)
2 การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย (Underlie)
3 การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate)
4 ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง (Expeditious)
5 การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน(Responsible)
Anonymous said…
นายณัฐ​พล​ ทรัพย์​ประกอบ​ รหัส​นักศึกษา​64423471312​
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง กระบวนการประสานสัมพันธ์ระหว่าง ภาครัฐกับประชาชนเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน และพัฒนานโยบาย โครงการและการบริการ สาธารณะให้เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วน เกี่ยวข้องในกระบวนการตัดสินใจภาครัฐ ได้แก่ การวางแผน การตัดสินใจ การดำเนินการ การรับผลประโยชน์ การติดตามประเมินผล ทั้งนี้กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นวิธีการที่ภาครัฐ ภาคประชาสังคมและผู้ที่เกี่ยวข้อง มีโอกาสเรียนรู้ทาความเข้าใจประเด็นนโยบายสาธารณะร่วมกัน ปรึกษาหารือร่วมกัน เพื่อหาหนทางที่ดีที่สุด ทุกฝ่ายยอมรับมากที่สุดและมีผลกระทบเชิงลบน้อยที่สุด
International Association for Public Participation ได้แบ่งระดับของการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น 5 ระดับ ดังนี้
1. การให้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำที่สุด แต่เป็นระดับที่สำคัญที่สุด เพราะเป็นก้าวแรกของการที่ภาคราชการจะเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมในเรื่องต่าง ๆ วิธีการให้ข้อมูลสามารถใช้ช่องทางต่าง ๆ เช่น เอกสารสิ่งพิมพ์ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเสื่อต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายข่าว การจัดงานแถลงข่าว การติดประกาศ และการให้ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
2. การรับฟังความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข้อเท็จจริงและความคิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การรับฟังความคิดเห็น การสำรวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
3. การเกี่ยวข้อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอแนะทางที่นำไปสู่การตัดสินใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่าข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของประชาชนจะถูกนำไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ เช่น การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพิจารณาประเด็นนโยบายสาธารณะ ประชาพิจารณ์ การจัดตั้งคณะทำงานเพื่อเสนอแนะประเด็นนโยบาย เป็นต้น
4. ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชนผู้แทนภาคสาธารณะมีส่วนร่วม โดยเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ และมีการดำเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เช่น คณะกรรมการที่มีฝ่ายประชาชนร่วมเป็นกรรมการ เป็นต้น
5. การเสริมอำนาจแก่ประชาชน เป็นขั้นที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด โดยให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ เช่น การลงประชามติในประเด็นสาธารณะต่าง ๆ โครงการกองทุนหมู่บ้านที่มอบอำนาจให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจทั้งหมด เป็นต้น
การสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน อาจทำได้หลายระดับและหลายวิธี ซึ่งบางวิธีสามารถทำได้อย่างง่าย ๆ แต่บางวิธีก็ต้องใช้เวลา ขึ้นอยู่กับความต้องการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชน ค่าใช้จ่ายและความจำเป็นในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นเรื่องละเอียดอ่อน จึงต้องมีการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องแก่ประชาชน การรับฟังความคิดเห็น การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม รวมทั้งพัฒนาทักษะและศักยภาพของข้าราชการทุกระดับควบคู่กันไปด้วย
Anonymous said…
นายณัฐ​พล​ ทรัพย์​ประกอบ​ รหัส​นักศึกษา​64423471312​
1. (Open & Connected Government) ต้องมีความเปิดเผยโปร่งใส ในการทำงาน โดยบุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการหรือมีการแบ่งปันข้อมูลซึ่งกันและกัน และสามารถเข้ามาตรวจสอบการทำงานได้ตลอดจนเปิดกว้างให้กลไกหรือภาคส่วนอื่น ๆ เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ได้เข้ามามีส่วนร่วม และโอนถ่ายภารกิจที่ภาครัฐไม่ควรดำเนินการเองออกไปให้แก่ภาคส่วนอื่น ๆ เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการแทน โดยการจัดระเบียบความสัมพันธ์ในเชิงโครงสร้างให้สอดรับกับการทำงานในแนวระนาบ ในลักษณะของเครือข่าย มากกว่าตามสายการบังคับบัญชาในแนวดิ่ง ขณะเดียวกันก็ยังต้องเชื่อมโยงการทำงานภายในภาครัฐด้วยกันเองให้มีเอกภาพและสอดรับประสานกันไม่ว่าจะเป็นราชการบริหาร ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น
2. (Citizen-Centric Government) ต้องทำงานในเชิงรุกและมองไปข้างหน้า โดยตั้งคำถามกับตนเองเสมอว่า ประชาชนจะได้อะไร มุ่งเน้นแก้ไข ปัญหาความต้องการและตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยไม่ต้องรอให้ประชาชนเข้ามาติดต่อขอรับบริการหรือร้องขอความช่วยเหลือจากทางราชการ (Proactive Public Services) รวมทั้งใช้ประโยชน์จากข้อมูลของทางราชการ (Big Government Data) และระบบดิจิทัลสมัยใหม่ในการจัดบริการสาธารณะที่ตรงกับความต้องการของประชาชน (Personalized หรือ Tailored Services) พร้อมทั้งอำนวยความสะดวกโดยมีการเชื่อมโยงกันเองของทางราชการเพื่อให้บริการต่างๆ สามารถเสร็จสิ้นในจุดเดียวประชาชนสามารถเรียกใช้บริการของทางราชการได้ตลอดเวลาตามความต้องการของตนและผ่านการติดต่อได้หลายช่องทางผสมผสานกัน ไม่ว่าจะติดต่อมาด้วยตนเอง อินเตอร์เน็ต เว็บไซด์ โซเชียลมีเดีย หรือแอปพลิเคชั่นทางโทรศัพท์มือถือ
3. (Smart & High Performance Government) ต้องทำงานอย่างเตรียมการณ์ไว้ล่วงหน้า มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง สร้างนวัตกรรมหรือความคิดริเริ่มและประยุกต์องค์ความรู้ ในแบบสหสาขาวิชาเข้ามาใช้ในการตอบโต้กับโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน เพื่อสร้างคุณค่า มีความยืดหยุ่น และความสามารถในการตอบสนองกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างทันเวลา ตลอดจนเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง และปรับตัวเข้าสู่สภาพความเป็นสำนักงานสมัยใหม่ รวมทั้งทำให้ข้าราชการมีความผูกพันต่อการปฏิบัติราชการ และปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเหมาะสมกับบทบาทของตนฉะนั้น ความสำเร็จของการพัฒนาไปสู่ระบบราชการ 4.0 ดังกล่าวต้องอาศัยปัจจัยสำคัญ ๆ อย่างน้อย สามประการ ได้แก่
1. การสานพลังระหว่างภาครัฐและภาคส่วนอื่น ๆ ในสังคม (Collaboration) อันเป็นการยกระดับ การทำงานให้สูงขึ้นไปกว่าการประสานงานกัน (coordination) หรือทำงานด้วยกัน (cooperation) ไปสู่การร่วมมือกัน (collaboration) อย่างแท้จริง โดยจัดระบบให้มีการวางแผนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ต้องการร่วมกัน มีการระดมและนำเอาทรัพยากรทุกชนิดเข้ามาแบ่งปันและใช้ประโยชน์ร่วมกัน มีการยอมรับความเสี่ยงและรับผิดชอบต่อผลสำเร็จ ที่เกิดขึ้นร่วมกัน เพื่อพัฒนาประเทศหรือแก้ปัญหาความต้องการของประชาชนที่มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น จนไม่มีภาคส่วนใดในสังคมจะสามารถดำเนินการได้ลุล่วงด้วยตนเองโดยลำพังอีกต่อไป หรือเป็นการบริหารกิจการบ้านเมืองในรูปแบบ "ประชารัฐ"
2. การสร้างนวัตกรรม (Innovation) อันเป็นการคิดค้นและแสวงหาวิธีการหรือ solutions ใหม่ ๆ อันจะเกิด big impact เพื่อปรับปรุงและออกแบบการให้บริการสาธารณะและนโยบายสาธารณะ ให้สามารถตอบโจทย์ความท้าทายของประเทศหรือตอบสนองปัญหาความต้องการของประชาชนได้อย่างมีคุณภาพ อันแปรผันไปตามสภาพพลวัตของการเปลี่ยนแปลง โดยอาศัยรูปแบบห้องปฏิบัติการ (GovLab/ Public Sector Innovation Lab) และใช้กระบวนการความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ในลักษณะที่ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อสร้างความเข้าใจและเข้าถึงความรู้สึกนึกคิด (Empathize) ก่อนจะสร้างจินตนาการ (Ideate) พัฒนาต้นแบบ (Prototype) ทำการทดสอบปฏิบัติจริงและขยายผลต่อไป หรือเป็นการนำเอาศาสตร์พระราชาว่าด้วย "เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา" เข้ามาประยุกต์ใช้
3. การปรับเข้าสู่ความเป็นดิจิทัล (Digitization/Digitalization) อันเป็นการผสมผสานกันของการจัดเก็บและประมวลข้อมูลผ่าน cloud computing อุปกรณ์ประเภท smart phone และ collaboration tool ทำให้สามารถติดต่อกันได้อย่าง real time ไม่ว่าจะอยู่ที่ใด และสามารถวิเคราะห์ข้อมูลอันสลับซับซ้อนต่าง ๆ ได้ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของประชาชน เกิดผลกระทบอย่างสูงและมีความคาดหวังต่อการให้บริการของทางราชการที่จะต้องดำเนินการในทุกเวลา ทุกสถานที่ ทุกอุปกรณ์และช่องทางได้อย่างมั่นคงปลอดภัยและประหยัด
Anonymous said…
นายณัฐ​พล​ ทรัพย์​ประกอบ​ รหัส​นักศึกษา​64423471312​

5.2 ปัจจุบันเทคโนโลยี 5G กำลังเป็นที่กล่าวถึงอย่างแพร่หลาย โดยในหลายๆ ประเทศต่างก็ให้ความสนใจกับ การเปลี่ยนผ่านจากเทคโนโลยี 4G มาเป็นเทคโนโลยี 5G รวมถึงประเทศไทยเองก็ได้ให้ความสำคัญกับเทคโนโลยี ดังกล่าวเช่นกัน สำหรับการใช้งานเทคโนโลยี 5G นั้น สามารถนำมาประยุกต์ใช้ร่วมกับ Internet of Things และ บูรณาการได้หลากหลายด้าน เช่น Smart Home Smart Factory Smart Farm เป็นต้น นั่นหมายความว่า นอกจาก โทรศัพท์มือถือแล้ว เทคโนโลยี 5G ยังสามารถใช้งานได้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ หากอุปกรณ์เหล่านั้นสามารถ รองรับการทำงานของเทคโนโลยี 5G ได้ เทคโนโลยี 5G จะทำให้การติดต่อสื่อสารรวมถึงการส่งผ่านข้อมูลเป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมาก ขึ้น จึงช่วยลดความผิดพลาดในการทางานได้ แต่อย่างไรก็ตาม อาจต้องคำนึงถึงประเด็นการคุ้มครองความเป็นส่วนตัว ในแง่ของข้อมูลส่วนบุคคลเมื่อต้องใช้งานผ่านเครือข่ายเทคโนโลยี5G ในพื้นที่สาธารณะเช่นการทาธุรกรรมทาง การเงินผ่านFree Wifi เป็นต้นเนื่องจากอาจเกิดการรั่วไหลของข้อมูลได้ดังนั้นการพัฒนาเทคโนโลยี5G ของประเทศไทย อาจจะต้องพัฒนาควบคู่ไปกับกฎหมายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลด้วย เพื่อให้ผู้ใช้เกิดความ ปลอดภัยในการใช้งาน
ทั้งนี้ เพื่อให้สามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล รวมถึงเทคโนโลยี 5G ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงที่สุด โดยบรรลุตามมูลค่าผลกระทบเชิงเศรษฐกิจที่ได้คาดการณ์ไว้นั้น ประเทศไทยจะต้องปรับปรุงและส่งเสริมการพัฒนาในประเด็นความท้าทายทั้ง ๕ ประเด็น โดยจำเป็นต้องมี การบูรณาการร่วมกันของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการศึกษา และภาคประชาชน เพื่อร่วมกันพัฒนาระบบนิเวศให้พร้อมต่อการใช้ประโยชน์เทคโนโลยี 5G และมุ่งส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี 5G ประเทศไทย ในประเด็นดังต่อไปนี้
• การสร้างความตระหนักและความรู้ความเข้าใจให้แก่ทุกภาคส่วน (Awareness) เพื่อให้ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมตระหนักถึงความสำคัญ ของเทคโนโลยี 5G ตลอดจนมีความรู้ความเข้าใจในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 5G อย่างเป็นรูปธรรม
•  การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 5G (5G Use Cases) ในอุตสาหกรรมแนวดิ่ง เพื่อให้เกิด ตัวอย่างบริการการใช้งานต่าง ๆ บนโครงข่าย 5G ในการแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของ เทคโนโลยี 5G อย่างไรก็ตาม การลงทุนเทคโนโลยี 5G ค่อนข้างสูง ดังนั้นผลกระทบจาก การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 5G รายอุตสาหกรรมจ่าเป็นต้องชัดเจน รวมถึงมีต้นทุน ที่สมเหตุสมผล และมีการลงทุนที่มีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดผลประโยชน์ทั้งเชิงคุณภาพ และปริมาณ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและมั่นใจแก่ผู้ประกอบการในการลงทุน ส่งผลให้เกิด การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 5G อย่างแพร่หลายทั้งเชิงเศรษฐกิจและสังคม
•  การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี 5G (Research and Trials) เพื่อสนับสนุนให้เกิดบริการใหม่ ๆ บนพื้นฐานของเทคโนโลยี 5G และเหมาะสม กับบริบทประเทศไทย นอกจากนี้ส่งผลให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาต่างประเทศ ในการน่าเข้าเทคโนโลยี
•  การขยายโครงข่าย 5G (5G Network) เพื่อให้พร้อมต่อการให้บริการโครงข่าย 5G ประสิทธิภาพสูง ให้ครอบคลุมพื้นที่ต่าง ๆ ในประเทศ ทั้งพื้นที่เศรษฐกิจ และพื้นที่ชนบท
•  การปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบให้รองรับการขยายโครงข่าย 5G และการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยี 5G (Law and Regulation) เพื่อรองรับบริการใหม่ ๆ และอ่านวย ความสะดวกผู้ให้บริการโทรคมนาคมขยายโครงข่าย รวมถึงส่งเสริมให้เกิดการลงทุน ในเทคโนโลยี 5G และการประยุกต์ใช้ในภาคอุตสาหกรรมแนวดิ่ง
•  การสร้างและพัฒนากาลังคนดิจิทัล (5G Digital Workforce) เพื่อพัฒนาศักยภาพ ขีดความสามารถกำลังคนด้านดิจิทัลของประเทศไทย โดยเน้นการตอบสนองตาม ความต้องการของตลาดในปัจจุบัน รวมถึงแนวโน้มของตลาดในอนาคต
สิบโท จักรพันธ์ บุญบรรลุ 64423471328
1. จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การมีส่วนร่วมของประชาชน ถือเป็นหลักการสากลที่อารยประเทศให้ความสำคัญ และเป็นประเด็นหลักที่สังคมไทยให้ความสนใจเพื่อพัฒนาการเมืองเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมตามหลักการธรรมมาภิบาลที่ภาครัฐจะต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนรับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ เพื่อสร้างความโปร่งใสและเพิ่มคุณภาพการตัดสินใจของภาครัฐให้ดีขึ้น และเป็นที่ยอมรับร่วมกันของทุก ๆ ฝ่าย

ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาไทย พ.ศ.2540 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 จึงต่างให้ความสำคัญต่อการบริหารราชการอย่างโปร่งใส สุจริต เปิดเผยข้อมูล และการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะ การตัดสินใจทางการเมือง รวมถึงการตรวจสอบ การใช้อำนาจรัฐในทุกระดับ

หลักการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมกับภาคราชการนั้น ได้แบ่งระดับของการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น 5 ระดับ ดังนี้

1. การให้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำที่สุด แต่เป็นระดับที่สำคัญที่สุด เพราะเป็นก้าวแรกของการที่ภาคราชการจะเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมในเรื่องต่าง ๆ วิธีการให้ข้อมูลสามารถใช้ช่องทางต่าง ๆ เช่น เอกสารสิ่งพิมพ์ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเสื่อต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายข่าว การจัดงานแถลงข่าว การติดประกาศ และการให้ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น

2. การรับฟังความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข้อเท็จจริงและความคิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การรับฟังความคิดเห็น การสำรวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น

3. การเกี่ยวข้อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอแนะทางที่นำไปสู่การตัดสินใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่าข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของประชาชนจะถูกนำไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ เช่น การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพิจารณาประเด็นนโยบายสาธารณะ ประชาพิจารณ์ การจัดตั้งคณะทำงานเพื่อเสนอแนะประเด็นนโยบาย เป็นต้น

4. ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชนผู้แทนภาคสาธารณะมีส่วนร่วม โดยเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ และมีการดำเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เช่น คณะกรรมการที่มีฝ่ายประชาชนร่วมเป็นกรรมการ เป็นต้น

5. การเสริมอำนาจแก่ประชาชน เป็นขั้นที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด โดยให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ เช่น การลงประชามติในประเด็นสาธารณะต่าง ๆ โครงการกองทุนหมู่บ้านที่มอบอำนาจให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจทั้งหมด เป็นต้น
สิบโท จักรพันธ์ บุญบรรลุ 64423471328
2. ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5G มีอะไรบ้าง
ตอบ “ระบบราชการ 4.0” ตามนโยบายของ รัฐบาล โดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ
1.ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2.ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3.แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการท างานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4.ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์
และการตัดสินใจในการทำงาน
5.ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6.ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน
ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7.เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8.ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลง
9.บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10.ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่
สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
สรุป การวางระบบและวิธีการทำงานของระบบราชการ 4.0 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกรอบแนวทางการปฏิรูประบบราชการเพื่อรองรับไทยแลนด์ 4.0 ระบบและวิธีการทำงานของระบบราชการ 4.0 คือการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาลเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนระบบราชการจะต้องเป็นที่พึ่งของประขาชนและเชื่อถือไว้วางใจได้ ภาครัฐที่เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางการบริการและ ภาครัฐอัจฉริยะ - มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย เข้าถึงความต้องการ ในระดับปัจเจก การทำงานต้องเปิดเผยและโปร่งใส -ทำงานโดยมองไปข้างหน้า การทำงานต้องมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเพื่อเตรียมการเปิดกว้างให้กลไกหรือภาคส่วนอื่น ๆ
ลักษณะสำคัญในยุค 5 G คือ องค์กรภาครัฐจึงควรเห็นมิติทางโอกาสที่จะสามารถใช้ศักยภาพทั้งหมดเพื่อการเรียนรู้และปรับใช้จากประโยชน์จากระบบ 5G ด้วยประเด็นดังต่อไปนี้
1.การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชนซึ่งเป็นความพยายามที่จะปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น
2.การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย ในยุค 5G องค์กรภาครัฐจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้น
3.การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุมโดยการเร่งพัฒนาและปรับกระบวนงานระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมของประชาชนที่ กำลังจะเปลี่ยนไป ทั้งด้านบริการภาครัฐ ต้องมีความสะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน
4.ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่องเพราะบริบทการเปลี่ยนแปลงมีความรวดเร็วอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี ที่ส่งผลต่อการเกิดปัญหาของประชาชนที่ซับซ้อนตามไปด้วยทำให้องค์กรภาคตรัฐที่มี่หน้าที่ในการดูแลแก้ไขปัญหาประชาชนจำต้องเท่าเทียมและเตรียมความพร้อมในการพัฒนาระบบการให้บริการโดยนำเทคโนโลยีมาใช้สนับสนุนเพื่อให้บริการประชาชน
5.การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน (Responsible) ซึ่งมีลักษณะการยอมรับทั้งผลที่ไม่ดีและผลที่ดีในกิจการที่ได้ทำลงไปหรือที่อยู่ในความดูแลของกิจการนั้นๆ ซึ่งความรับผิดชอบดังกล่าวอาจดูได้จากการองค์กรภาครัฐใดที่มี Productivity สูงๆ และมีความรับผิดชอบในการทำงานได้อย่างดีไม่ถูกดึงดูดออกไปจากงานได้ง่ายๆก็จะเป็นองค์กรที่ประสบความสำเร็จได้สูงกว่า และองค์กรอื่นๆ
สรุป การบริหารองค์กรภาครัฐในโลกอนาคตที่มีความรอบคอบ รองรับ เร่งรัด รวดเร็ว และรับผิดชอบอาจจะเป็นบทบาทใหม่ขององค์กรภาครัฐที่ควรให้ความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมใหม่ที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้นเพื่อการพลิกประเทศไปสู่ความทันสมัยได้มากขึ้นผ่านการทำงานด้วยการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีมาปรับใช้เพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กรภาครัฐและช่วยลดทัศนคติของประชาชนในแง่ลบกลายมาเป็นทัศนคติเชิงบวกได้ด้วยองค์ความรู้ที่สำคัญที่ส่งผลต่อการแก้ไขปัญหาของประชาชนบนฐานเทคนิคการบริหารองค์กรภาครัฐ มิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชนได้ ทั้งหากองค์กรภาครัฐสามารถปรับเปลี่ยนและพัฒนาระบบต่างๆ ด้วยความทันสมัยจะช่วยให้ภาครัฐสามารถตอบโจทย์ของบทบาทของตนเองได้อย่างแท้จริง
สิบโท สุพจน์ นุ่มประสงค์ 64423471333
2. ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5G มีอะไรบ้าง
ตอบ “ระบบราชการ 4.0” ตามนโยบายของ รัฐบาล โดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ
1.ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2.ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3.แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการท างานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4.ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์
และการตัดสินใจในการทำงาน
5.ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6.ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน
ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7.เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8.ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลง
9.บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10.ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่
สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
สรุป การวางระบบและวิธีการทำงานของระบบราชการ 4.0 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกรอบแนวทางการปฏิรูประบบราชการเพื่อรองรับไทยแลนด์ 4.0 ระบบและวิธีการทำงานของระบบราชการ 4.0 คือการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาลเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนระบบราชการจะต้องเป็นที่พึ่งของประขาชนและเชื่อถือไว้วางใจได้ ภาครัฐที่เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางการบริการและ ภาครัฐอัจฉริยะ - มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย เข้าถึงความต้องการ ในระดับปัจเจก การทำงานต้องเปิดเผยและโปร่งใส -ทำงานโดยมองไปข้างหน้า การทำงานต้องมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเพื่อเตรียมการเปิดกว้างให้กลไกหรือภาคส่วนอื่น ๆ
ลักษณะสำคัญในยุค 5 G คือ องค์กรภาครัฐจึงควรเห็นมิติทางโอกาสที่จะสามารถใช้ศักยภาพทั้งหมดเพื่อการเรียนรู้และปรับใช้จากประโยชน์จากระบบ 5G ด้วยประเด็นดังต่อไปนี้
1.การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชนซึ่งเป็นความพยายามที่จะปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น
2.การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย ในยุค 5G องค์กรภาครัฐจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้น
3.การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุมโดยการเร่งพัฒนาและปรับกระบวนงานระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมของประชาชนที่ กำลังจะเปลี่ยนไป ทั้งด้านบริการภาครัฐ ต้องมีความสะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน
4.ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่องเพราะบริบทการเปลี่ยนแปลงมีความรวดเร็วอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี ที่ส่งผลต่อการเกิดปัญหาของประชาชนที่ซับซ้อนตามไปด้วยทำให้องค์กรภาคตรัฐที่มี่หน้าที่ในการดูแลแก้ไขปัญหาประชาชนจำต้องเท่าเทียมและเตรียมความพร้อมในการพัฒนาระบบการให้บริการโดยนำเทคโนโลยีมาใช้สนับสนุนเพื่อให้บริการประชาชน
5.การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน (Responsible) ซึ่งมีลักษณะการยอมรับทั้งผลที่ไม่ดีและผลที่ดีในกิจการที่ได้ทำลงไปหรือที่อยู่ในความดูแลของกิจการนั้นๆ ซึ่งความรับผิดชอบดังกล่าวอาจดูได้จากการองค์กรภาครัฐใดที่มี Productivity สูงๆ และมีความรับผิดชอบในการทำงานได้อย่างดีไม่ถูกดึงดูดออกไปจากงานได้ง่ายๆก็จะเป็นองค์กรที่ประสบความสำเร็จได้สูงกว่า และองค์กรอื่นๆ
สรุป การบริหารองค์กรภาครัฐในโลกอนาคตที่มีความรอบคอบ รองรับ เร่งรัด รวดเร็ว และรับผิดชอบอาจจะเป็นบทบาทใหม่ขององค์กรภาครัฐที่ควรให้ความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมใหม่ที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้นเพื่อการพลิกประเทศไปสู่ความทันสมัยได้มากขึ้นผ่านการทำงานด้วยการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีมาปรับใช้เพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กรภาครัฐและช่วยลดทัศนคติของประชาชนในแง่ลบกลายมาเป็นทัศนคติเชิงบวกได้ด้วยองค์ความรู้ที่สำคัญที่ส่งผลต่อการแก้ไขปัญหาของประชาชนบนฐานเทคนิคการบริหารองค์กรภาครัฐ มิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชนได้ ทั้งหากองค์กรภาครัฐสามารถปรับเปลี่ยนและพัฒนาระบบต่างๆ ด้วยความทันสมัยจะช่วยให้ภาครัฐสามารถตอบโจทย์ของบทบาทของตนเองได้อย่างแท้จริง

August 11, 2022 at 4:50 AM
สิบโท ธนะวัฒน์ บุญธรรม รหัสนักศึกษา64423471331
1. จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การมีส่วนร่วมของประชาชน ถือเป็นหลักการสากลที่อารยประเทศให้ความสำคัญ และเป็นประเด็นหลักที่สังคมไทยให้ความสนใจเพื่อพัฒนาการเมืองเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมตามหลักการธรรมมาภิบาลที่ภาครัฐจะต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนรับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ เพื่อสร้างความโปร่งใสและเพิ่มคุณภาพการตัดสินใจของภาครัฐให้ดีขึ้น และเป็นที่ยอมรับร่วมกันของทุก ๆ ฝ่าย

ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาไทย พ.ศ.2540 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 จึงต่างให้ความสำคัญต่อการบริหารราชการอย่างโปร่งใส สุจริต เปิดเผยข้อมูล และการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะ การตัดสินใจทางการเมือง รวมถึงการตรวจสอบ การใช้อำนาจรัฐในทุกระดับ

หลักการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมกับภาคราชการนั้น ได้แบ่งระดับของการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น 5 ระดับ ดังนี้

1. การให้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำที่สุด แต่เป็นระดับที่สำคัญที่สุด เพราะเป็นก้าวแรกของการที่ภาคราชการจะเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมในเรื่องต่าง ๆ วิธีการให้ข้อมูลสามารถใช้ช่องทางต่าง ๆ เช่น เอกสารสิ่งพิมพ์ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเสื่อต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายข่าว การจัดงานแถลงข่าว การติดประกาศ และการให้ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น

2. การรับฟังความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข้อเท็จจริงและความคิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การรับฟังความคิดเห็น การสำรวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น

3. การเกี่ยวข้อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอแนะทางที่นำไปสู่การตัดสินใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่าข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของประชาชนจะถูกนำไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ เช่น การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพิจารณาประเด็นนโยบายสาธารณะ ประชาพิจารณ์ การจัดตั้งคณะทำงานเพื่อเสนอแนะประเด็นนโยบาย เป็นต้น

4. ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชนผู้แทนภาคสาธารณะมีส่วนร่วม โดยเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ และมีการดำเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เช่น คณะกรรมการที่มีฝ่ายประชาชนร่วมเป็นกรรมการ เป็นต้น

5. การเสริมอำนาจแก่ประชาชน เป็นขั้นที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด โดยให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ เช่น การลงประชามติในประเด็นสาธารณะต่าง ๆ โครงการกองทุนหมู่บ้านที่มอบอำนาจให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจทั้งหมด เป็นต้น
สิบโท ธนะวัฒน์ บุญธรรม รหัสนักศึกษา64423471331
2. ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5G มีอะไรบ้าง
ตอบ “ระบบราชการ 4.0” ตามนโยบายของ รัฐบาล โดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ
1.ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2.ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3.แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการท างานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4.ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์
และการตัดสินใจในการทำงาน
5.ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6.ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน
ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7.เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8.ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลง
9.บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10.ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่
สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
สรุป การวางระบบและวิธีการทำงานของระบบราชการ 4.0 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกรอบแนวทางการปฏิรูประบบราชการเพื่อรองรับไทยแลนด์ 4.0 ระบบและวิธีการทำงานของระบบราชการ 4.0 คือการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาลเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนระบบราชการจะต้องเป็นที่พึ่งของประขาชนและเชื่อถือไว้วางใจได้ ภาครัฐที่เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางการบริการและ ภาครัฐอัจฉริยะ - มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย เข้าถึงความต้องการ ในระดับปัจเจก การทำงานต้องเปิดเผยและโปร่งใส -ทำงานโดยมองไปข้างหน้า การทำงานต้องมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเพื่อเตรียมการเปิดกว้างให้กลไกหรือภาคส่วนอื่น ๆ
ลักษณะสำคัญในยุค 5 G คือ องค์กรภาครัฐจึงควรเห็นมิติทางโอกาสที่จะสามารถใช้ศักยภาพทั้งหมดเพื่อการเรียนรู้และปรับใช้จากประโยชน์จากระบบ 5G ด้วยประเด็นดังต่อไปนี้
1.การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชนซึ่งเป็นความพยายามที่จะปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น
2.การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย ในยุค 5G องค์กรภาครัฐจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้น
3.การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุมโดยการเร่งพัฒนาและปรับกระบวนงานระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมของประชาชนที่ กำลังจะเปลี่ยนไป ทั้งด้านบริการภาครัฐ ต้องมีความสะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน
4.ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่องเพราะบริบทการเปลี่ยนแปลงมีความรวดเร็วอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี ที่ส่งผลต่อการเกิดปัญหาของประชาชนที่ซับซ้อนตามไปด้วยทำให้องค์กรภาคตรัฐที่มี่หน้าที่ในการดูแลแก้ไขปัญหาประชาชนจำต้องเท่าเทียมและเตรียมความพร้อมในการพัฒนาระบบการให้บริการโดยนำเทคโนโลยีมาใช้สนับสนุนเพื่อให้บริการประชาชน
5.การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน (Responsible) ซึ่งมีลักษณะการยอมรับทั้งผลที่ไม่ดีและผลที่ดีในกิจการที่ได้ทำลงไปหรือที่อยู่ในความดูแลของกิจการนั้นๆ ซึ่งความรับผิดชอบดังกล่าวอาจดูได้จากการองค์กรภาครัฐใดที่มี Productivity สูงๆ และมีความรับผิดชอบในการทำงานได้อย่างดีไม่ถูกดึงดูดออกไปจากงานได้ง่ายๆก็จะเป็นองค์กรที่ประสบความสำเร็จได้สูงกว่า และองค์กรอื่นๆ
สรุป การบริหารองค์กรภาครัฐในโลกอนาคตที่มีความรอบคอบ รองรับ เร่งรัด รวดเร็ว และรับผิดชอบอาจจะเป็นบทบาทใหม่ขององค์กรภาครัฐที่ควรให้ความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมใหม่ที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้นเพื่อการพลิกประเทศไปสู่ความทันสมัยได้มากขึ้นผ่านการทำงานด้วยการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีมาปรับใช้เพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กรภาครัฐและช่วยลดทัศนคติของประชาชนในแง่ลบกลายมาเป็นทัศนคติเชิงบวกได้ด้วยองค์ความรู้ที่สำคัญที่ส่งผลต่อการแก้ไขปัญหาของประชาชนบนฐานเทคนิคการบริหารองค์กรภาครัฐ มิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชนได้ ทั้งหากองค์กรภาครัฐสามารถปรับเปลี่ยนและพัฒนาระบบต่างๆ ด้วยความทันสมัยจะช่วยให้ภาครัฐสามารถตอบโจทย์ของบทบาทของตนเองได้อย่างแท้จริง
Unknown said…
ส.ท.หญิง นัทธ์มนต์ สินอุดมวงศา รหัสนักศึกษา 64423471342
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนมีการแบ่งระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนไว้ 2 ระดับคือ (สุนีย์ มัลลิกะมาลย์, 2545 : 56-57)
1 การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำ หมายถึงหน่วยงานรัฐเป็นฝ่ายริเริ่มคิดตัดสินใจให้มีโครงการหรือกิจกรรมขึ้นมาและเห็นว่าสมควรจะให้ประชาชนมีส่วนร่วมดำเนินการด้วยจึงให้แจ้งและมอบหมายให้ประชาชนเข้ามาดำเนินการ การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับนี้จึงมีลักษณะเป็นการสั่งการจากรัฐสู่ประชาชน (Top-Down Approach) ซึ่งจะเป็นการมีส่วนร่วมที่มิได้เกิดจากความต้องการโดยแท้จากประชาชน ประชาชนอาจไม่เห็นความสำคัญและความจำเป็นที่จะเข้าไปมีส่วนร่วม ดังนั้นจึงไม่เกิดความประสงค์จะร่วมดำเนินการใด ๆ ด้วย และบางครั้งจำเป็นต้องเข้ามีส่วนร่วมเนื่องจากเป็นการสั่งการหรือมอบหมายของเจ้าหน้าที่ที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ เพราะฉะนั้นเมื่อโครงการหรือกิจกรรมนั้น ๆ ได้ดำเนินการไปได้ระยะหนึ่งก็จะมีอันล้มเลิกไป การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับนี้ จึงเป็นการปฏิบัติการตามนโยบายของหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง จึงอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามแต่นโยบายที่อาจเปลี่ยนแปลงตามเจ้าหน้าที่รัฐที่เข้ามาดูแลประชาชนซึ่งไม่ได้เป็นเจ้าหน้าที่ที่ประจำการตลอดไป เพราะมีการสับเปลี่ยนโยกย้ายตามความเหมาะสม
2 การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับสูง หมายถึงประชาชนเป็นฝ่ายคิดริเริ่มตัดสินใจและดำเนินโครงการหรือกิจกรรมนั้น ๆ (Bottom-Up Approach) หลักการนี้จะเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีประสิทธิภาพสูง แต่มีปัญหาอีกเช่นกันนั่นคือการดำเนินการนั้นในบางครั้งจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือสนับสนุนจากรัฐ ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วอาจไม่เป็นเช่นนั้นเพราะโครงการหรือกิจกรรมนั้นอาจไม่ได้รับความเห็นชอบหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องอาจไม่เห็นด้วยเพราะถือว่าเป็นเรื่องของประชาชน เพราะฉะนั้นประชาชนก็ควรทำกันเองโครงการหรือกิจกรรมที่ไม่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐแล้วย่อมจะไม่สัมฤทธิผลเช่นกัน
หลักการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมกับภาคราชการนั้น International Association for Public Participation ได้แบ่งระดับของการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น 5 ระดับ ดังนี้
1. การให้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำที่สุด แต่เป็นระดับที่สำคัญที่สุด เพราะเป็นก้าวแรกของการที่ภาคราชการจะเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมในเรื่องต่าง ๆ วิธีการให้ข้อมูลสามารถใช้ช่องทางต่าง ๆ เช่น เอกสารสิ่งพิมพ์ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเสื่อต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายข่าว การจัดงานแถลงข่าว การติดประกาศ และการให้ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
2. การรับฟังความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข้อเท็จจริงและความคิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การรับฟังความคิดเห็น การสำรวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
3. การเกี่ยวข้อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอแนะทางที่นำไปสู่การตัดสินใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่าข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของประชาชนจะถูกนำไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ เช่น การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพิจารณาประเด็นนโยบายสาธารณะ ประชาพิจารณ์ การจัดตั้งคณะทำงานเพื่อเสนอแนะประเด็นนโยบาย เป็นต้น
4. ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชนผู้แทนภาคสาธารณะมีส่วนร่วม โดยเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ และมีการดำเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เช่น คณะกรรมการที่มีฝ่ายประชาชนร่วมเป็นกรรมการ เป็นต้น
5. การเสริมอำนาจแก่ประชาชน เป็นขั้นที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด โดยให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ เช่น การลงประชามติในประเด็นสาธารณะต่าง ๆ โครงการกองทุนหมู่บ้านที่มอบอำนาจให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจทั้งหมด เป็นต้น

ส.ท.อนาวิณ สวาสดิ์เพชร รหัสนักศึกษา 64423471316
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
คำตอบ การมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นการกระทำที่มีจุดมุ่งหมายที่จะเข้าไปมีอิทธิพลต่อการ
กำหนดนโยบาย การบริหารงานของรัฐ หรือการเลือกผู้นำรัฐบาลและการกระทำนั้นต้องเป็นการ
กระทำด้วยความสมัครใจซึ่งอาจเป็นไปในทางตรงหรือทางอ้อมก็ได้ และเป็นกิจกรรมต่างๆ ที่
เป็นไปโดยสมัครใจซึ่งสมาชิกในสังคมมีส่วนร่วมโดยตรงหรือโดยอ้อม ในการเลือกผู้ปกครองประเทศ
การกำหนดนโยบายสาธารณะ การลงคะแนนเสียงเลือกตั้งการติดตามข่าวสาร การอภิปราย การ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น การเข้าร่วมประชุม การบริจาคเงินและการติดต่อกับสมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎร ลักษณะความกระตือรือร้นของการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองอาจพิจารณาได้จากการสมัคร
เป็นสมาชิกพรรคการเมืองอย่างเป็นทางการ นอกจากนี้ Myon Weiner ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมทางการเมืองไว้ 10 ประการ ดังนี้
1. การมีส่วนร่วม หมายถึง การกระทำในการสนับสนุนหรือการกระทำในการเรียกร้องกับผู้นำของรัฐบาลในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยและเผด็จการก็ได้ เช่น การออกเสียงประชามติ
2. การมีส่วนร่วม หมายถึง ความพยายามที่สำเร็จในการสร้างผลกระทบต่อการดำเนินการของรัฐบาลหรือ การเลือกผู้นำรัฐบาล
3. การมีส่วนร่วม หมายถึง การกระทำหรือกิจกรรมทางการเมืองที่กำหนดไว้ในตัวบทกฎหมาย เช่น การออกเสียงเลือกตั้ง การยื่นข้อเรียกร้อง การวิ่งเต้นในเรื่องต่างๆ ที่เป็นไปตามกฎหมาย ซึ่งการกระทำเหล่านี้จะต้องไม่ขัดกฎหมาย
4. การมีส่วนร่วมหมายถึงการใช้สิทธิเลือกตัวแทนเข้าไปใช้อำนาจแทนตัวเองในระบอบ ประชาธิปไตยแบบมีตัวแทน
5. การมีส่วนร่วม หมายถึง ความรู้สึกแปลกแยกหรือแปลกปลอม หรือตีตนออกจากระบบการเมืองเนื่องจากการถูกกีดกันไม่ให้เขาได้มีโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วม
6. การมีส่วนร่วม หมายถึงการกระทำที่ตื่นตัวทางการเมือง ซึ่งการกระทำยังหมายรวมไปถึงการพูดคุยถกเถียงปัญหาทางการเมืองหรือพวกที่สนใจข่าวสารทางการเมืองในสื่อสารมวลชน ไม่จำเป็นจะต้องอยู่ในรูปของการใช้สิทธิเลือกตั้งเสมอไป
7. การมีส่วนร่วมทางการเมืองนั้นเป็นกิจกรรมทางการเมืองทุกชนิดทั้งแบบที่ใช้ความรุนแรงและไม่ใช้ความรุนแรง
8. การมีส่วนร่วมทางการเมืองเป็นกิจกรรมทางการเมืองและกิจกรรมที่มองว่าต้องมีจุดมุ่งหมายที่จะมีอิทธิพลต่อผู้นำทางการเมือง มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติการและดำเนินการของข้าราชการด้วย
9. การมีส่วนร่วมบางคนก็มองเพียงการกระทำที่จะมีผลต่อการดำเนินการทางการเมืองระดับชาติเท่านั้น แต่ที่จริงก็รวมถึงการดำเนินการที่มีผลต่อการเมืองท้องถิ่นและระดับชาติ
10. การมีส่วนร่วมทางการเมืองดูที่การปฏิบัติทางการเมืองและเป็นกิจกรรมทุกชนิดที่เป็นการเมือง

สรุป การมีส่วนร่วมของประชาชนกับนโยบายสาธารณะในความหมายกว้างซึ่งมักจะคาบ
เกี่ยวกับกับการพัฒนานั้นก็คือ การให้โอกาสประชาชนเป็นฝ่ายการตัดสินใจ กำหนดปัญหาความ
ต้องการของตนเองอย่างแท้จริง เป็นการเสริมพลังอำนาจ ให้แก่ประชาชน/กลุ่ม/องค์กรชุมชนให้
สามารถระดมขีดความสามารถในการจัดการทรัพยากร การตัดสินใจ และควบคุมดูแลกิจกรรมต่างๆ
ใน ชุมชนมากกว่าที่จะเป็นฝ่ายตั้งรับ สามารถกำหนดการดำรงชีวิตได้ด้วยตนเองให้มีชีวิตมีความ
เป็นอยู่ที่ดีขึ้นตามความจำเป็นอย่างมีศักดิ์ศรีและสามารถพัฒนาศักยภาพของประชาชน/ชุมชนใน
ด้านภูมิปัญญา ทักษะ ความรู้ ความสามารถ และการจัดการและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลก
ได้ และประชาชนจะต้องเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการอย่างมีอิสระ การทำงานต้องเน้นในรูปกลุ่ม
หรือองค์กรชุมชนที่มีวัตถุประสงค์ในการเข้าร่วมอย่างชัดเจน เนื่องจากพลังกลุ่มจะเป็นปัจจัยสำคัญ
ที่ทำให้งานพัฒนาต่าง ๆ บรรลุผลสำเร็จตามความมุ่งหมายได้ ทั้งนี้ การจะเกิดสภาพของการมีส่วน
ร่วมของประชาชนตามความหมายที่กล่าวถึงข้างต้น จะต้องเกิดสภาพการณ์หรือเงื่อนไขสำคัญคือ
การมีความตระหนักและความเห็นพ้องต้องกันของประชาชนที่มีจำนวนมากพอต่อการริเริ่ม
โครงการ/กิจกรรมหนึ่งกิจกรรมใดเพื่อที่จะการเปลี่ยนแปลงที่เป็นความต้องการของส่วนรวม ทั้งนี้
ความร่วมมือของประชาชนไม่ว่าของปัจเจกชน บุคคลหรือกลุ่มคนที่เห็นพ้องต้องกันและเข้ามา
รับผิดชอบเพื่อการดำเนินการพัฒนา และการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ต้องการโดยมีลักษณะเป็น
การกระทำผ่านกลุ่ม หรือองค์กรเพื่อให้บรรลุถึงความเปลี่ยนแปลงที่พึงประสงค์
ส.ท.อำนาจ สิงห์ใหญ่ 64423471305
จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน มีนักวิชาการได้ให้ความหมายการมีส่วนร่วมไว้ ดังนี% นรินทร์ พัฒนพงศา (2546 : 4) ได้สรุปความหมายของการมีส่วนร่วมวาการมีส่วนร่วมคือ การที่ฝ่ายหนึ่งฝ่ ายใดที่ไม่เคยได้เข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ หรือเข้าร่วมการตัดสินใจหรือเคยเข้าร่วมด้วย เล็กน้อยได้เข้าร่วมมากขึ%นเป็ นไปอย่างมีอิสรภาพเสมอภาค มิใช่มีส่วนร่วมอย่างผิวเผิน แต่เข้าร่วม อยางแท้จริงยิ่งขึ้ และการเข้าร่วมนั้นต้องเริ่มตั้งแต่ขั้นแรกจนถึงขั้นสุดท้ายของโครงการ ยุพา รูปงาม (2545 : 5) การมีส่วนร่วม (Participation) คือ เป็นผลมาจากการเห็นพ้องกนในเรื่องของความต้องการ และทิศทางการเปลี่ยนแปลงและความเห็นพร้องกนจะต้องมีมากจนเกิดความริเริ่ม โครงการเพื่อ การปฏิบัติ เหตุผลแรกของการที่มีคนมารวมกันได้ควรจะต้องมีการตระหนักว่า ปฏิบัติการทั้งหมดหรือการกระทําทั้งหมด ที่ทําโดยกลุ่มหรือในนามกลุ่มนั%น กระทําผ่านองค์การ (Organization) ดังนั้น องค์การเป็นเสมือนตัวนําให้บรรลุถึงความเปลี่ยนแปลงได้ ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ (2543 : 8-10) ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมใน 2 ลักษณะ กล่าวคือ การมีส่วนร่วมในลักษณะที่เป็นกระบวนการของการพัฒนาโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในกระบวนการพัฒนาตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ เช่น การร่วมกนค้นหาปัญหา การวางแผน
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
1 การสื่อสารของผู้นำยุคดิจิทัล
2 การติดตามผลการดำเนินงานโดยใช้ดิจิทัล
3 การชี้นำและขับเครื่ององค์กรด้วยนวัตกรรม

August 3, 2022 at 7:09 AM
ส.ท.อนาวิณ สวาสดิ์เพชร รหัสนักศึกษา 64423471316
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ระบบราชการ ๔.๐ ประเทศไทยมุ่งสู่ไทยแลนด์ ๔.๐ มีการกําหนด ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปo ภาครัฐตองปรับตัวใหสามารถอํานวยความสะดวกในการ ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัลทามกลางความเปลี่ยนแปลง ท่ีรวดเร็วและไมสามารถคาดเดาได จึงตองมุงเนนความคลองตััวเพ่ือขับเคลื่อน ภารกิจพิเศษ(Agenda – Based)และนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาพลิกโฉมระบบ ราชการสู Government 4.0
ปัจจัยสําคัญต่อความสําเร็จของการพัฒนาไปสู่ ระบบราชการ ๔.๐
สํานักงาน ก.พ.ร. ได้กําหนดปัจจัยสําคัญอย่างน้อย ๓ ประการต่อความ สําเร็จของการพัฒนาไปสู่ ระบบราชการ ๔.๐ โดยสรุป ดังน้ี
๑. การสานพลังระหว่างภาครัฐและภาคส่วนอื่นๆในสังคม(Collaboration) เป็นการยกระดับการทํางานจากการประสานงานกัน (Coordination) หรือ ทํางานดวยกัน (Cooperation) ไปสู่การรวมมือกัน (Collaboration) เป็น การบริหารกิจการบ้ารเมืองในรูปแบบ “ประชารัฐ”
๒. การส้างนวัตกรรม(Innovation)เป็นการคิดคนและหาวิธีการหรือ ศึกษาเรื่องใหม่ๆ เพื่อใหเกิดผลกระทบใหญ่ต่อการตอบสนองความตองการ ของประชาชนได้อย่างมีคุณภาพ โดยให้ประชาชนเข้่มามีสวนร่วมเพื่อสร้าง ความเข้าใจ การเข้าถึงความรู้สึกนึกคิด
๓. การปรับเข้าสู่ความเป็นดิจิทัล(Digitalization)เป็นการผสมผสาน การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลผ่านระบบคลาวด์ อุปกรณสมารทโฟน และ เครื่องมือที่ใชในการทํางานรวมกัน เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับการดําเนินการ การให้บริการของราชการ สามารถตอบสนองความตองการของประชาชนได้ ในทุกเวลา ทุกสถานที่ ทุกอุปกรณ์และทุกช่อวทางได้อย่างมั่นคง ปลอดภัย และประหยัด
ลักษณะสำคัญในยุค 5 G
ถึงแม้เทคโนโลยี 5G ในไทยเราจะยังใช้งานในรูปแบบผู้ใช้งานแบบ 4G ที่เราใช้งานกันในตอนนี้ แต่ก็ใกล้มากๆ แล้ว ที่เราจะได้สัมผัสและลองใช้งานเทคโนโลยี 5G เชิงพาณิชย์ในประเทศไทย เพราะตามไทม์ไลน์เราน่าจะได้เริ่มใช้งานกันเต็มรูปแบบก็ประมาณปี 2020 - 2021 ดังนั้นจึงไม่ใช่เรื่องใกล้ตัวที่ทุกคนจะมองข้ามไป แถม 5G ยังเป็นเทคโนโลยีที่จะเข้ามาช่วยยกระดับทั้งในแง่ของการใช้งาน และภาคอุตสาหกรรมให้ก้าวไกลยิ่งขึ้น ด้วยมาตราฐานการเชื่อมต่อที่เร็วขึ้น นิ่งกว่าเครือข่าย 4G ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันถึง 10 เท่า
Unknown said…
ส.ท.ยศพล จินดาวงค์ รหัสนักศึกษา 64423471281
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนมีการแบ่งระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนไว้ 2 ระดับคือ (สุนีย์ มัลลิกะมาลย์, 2545 : 56-57)
1 การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำ หมายถึงหน่วยงานรัฐเป็นฝ่ายริเริ่มคิดตัดสินใจให้มีโครงการหรือกิจกรรมขึ้นมาและเห็นว่าสมควรจะให้ประชาชนมีส่วนร่วมดำเนินการด้วยจึงให้แจ้งและมอบหมายให้ประชาชนเข้ามาดำเนินการ การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับนี้จึงมีลักษณะเป็นการสั่งการจากรัฐสู่ประชาชน (Top-Down Approach) ซึ่งจะเป็นการมีส่วนร่วมที่มิได้เกิดจากความต้องการโดยแท้จากประชาชน ประชาชนอาจไม่เห็นความสำคัญและความจำเป็นที่จะเข้าไปมีส่วนร่วม ดังนั้นจึงไม่เกิดความประสงค์จะร่วมดำเนินการใด ๆ ด้วย และบางครั้งจำเป็นต้องเข้ามีส่วนร่วมเนื่องจากเป็นการสั่งการหรือมอบหมายของเจ้าหน้าที่ที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ เพราะฉะนั้นเมื่อโครงการหรือกิจกรรมนั้น ๆ ได้ดำเนินการไปได้ระยะหนึ่งก็จะมีอันล้มเลิกไป การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับนี้ จึงเป็นการปฏิบัติการตามนโยบายของหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง จึงอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามแต่นโยบายที่อาจเปลี่ยนแปลงตามเจ้าหน้าที่รัฐที่เข้ามาดูแลประชาชนซึ่งไม่ได้เป็นเจ้าหน้าที่ที่ประจำการตลอดไป เพราะมีการสับเปลี่ยนโยกย้ายตามความเหมาะสม
2 การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับสูง หมายถึงประชาชนเป็นฝ่ายคิดริเริ่มตัดสินใจและดำเนินโครงการหรือกิจกรรมนั้น ๆ (Bottom-Up Approach) หลักการนี้จะเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีประสิทธิภาพสูง แต่มีปัญหาอีกเช่นกันนั่นคือการดำเนินการนั้นในบางครั้งจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือสนับสนุนจากรัฐ ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วอาจไม่เป็นเช่นนั้นเพราะโครงการหรือกิจกรรมนั้นอาจไม่ได้รับความเห็นชอบหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องอาจไม่เห็นด้วยเพราะถือว่าเป็นเรื่องของประชาชน เพราะฉะนั้นประชาชนก็ควรทำกันเองโครงการหรือกิจกรรมที่ไม่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐแล้วย่อมจะไม่สัมฤทธิผลเช่นกัน
หลักการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมกับภาคราชการนั้น International Association for Public Participation ได้แบ่งระดับของการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น 5 ระดับ ดังนี้
1. การให้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำที่สุด แต่เป็นระดับที่สำคัญที่สุด เพราะเป็นก้าวแรกของการที่ภาคราชการจะเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมในเรื่องต่าง ๆ วิธีการให้ข้อมูลสามารถใช้ช่องทางต่าง ๆ เช่น เอกสารสิ่งพิมพ์ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเสื่อต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายข่าว การจัดงานแถลงข่าว การติดประกาศ และการให้ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
2. การรับฟังความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข้อเท็จจริงและความคิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การรับฟังความคิดเห็น การสำรวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
3. การเกี่ยวข้อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอแนะทางที่นำไปสู่การตัดสินใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่าข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของประชาชนจะถูกนำไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ เช่น การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพิจารณาประเด็นนโยบายสาธารณะ ประชาพิจารณ์ การจัดตั้งคณะทำงานเพื่อเสนอแนะประเด็นนโยบาย เป็นต้น
4. ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชนผู้แทนภาคสาธารณะมีส่วนร่วม โดยเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ และมีการดำเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เช่น คณะกรรมการที่มีฝ่ายประชาชนร่วมเป็นกรรมการ เป็นต้น
5. การเสริมอำนาจแก่ประชาชน เป็นขั้นที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด โดยให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ เช่น การลงประชามติในประเด็นสาธารณะต่าง ๆ โครงการกองทุนหมู่บ้านที่มอบอำนาจให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจทั้งหมด เป็นต้น
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน มีนักวิชาการได้ให้ความหมายการมีส่วนร่วมไว้ ดังนี% นรินทร์ พัฒนพงศา (2546 : 4) ได้สรุปความหมายของการมีส่วนร่วมวาการมีส่วนร่วมคือ การที่ฝ่ายหนึ่งฝ่ ายใดที่ไม่เคยได้เข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ หรือเข้าร่วมการตัดสินใจหรือเคยเข้าร่วมด้วย เล็กน้อยได้เข้าร่วมมากขึ%นเป็ นไปอย่างมีอิสรภาพเสมอภาค มิใช่มีส่วนร่วมอย่างผิวเผิน แต่เข้าร่วม อยางแท้จริงยิ่งขึ้ และการเข้าร่วมนั้นต้องเริ่มตั้งแต่ขั้นแรกจนถึงขั้นสุดท้ายของโครงการ ยุพา รูปงาม (2545 : 5) การมีส่วนร่วม (Participation) คือ เป็นผลมาจากการเห็นพ้องกนในเรื่องของความต้องการ และทิศทางการเปลี่ยนแปลงและความเห็นพร้องกนจะต้องมีมากจนเกิดความริเริ่ม โครงการเพื่อ การปฏิบัติ เหตุผลแรกของการที่มีคนมารวมกันได้ควรจะต้องมีการตระหนักว่า ปฏิบัติการทั้งหมดหรือการกระทําทั้งหมด ที่ทําโดยกลุ่มหรือในนามกลุ่มนั%น กระทําผ่านองค์การ (Organization) ดังนั้น องค์การเป็นเสมือนตัวนําให้บรรลุถึงความเปลี่ยนแปลงได้ ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ (2543 : 8-10) ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมใน 2 ลักษณะ กล่าวคือ การมีส่วนร่วมในลักษณะที่เป็นกระบวนการของการพัฒนาโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในกระบวนการพัฒนาตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ เช่น การร่วมกนค้นหาปัญหา การวางแผน
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
1 การสื่อสารของผู้นำยุคดิจิทัล
2 การติดตามผลการดำเนินงานโดยใช้ดิจิทัล
3 การชี้นำและขับเครื่ององค์กรด้วยนวัตกรรม
August 3, 2022 at 7:09 AM
ส.อ. ศรัณย์ สมาธิ รหัสนักศึกษา 64423471314
Module 3
1. จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วม และปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน (Citizen Participation) มีความหมายหลากหลาย และใช้คำภาษาอังกฤษแตกต่างกัน ในการอภิปรายนี้ใช้คำว่า Citizen Participation เป็นหลักการมีส่วนร่วม (Participation) เป็นคำที่เกิดและอยู่เคียงคู่กับการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย เนื่องจากระบบการปกครองนี้ถือว่าอำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นอำนาจสูงสุด ในการปกครองประเทศนั้นมาจากประชาชน ดังนั้นการมีส่วนร่วม
จึงนำมาใช้ในการบริหารงานแบบ ประชาธิปไตยและเป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่งของหลักธรรมภิบาล
การมีส่วนร่วมของประชาชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560
สำหรับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 ได้บัญญัติเรื่องการมีส่วนร่วมไว้หลายมาตราด้วยกัน สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในกระบวนการต่าง ๆ ทุกขั้นตอน ตั้งแต่การริเริ่มกระทั่งการรับรู้ การแสดงความคิดเห็น การพิจารณาหรือร่วมปรึกษาหารือ และตัดสินใจ ร่วมดำเนินการ การฟ้องร้องรัฐ การติดตาม ประเมินผล การรับผลและการได้รับการเยียวยาจากรัฐ
การมีส่วนร่วมเป็นองค์ประกอบสำคัญของธรรมาภิบาล และในรัฐธรรมนูญนี้มีประเด็นการ มีส่วนร่วมหลายมาตรา เป็นการมีส่วนร่วมที่เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้สามารถ
(1) ริเริ่มกฎหมาย เสนอแนะให้รัฐดำเนินการ
(2) รับรู้ข้อมูลข่าวสารในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านสุขภาพ ประชาชนต้องได้รับคำชี้แจงก่อน อนุมัติ อนุญาต รับรู้ข้อมูลสาธารณะ เรื่องการปกครอง กฎหมายและอันตรายจากทุจริต
(3) แสดงความคิดเห็น ประชาชนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นต่อรัฐ ก่อนการดำเนินการออกกฎหมายและทำหนังสือสัญญา เป็นต้น
(4) การพิจารณาตัดสินใจ โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการพิจารณาข้อเสนอแนะของ ประชาชน
และตัดสินใจทางการเมือง
(5) ดำเนินการประชาชน และชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ส่งเสริมภูมิปัญญา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พิทักษ์ศาสนา พัฒนาประเทศ ต่อต้านการทุจริต เป็นต้น และยังเปิดโอกาสให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเอกชนมีส่วนร่วมดำเนินการ เช่น การดูแลเด็ก เป็นต้น
(6) ฟ้องร้อง ประชาชนมีสิทธิในการฟ้องร้องรัฐ
(7) ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการติดตาม ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ กฎหมาย ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ เป็นต้น
(8) เยียวยา ประชาชนย่อมได้รับการเยียวยาความเดือดร้อน เสียหายจากผลกระทบ
(9) รับผลประโยชน์ ประชาชนย่อมได้รับผลจากการดำเนินการ
การมีส่วนร่วมของประชาชน ยังรวมไปถึง กิจกรรมหรือการกระทำของประชาชน ที่ต้องการมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของรัฐบาล โดยที่การกระทำเป็นไปได้ทั้งถูกต้องตามกฎหมาย และไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ใช้กำลังหรือไม่ใช้กำลัง ทั้งที่สำเร็จและล้มเหลว ทั้งที่สมัครใจหรือไม่สมัครใจ รวมทั้งกิจกรรมเกี่ยวกับ
การเลือก การร่วมรณรงค์หาเสียง หรือการรวมตัวกันเพื่อโน้มน้าวหรือกดดันต่อรัฐบาล ได้แก่ การประท้วง
การใช้ความรุนแรงโดยที่เน้นการกระทำของประชาชนเอง หรือกิจกรรมเกี่ยวกับการปลุกระดมประชาชน
สรุปคือ การมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น เป็นกิจกรรมต่าง ๆ ตามความสมัครใจของของประชาชน
ในฐานะสมาชิกในสังคมการเมืองที่จะเลือกกระทำ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายทั้งทางตรงและทางอ้อม ที่ต้องการมีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายการดำเนินงานของรัฐบาล ไม่ว่าจะเป็นระดับท้องถิ่นหรือในระดับชาติก็ตาม
ซึ่งการกระทำนั้นอาจผิดกฎหมาย หรือถูกต้องตามกฎหมาย อาจใช้ความรุนแรงหรือไม่ใช้ความรุนแรง
สำเร็จผลหรือไม่ หรือการกระทำโดยความสำนึกหรือถูกชักจูงระดมพลังก็ได้
(2) module 3
ส.อ. ศรัณย์ สมาธิ รหัสนักศึกษา 64423471314
2. ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5G มีอะไรบ้าง
ระบบราชการ 4.0
1. เปิดกว้าง และเชื่อมโยงกัน (Open & Connected Government) ต้องมีความเปิดเผยโปร่งใส ในการทำงาน โดยบุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการหรือมีการแบ่งปันข้อมูลซึ่งกันและกัน และสามารถเข้ามาตรวจสอบการทำงานได้ตลอดจนเปิดกว้างให้กลไกหรือภาคส่วนอื่น ๆ เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ได้เข้ามามีส่วนร่วม และโอนถ่ายภารกิจที่ภาครัฐไม่ควรดำเนินการเองออกไปให้แก่ภาคส่วนอื่น ๆ เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการแทน โดยการจัดระเบียบความสัมพันธ์ในเชิงโครงสร้างให้สอดรับกับการทำงานในแนวระนาบ ในลักษณะของเครือข่าย มากกว่าตามสายการบังคับบัญชาในแนวดิ่ง ขณะเดียวกันก็ยังต้องเชื่อมโยงการทำงานภายในภาครัฐด้วยกันเองให้มีเอกภาพและสอดรับประสานกันไม่ว่าจะเป็นราชการบริหาร ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น
2. ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Citizen-Centric Government) ต้องทำงานในเชิงรุกและมองไปข้างหน้า โดยตั้งคำถามกับตนเองเสมอว่า ประชาชนจะได้อะไร มุ่งเน้นแก้ไข ปัญหาความต้องการและตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยไม่ต้องรอให้ประชาชนเข้ามาติดต่อขอรับบริการหรือร้องขอความช่วยเหลือจากทางราชการ (Proactive Public Services) รวมทั้งใช้ประโยชน์จากข้อมูลของทางราชการ (Big Government Data) และระบบดิจิทัลสมัยใหม่ในการจัดบริการสาธารณะที่ตรงกับความต้องการของประชาชน (Personalized หรือ Tailored Services) พร้อมทั้งอำนวยความสะดวกโดยมีการเชื่อมโยงกันเองของทางราชการเพื่อให้บริการต่างๆ สามารถเสร็จสิ้นในจุดเดียวประชาชนสามารถเรียกใช้บริการของทางราชการได้ตลอดเวลาตามความต้องการของตนและผ่านการติดต่อได้หลายช่องทางผสมผสานกัน ไม่ว่าจะติดต่อมาด้วยตนเอง อินเตอร์เน็ต เว็บไซด์ โซเชียลมีเดีย หรือแอปพลิเคชั่นทางโทรศัพท์มือถือ
3. มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย (Smart & High Performance Government) ต้องทำงานอย่างเตรียมการณ์ไว้ล่วงหน้า มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง สร้างนวัตกรรมหรือความคิดริเริ่มและประยุกต์องค์ความรู้ ในแบบสหสาขาวิชาเข้ามาใช้ในการตอบโต้กับโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน เพื่อสร้างคุณค่า มีความยืดหยุ่น และความสามารถในการตอบสนองกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างทันเวลา ตลอดจนเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง และปรับตัวเข้าสู่สภาพความเป็นสำนักงานสมัยใหม่ รวมทั้งทำให้ข้าราชการมีความผูกพันต่อการปฏิบัติราชการ และปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเหมาะสมกับบทบาทของตน
“ระบบราชการ 4.0” มีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ ที่สรุปได้ ดังนี้.-
(1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
(2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
(3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
(4) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และการตัดสินใจในการทำงาน
(5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
(6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง
ทั้งในระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
(7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
(8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการทำงานที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง
(9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
(10) ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาทหน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
สรุป ‘ประเทศไทย 4.0’ คือการนำพาประเทศไปสู่การเป็น ‘ประเทศที่มีรายได้สูง’ ด้วยนวัตกรรม
ที่มีการนำเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้ การวางระบบและวิธีการทำงานของระบบราชการ 4.0 เป็นส่วนหนึ่งของกรอบแนวทางการปฏิรูประบบราชการ ระบบและวิธีการทำงานของระบบราชการ 4.0 คือการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาลเพื่อ ประโยชน์สุขของประชาชนระบบราชการจะต้องเป็นที่พึ่งของประขาชน
และเชื่อถือไว้วางใจได้ ภาครัฐที่เปิดกว้างและ เชื่อมโยงกัน ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางการบริการ
และ ภาครัฐอัจฉริยะ - มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย เข้าถึง ความต้องการ ในระดับปัจเจก การทำงานต้องเปิดเผยและโปร่งใส -ทำงานโดยมองไปข้างหน้า การทำงานต้องมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเพื่อเตรียมการเปิดกว้างให้กลไกหรือภาคส่วนอื่น ๆ
Module 3
ส.ท.ณรงค์ สัตตัง
รหัส 64423471327
5.1จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การเข้าไปกระทำร่วมกันโดยบุคคลที่อยู่เป็นกลุ่มชนท้ังทางด้านนามธรรมคือจิตใจ ความคิด อารมณ์ การเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน การพัฒนาทั้งในการแก้ไขปัญหาและป้องกันปัญหาโดยเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการคิดริเริ่มร่วมกำหนดนโยบาย ร่วมวางแผน ตัดสินใจและปฏิบัติตามแผน ร่วมตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐทุก ระดับ ร่วมติดตามประเมินผลและรับผิดชอบในเรื่องต่าง ๆ

5.2ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5G มีอะไรบ้าง
ตอบ ระบบราชการ 4.0” ตามนโยบายของ รัฐบาล โดยมีคุณลักษณะสาคัญ 10 ประการ (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2563 : 1) ประกอบด้วย
1) ทางานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
มิถุนายน 2564
4)ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการมีฐานข้อมูลท่ีทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์และ การตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งในระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมความคิดริเร่ิมและการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเองสู่องค์การที่มีความทันสมัยและมุ่งเน้นผลงานท่ีดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากรดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูงพัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร

ลักษณะสำคัญในยุค 5G
1. การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบท่ีไม่ส่งกระทบต่อประชาชน (Studious)
2. การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย
3. การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate)
4. ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง (Expeditious)
5. การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน(Responsible)
จ.อ.นิพิฐพนธ์ ธนิสรธนาสิทธิ์

รหัสนักศึกษา 64423471322


Module 3

5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน

การมีส่วนร่วมของประชาชน มีนักวิชาการได้ให้ความหมายการมีส่วนร่วมไว้ ดังนี% นรินทร์ พัฒนพงศา (2546 : 4) ได้สรุปความหมายของการมีส่วนร่วมวาการมีส่วนร่วมคือ การที่ฝ่ายหนึ่งฝ่ ายใดที่ไม่เคยได้เข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ หรือเข้าร่วมการตัดสินใจหรือเคยเข้าร่วมด้วย เล็กน้อยได้เข้าร่วมมากขึ%นเป็ นไปอย่างมีอิสรภาพเสมอภาค มิใช่มีส่วนร่วมอย่างผิวเผิน แต่เข้าร่วม อยางแท้จริงยิ่งขึ้ และการเข้าร่วมนั้นต้องเริ่มตั้งแต่ขั้นแรกจนถึงขั้นสุดท้ายของโครงการ ยุพา รูปงาม (2545 : 5) การมีส่วนร่วม (Participation) คือ เป็นผลมาจากการเห็นพ้องกนในเรื่องของความต้องการ และทิศทางการเปลี่ยนแปลงและความเห็นพร้องกนจะต้องมีมากจนเกิดความริเริ่ม โครงการเพื่อ การปฏิบัติ เหตุผลแรกของการที่มีคนมารวมกันได้ควรจะต้องมีการตระหนักว่า ปฏิบัติการทั้งหมดหรือการกระทําทั้งหมด ที่ทําโดยกลุ่มหรือในนามกลุ่มนั%น กระทําผ่านองค์การ (Organization) ดังนั้น องค์การเป็นเสมือนตัวนําให้บรรลุถึงความเปลี่ยนแปลงได้ ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ (2543 : 8-10) ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมใน 2 ลักษณะ กล่าวคือ การมีส่วนร่วมในลักษณะที่เป็นกระบวนการของการพัฒนาโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในกระบวนการพัฒนาตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ เช่น การร่วมกนค้นหาปัญหา การวางแผน

5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง

1 การสื่อสารของผู้นำยุคดิจิทัล

2 การติดตามผลการดำเนินงานโดยใช้ดิจิทัล

3 การชี้นำและขับเครื่ององค์กรด้วยนวัตกรรม


Unknown said…
ส.ท.ปวริศร ไชยฉิม รหัส 64423471283
Module 3
1. จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง กระบวนการใด ๆที่ให้ประชาชนมีส่วนในการตัดสินใจโดยตรงและมีการให้ข้อมูลประกอบการพิจารณากับประชาชนในการตัดสินใจอย่างเต็มที่ ระดับของการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น 5 ระดับ ดังนี้
1. การให้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำที่สุด แต่เป็นระดับที่สำคัญที่สุด
2. การรับฟังความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข้อเท็จจริงและความคิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐ
3. การเกี่ยวข้อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอแนะทางที่นำไปสู่การตัดสินใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่าข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของประชาชนจะถูกนำไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ
4. ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชนผู้แทนภาคสาธารณะมีส่วนร่วม โดยเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ
5. การเสริมอำนาจแก่ประชาชน เป็นขั้นที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด โดยให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ
การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมที่เปิดโอกาสให้ประชาชนและเครือข่ายภาคประชาสังคมทุกภาคส่วนเข้ามาเป็นหุ้นส่วน จะประสบความสำเร็จหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับหน่วยงานราชการต่าง ๆ จะสนับสนุนให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนมากน้อยเพียงใด รวมทั้งต้องอาศัยกระบวนการความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในสังคมที่เป็นพันธมิตรของภาคราชการ ซึ่งถึงเวลาแล้วที่ภาคราชการจะต้องร่วมมือกันเปิดระบบราชการให้ประชาชนมีส่วนร่วม เพื่อทำให้เกิดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เกิดการแบ่งสรรทรัพยากรอย่างยุติธรรม และลดความขัดแย้งในสังคม
2. ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5G มีอะไรบ้าง
ตอบ ลักษณะของยุค 4.0 ประกอบด้วย
1.ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใสเอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2.ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชนและสร้างคุณค่า
3.แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4.ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการมีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และ การตัดสินใจ ในการทำงาน
5.ปรับรูปแบบการทางานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6.ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสียงทั้งใน ระดับองค์การ และในระดับปฏิบัติการ
7.เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8.ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมความคิดริเริ่มและการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการทำงานที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
9.บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเองสู่องค์การที่มีความทันสมัยและมุ่งเน้นผลงานที่ดี
10. ให้ความสำคัญกับบุคลากรดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูงพัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความ ผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
ลักษณะของยุค 5G ประกอบด้วย
1. การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน
2. การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย
3. การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม
4. ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงของการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่างๆจากอดีตสู่ปัจจุบัน
Unknown said…
นางสาวหนึ่งธิดา ถาพรงาม
รหัสนักศึกษา 64423471326

5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน มีนักวิชาการได้ให้ความหมายการมีส่วนร่วมไว้ ดังนี้ สรุปความหมายของการมีส่วนร่วมวาการมีส่วนร่วมคือ การที่ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดที่ไม่เคยได้เข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ หรือเข้าร่วมการตัดสินใจหรือเคยเข้าร่วมด้วย เล็กน้อยได้เข้าร่วมมากขึ้น เป็นไปอย่างมีอิสรภาพเสมอภาค มิใช่มีส่วนร่วมอย่างผิวเผิน แต่เข้าร่วม อยางแท้จริงยิ่งขึ้น และการเข้าร่วมนั้นต้องเริ่มตั้งแต่ขั้นแรกจนถึงขั้นสุดท้ายของโครงการ ยุพา รูปงาม การมีส่วนร่วม (Participation) คือ เป็นผลมาจากการเห็นพ้องกนในเรื่องของความต้องการ และทิศทางการเปลี่ยนแปลงและความเห็นพร้องกนจะต้องมีมากจนเกิดความริเริ่ม โครงการเพื่อ การปฏิบัติ เหตุผลแรกของการที่มีคนมารวมกันได้ควรจะต้องมีการตระหนักว่า ปฏิบัติการทั้งหมดหรือการกระทําทั้งหมด ที่ทําโดยกลุ่มหรือในนามกลุ่มนั้น กระทําผ่านองค์การ (Organization) ดังนั้น องค์การเป็นเสมือนตัวนําให้บรรลุถึงความเปลี่ยนแปลงได้ ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมใน 2 ลักษณะ กล่าวคือ การมีส่วนร่วมในลักษณะที่เป็นกระบวนการของการพัฒนาโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในกระบวนการพัฒนาตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ เช่น การร่วมกนค้นหาปัญหา การวางแผน

1) การมีส่วนร่วม หมายถึง การกระทาในการสนับสนุนหรือการกระทาในการ เรียกร้องกับผู้นาของรัฐบาลในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยและเผด็จการก็ได้ เช่น การ ออกเสียงประชามติ
2) การมีส่วนร่วม หมายถึง ความพยายามที่สำเร็จในการสร้างผลกระทบต่อการ ดาเนินการของรัฐบาลหรือ การเลือกผู้นารัฐบาล
3) การมีส่วนร่วม หมายถึง การกระทาหรือกิจกรรมทางการเมืองที่กาหนดไว้ในตัว บทกฎหมาย เช่น การออกเสียงเลือกตั้ง การยื่นข้อเรียกร้อง การวิ่งเต้นในเรื่องต่าง ๆ ที่เป็นไปตาม กฎหมาย ซึ่งการกระทาเหล่านี้จะต้องไม่ขัดกฎหมาย
4) การมีส่วนร่วมหมายถึงการใช้สิทธิเลือกตัวแทนเข้าไปใช้อานาจแทนตัวเองใน ระบอบ ประชาธิปไตยแบบมีตัวแทน
5) การมีส่วนร่วม หมายถึง ความรู้สึกแปลกแยกหรือแปลกปลอม หรือตีตนออก จากระบบการเมืองเนื่องจากการถูกกีดกันไม่ให้เขาได้มีโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วม
6) การมีส่วนร่วม หมายถึงการกระทาที่ตื่นตัวทางการเมือง ซึ่งการกระทายัง หมายรวมไปถึงการพูดคุยถกเถียงปัญหาทางการเมืองหรือพวกที่สนใจข่าวสารทางการเมืองใน สื่อสารมวลชน ไม่จาเป็นจะต้องอยู่ในรูปของการใช้สิทธิเลือกตั้งเสมอไป
7) การมีส่วนร่วมทางการเมืองนั้นเป็นกิจกรรมทางการเมืองทุกชนิดทั้งแบบที่ใช้ ความรุนแรงและไม่ใช้ความรุนแรง
ชนิดที่เป็นการเมือง
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0
ตอบ ระบบราชการ 4.0 ตามนโยบายของ รัฐบาลโดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ คือ
1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และการตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
ลักษณะสำคัญในยุค 5 G
1. การส่งผ่านของข้อมูลข่าวสารไปยังประชาชนได้รวดเร็ว
2. มีการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะ
3. มีความรวดเร็วในการบริหารสาธารณะ
4. จำนวนการให้บริการมีปริมาณมากขึ้น
5. การตอบสนองต่อภาคประชาชนได้อย่างรวดเร็วขึ้น
6. มีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหาของประชานคลอบคลุมมากขึ้น
7. สามารถลดความเหลื่อมล้ำได้ในระดับหนึ่ง
8. สามารถสร้างจิตำนึกเพื่อร่วมพัฒนาสังคมระหว่างองค์กรภาครัฐกับภาคประชาชนได้มากขึ้น

Unknown said…
ส.ท.กิตติภูมิ แก้วเจริญ ทบ.รุ่นที่ 50 64423471325
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ตอบ ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 คือ การทำงานเพื่อก้าวสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 ด้วยการจัดระบบระเบียบการให้บริการ ประชาชนให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยปรับเปลี่ยนและปฏิรูปการทำงานให้สอดรับกับนโยบาย และ วิสัยทัศน์ดังกล่าว เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐมีการพัฒนาองค์การไปสู่ “ระบบราชการ 4.0” ตามนโยบายของ รัฐบาลโดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ คือ
1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และการตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร

ลักษณะสำคัญในยุค 5 G คือ คือ ระบบที่มีการติดต่อเชื่อมโยงเอกสารระหว่างหน่วยงานของรัฐทั้งหมด โดยมีการติดต่อกับทางรัฐเพียงหน่วยงานเดียวเท่านั้น จากนั้นข้อมูลจะทำการเชื่อมต่อ และมีระบบฐานข้อมูลของภาครัฐอันเดียวกัน เช่น ระบบบัตรประชาชน E-Sim เสียบบัตรเข้าเครื่องสแกนก็สามารถดึงข้อมูลทั้งระบบได้ องค์กรภาครัฐจึงควรเห็นมิติทางโอกาสที่จะสามารถใช้ศักยภาพทั้งหมดเพื่อการเรียนรู้และปรับ ใช้จากประโยชน์จากระบบ 5G ด้วย คือ
1) การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน (Studious) ซึ่งเป็นความพยายามที่จะ ปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น
2) การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย (Underlie) ในยุค 5G องค์กร ภาครัฐจำ
เป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้น
3) การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate) โดยการเร่งพัฒนาและปรับกระบวนงานระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมของประชาชนที่กำลังจะเปลี่ยนไป ทั้งด้านบริการภาครัฐ ต้องมีความสะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน
4) ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง การเกิดปัญหาของประชาชนที่ซับซ้อนตามไปด้วย ทำให้องค์กรภาครัฐที่มี่หน้าที่ในการดูแล แก้ไขปัญหาประชาชนจำต้องเท่าเทียมและเตรียมความพร้อมในการพัฒนาระบบการให้บริการโดยนำเทคโนโลยีมาใช้ สนับสนุนเพื่อให้บริการประชาชน โดยมีเป้าหมายสำคัญ คือ การยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่างสะดวกรวดเร็ว โปร่งใส
5) การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน
Module 3 ส.ท.เอกณัฐ บุญน่วม รหัสนักศึกษา 64423471302
1.จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบปัญหาและอุปสรรคของการมีส่วนร่วมคือ ขาดความรู้ความเข้าใจของประชาชน ขาดการวิเคราะห์กลั่นกรองปัญหาก่อนการประชาคม ผู้นำ ทั้งการเมืองและการปกครองไม่มีเป้าหมายและการวางแผนดําเนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ผู้นำควรยึดหลักธรรมาภิบาล ในการดำเนินงาน ไม่ก้าวก่ายบทบาทหน้าที่ซึ่งกันและกัน มีการปรับทัศนคติ ประสานงาน แจ้งข่าวสาร รายงานผลการพิจารณาแบบแผนให้เป็นที่ทราบทั่วกันทั้งผู้นำชุมชนและประชาชน สร้างความร่วมแรงร่วมใจในการเข้าร่วมประชุม
2.ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0กับลักษณะสำคัญในยุค5G มีอะไรบ้าง
ตอบ ยุค4.0 ประกอบด้วย
1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทางานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4)ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการมีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และ การตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทางานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่องทั้งใน ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมความคิดริเริ่มและการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
ยุค5G ได้แก่ 1. การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน
2. การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย
3. การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม
4. ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง
ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงของการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่างๆจากอดีตสู่ปัจจุบัน หากมีกรณีตัวอย่างการบริหารการพัฒนาของรัฐในโครงการพัฒนาประกอบความคิดเห็นจะเป็นประโยชน์มาก
ตอบ การที่เราจะสามารถเข้าใจพฤติกรรมการบริหารในสภาพแวดล้อมต่างๆนั้นจำเป็นต้องมีการศึกษาเปรียบเทียบ พฤติกรรมนั้นในสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม สัญลักษณ์การสื่อข้อความและการเมืองทั้งที่แตกต่างกัน
องค์ประกอบต่างๆของการพัฒนาการบริหารได้แก่การพิจารณาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบขององค์กรซึ่งคลองคลุมถึงโครงสร้าง กระบวนการและพฤติกรรม โดยมีสาระสำคัญดังนี้โครงสร้างจะมีผลกระทบค่อนข้างมากต่อพฤติกรรมการทำงานของคนในองค์กรคือเป็นทั้งสาเหตุและผลลัพธ์ของความไม่มีประสิทธิภาพของการบริหาร ซึ่งการที่แต่ละองค์การมีโครงสร้างที่แตกต่างกัน ทำให้พฤติกรรมของคนในองค์กร ตลอดจนสัมฤทธิ์ผลแตกต่างกันด้วย โดยรูปแบบทั่วไปองค์การส่วนใหญ่จะจัดรูปแบบการบริหารแบบพีระมิด คือผู้ที่อยู่บนสุดมีจำนวนน้อยแต่จะมีอำนาจในการตัดสินใจมากที่สุด ประเภทของสภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1.สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาจากภายนอกประเทศอันได้แก่ประชากร เทคโนโลยีและชีวภาพสิ่งประดิษฐ์คิดค้นด้านสังคมและอุดมการณ์เป็นต้น
2.สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาภายในประเทศอันได้แก่สภาพแวดล้อมทาง การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ
3.สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาภายในองค์การซงึ่รวมถึงปฏิกิริยาโต้ตอบหรือ ความขัดแย้งระหว่าองค์การและบุคคลความขัดแย้งระหว่างความคาดหลังขององค์การและความต้องการของบุคคล
Module 3
ส.อ.กฤษฎิ์ ใจบุญ รหัสนักศึกษา 64423471324
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ ปัญหาและอุปสรรคของการมีส่วนร่วมคือ ขาดความรู้ความเข้าใจของประชาชน ขาดการวิเคราะห์กลั่นกรองปัญหา
ก่อนการประชาคม ผู้นำ ทั้งการเมืองและการปกครองไม่มีเป้าหมายและการวางแผนการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ผู้นำควรยึดหลักธรรมาภิบาล ในการดำเนินงาน ไม่ก้าวก่ายบทบาทหน้าที่ซึ่งกันและกัน มีการปรับ ทัศนคติ ประสานงาน แจ้งข่าวสาร รายงานผลการพิจารณาแบบแผนให้เป็นที่ทราบทั่วกันทั้งผู้นุำชุมชนและประชาชน สร้างความร่วมแรงร่วมใจในการเข้าร่วมประชุม
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5G มีอะไรบ้าง
ตอบ ยุค 4.0 ประกอบด้วย
1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใสเอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชนและสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการมีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และ การตัดสินใจ ในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทางานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสียงทั้งใน ระดับองค์การ และในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมความคิดริเริ่มและการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการทำงานที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเองสู่องค์การที่มีความทันสมัยและมุ่งเน้นผลงานที่ดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากรดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูงพัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความ ผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
ลักษณะสำคัญยุค5G ได้แก่
1. การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน
2. การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย
3. การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม
4. ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงของการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่างๆจากอดีตสู่ปัจจุบัน
ส.ท.ทศพล นาคน้อย 64423471282 said…
Module3.


5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน

การมีส่วนร่วมของประชาชนถือเป็นรากฐานสำคัญของหลักการปกครอง แบบประชาธิปไตย เช่นเดียวกับการปกครองในระดับท้องถิ่น การมีส่วนร่วมของ ประชาชนก็มีความสำคัญอย่างมากเช่นกัน เพราะเป็นสถาบันที่ฝึกหัดให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมทางการเมืองทำให้ประชาชนมีความรู้สึกเป็นเจ้าของ ท้องถิ่นอันเป็นที่อยู่ของตนเองเกิดความหวงแหนและความรับผิดชอบต่อชุมชนท้องถิ่นเป็นผลให้ ประชาชนมี ความรู้สึกที่ดีต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตย การบริหารราชการไทยเป็นการนำ แนวความคิด เกี่ยวกับการปรับระบบราชการให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทาง สังคมและการเมือง โดยเฉพาะการแสดงเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 มาแปลงให้เป็นรูปแบบกฎหมายเพื่อให้เกิดผล ใช้บังคับเป็นการถาวรโดยกำหนดให้การปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการต้องให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งหลักการนี้ได้ ปรากฏในมาตรา 3/1 วรรค 3 ว่าในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการต้องใช้วิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของ ผู้ปฏิบัติงานการมีส่วนร่วมของ ประชาชนการเปิดเผยข้อมูลการติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสม ของแต่ละภารกิจซึ่งเป็นการกำหนดเจตนารมณ์ของการมุ่งพัฒนาระบบราชการเพื่อประโยชน์สุขของ ประชาชน และมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ 7 ที่สามารถวัดผลได้ รวมทั้ง เป็นการกำหนดให้การปฏิบตั หน้าที่ของ ส่วนราชการต้องให้ประชาชนเข้ามา มีส่วนร่วมซึ่งเป็นมาตรการสำคัญ ที่ส่งผลให้ส่วนราชการต่าง ๆ มีความ ตื่นตัวที่จะดำเนินการด้านนี้มากขึ้นปัญหาของการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนเกิดขึ้นในหลาย ส่วนสรุปได้ดังนี้

1. ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนชั้นกลางขึ้นไปมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การเมืองดีแต่ก็ปฏิเสธที่จะ เข้าร่วมทางการเมืองในรูปแบบที่เป็นทางการหรือการใช้ สิทธิ์เลือกตั้งเพราะขาดความเชื่อมั่นและศรัทธาต่อ พฤติกรรมของนักการเมืองและพรรคการเมืองที่สังกัดอยู่นอกจากนี้วิถีชีวิตในโลกเศรษฐกิจแบบทุนนิยมทำ ให้คนกลุ่มนี้มีความเร่งรีบในการดำรงชีวิตแสวงหาความมั่งคั่ง ความก้าวหน้า ในหน้าที่การงานและชีวิต ส่วนตัวโดยคานึงถึงประโยชน์ส่วนตนมากกว่าขาดจิตที่เป็นสาธารณะจนทำให้ไม่สนใจการมีส่วนร่วม ทางการเมือง

2.ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนระดับล่างในสังคมที่มีฐานะยากจนขาดการศึกษาขาดโอกาสในการ ประกอบอาชีพ ทำให้ประชาชนมองไม่เห็นและไม่เข้าใจว่า การมีส่วนร่วมทางการเมืองจะมีความสำคัญ การ หาเลี้ยงชีพตนเองอย่างไรจึงปฏิเสธการมีส่วนร่วมทางการเมืองเมื่อขาดปัจจัยจูงใจ

3. การมีส่วนร่วมทางการเมืองในเชิงสัญลักษณ์โดยปราศจากความตระหนักและความเข้า ใจใน คุณค่าของการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแท้จริงหรือเป็นการมีส่วนร่วมทางการเมืองเพราะมีปัจจัยแทรก ซ้อนอื่นๆเช่น การไปใชสิทธิ์ในการเลือกตั้ง สูงมากแต่ในความเป็นจริงมีการซื้อสิทธิ์ขายเสียงกันอย่างมาก พฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองเช่นนี้ ก่อให้เกิดปัญหาและอุปสรรคขัดขวางการพัฒนาการเมือง รวมถึงการปฏิเสธการเมืองอีกด้วย


4. การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่มีระบบและมีส่วนร่วมทางการเมือง อย่างไม่เป็นทางการมาก เกินไป ที่ผ่านมาจะเห็นว่าเกิดการประท้วงกดดันรัฐบาล เพื่อให้ออกมาแก้ปัญหาต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งการ มีส่วนร่วมทางการเมืองลักษณะนี้บางครั้งจะส่งผลกระทบรุนแรงต่อระบบเศรษฐกิจและความมั่นคงของ ประเทศได้

5. ปัญหาจากบทบาทของพรรคการเมือง การที่ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองน้อยนั้น มีสาเหตุ ประการหนึ่งคือการขาดองค์กรหรือสถาบันทางการเมืองที่คอยกระตุ้นให้ประชาชนมีความกระตือรือร้น ทางการเมืองอยู่เสมอ สถาบันทางการเมืองที่สำคัญ คือ“พรรคการเมือง”ในปัจจุบัน พรรคการเมืองยัง เป็น องค์กรที่อ่อนแอมากและยังขาดความเป็นสถาบันที่ต่อเนื่อง ปัญหาที่สำคัญ ที่สุดของพรรคการเมืองไทยคือ เป็นองค์กรที่ซับซ้อนและต้องเผชิญกับความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว พรรคการ เมืองไทยตั้งขึ้นจาก การรวมตัวของสมาชิกเพื่อสนับสนุนผู้นำทางการเมืองคนใดคนหนึ่งเท่านั้น พรรคการเมืองทุกพรรคไม่ว่า เล็กหรือใหญ่มีสาขาพรรคน้อยสาขาพรรคบางแห่งมีแต่รูปแบบเท่านั้น ไม่มีบทบาทอะไร
Anonymous ส.ท.ทศพล นาคน้อย 64423471282 said... said…
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง

ลักษณะของระบบราชการยุค4.0ตามนโยบายของรัฐบาลโดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10ประการ ประกอบด้วย

1) ทำงานอย่างเปิดเผยโปร่งใสเอื้อให้บุคคลภายนอกและประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้

2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า

3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันและกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว 4)ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ในการบริหารจัดการมีฐานข้อมูลที่ทันสมัยเพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และ การตัดสินใจในการทำงาน

5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัวรองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย

6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้ง ใน ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ

7) เปิ ดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้

8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมความคิดริเริ่มและการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการทำงานที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง

9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเองสู่องค์การที่มีความทันสมัยและมุ่งเน้นผลงานที่ดี

10) ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูงพัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้าง ความผูกพัน สร้างแรงจูงใจมีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร

ลักษณะสำคัญในยุค5G

1. การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน (Studious) ซึ่งเป็นความพยายามที่จะ ปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น รวมถึงการควบคุมตรวจตราให้งาน


เป็นไปตามแผนที่วางไว้อย่างถูกต้องชัดเจน มีละเอียดถี่ถ้วนในการปฏิบัติตามขั้น ตอนการปฏิบัติงาน กฎ ระเบียบที่วางไว้อัน เป็นการแสดงอุปนิสัยรักความเป็นระเบียบเรียบร้อยทั้งในงานและในสภาวะแวดล้อม รอบตัว อาทิ จัดระเบียบโต๊ะทำงานและบริเวณหน่วยงานที่ตนปฏิบัติหน้าที่อยู่ริเริ่มหรือร่วมดำเนินกิจกรรม เพื่อความเป็นระเบียบของสถานที่ทำงาน อาทิ กิจกรรม 5 ส. ด้วยความสมัครใจ กระตือรือร้น ฯลฯ สามารถ ลดข้อ ผิดพลาดที่เคยเกิดขึ้นแล้วจากความ ไม่ตั้งใจแม้ว่าคุณลัษณะการปฏิบัติงานจะ อยู่ในยุค 5G มีความ รวดเร็วมากก็ตามแต่ด้วยบริบทการปฏิบัติงานขององค์ภาครัฐพึงระวังเรื่องความผิดพลาดที่ เกิดขึ้นได้ง่าย เช่นกันดังนั้นการปฏิบัติงานด้วยความรอบครอบจึงเป็นการลดผลกระทบและสร้างประโยชน์สูงสุดให้ เกิดขึ้นต่อประชาชนไม่ให้ได้รับความเดือดที่เกิดความผิดพลาดนั้นๆ ด้วยการเฝ้าระวัง และสังเกตุการณ์ ทั่วไปให้ละเอียดมากที่สุดที่สำคัญจะเป็นสมรรถนะหลักของข้าราชการในองค์กรภาครัฐด้วย

2. การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย (Underlie) ในยุค 5G องค์กรภาครัฐจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้นมีการนำเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงาน เน้นการให้บริการที่ใช้ผู้เชี่ยวชาญในการวางแผนและควบคุมระบบเทคโนโลยี ปรับเปลี่ยนระบบโครงสร้างของ องค์การในด้านระบบการติดต่อสื่อสาร วัฒนธรรมองค์การภายในที่มุ่งเน้น ผลสัมฤทธิ์ และการปรับกระบวนการ บริหารให้เป็นลักษณะการบริหาร แบบยืดหยุ่นโดยมีฐานคิดหลักสำคัญคือเปลี่ยนจากการผลิตสินค้า“โภคภณัฑ์”ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม” เปลี่ยนจากภาคอุตสาหกรรม ไปสู่เทคโนโลยี ความคิด สร้างสรรค์ และนวัตกรรม และเปลี่ยน จากการเน้น ภาคการผลิตสินค้าไปสู่การเน้นภาคบริการมากขึ้น เช่น การทำเกษตรแบบดั้งเดิมในปัจจุบันไปสู่ การเกษตรสมัยใหม่ที่เน้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยี(SmartFarming)โดยเกษตรกรต้องร่ำรวยขึ้นมีลักษณะเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneur) เปลี่ยนจาก Traditional SMEs หรือ SMEs ที่เป็นอยู่เดิม และรัฐต้องให้ความช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลาไปสู่การเป็นSmartEnterprisesและStartupบริษัทเกิดใหม่ที่มี

ส.ท.ทศพล นาคน้อย 64423471282 said…
Anonymous Anonymous ส.ท.ทศพล นาคน้อย 5.2(ต่อ) ศักยภาพสูงเปลี่ยนจาก Traditional Services ซึ่งการสร้างมูลค่าค่อนข้างต่ำไปสู่ High Value Services และ เปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่ำไปสู่แรงงานที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญและทักษะสูงดังนั้นการเข้าถึงการใช้ เทคโนโลยีสมยั ใหม่ รวมทั้งวิธีการส่งเสริมการจัดการสมัยใหม่ที่มีความผสมผสานกับกิจกรรมทางสังคม เดิมจึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะนำไปสู่นวัตกรรมทางการบริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง

3. การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate) โดยการเร่งพัฒนาและปรับ กระบวนงานระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมของประชาชนที่ กำลังจะเปลี่ยนไปทั้งด้านบริการภาครัฐต้องมีความสะดวกรวดเร็วและตอบโจทย์ชีวิตประชาชนข้อมูล ภาครัฐมีมาตรฐานทันสมัยและเชื่อมโยงกันก้าวสู่รัฐบาลดิจิทัลโครงสร้างองค์กรภาครัฐต้องกะทัดรัด สามารถปรับตัว ได้เร็วและระบบงานมีผลสัมฤทธิ์สูง ส่วนกำลังคนภาครัฐมีขนาดที่เหมาะสมและมี สมรรถนะสูงพร้อมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ อีกทั้งระบบบริหารงานบุคคลที่สามารถดึงดูดสร้าง และรักษาคนดีคนเก่งไว้ในภาครัฐ และการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ คล่องตัวโปร่งใสและมีกลไกป้องกันการทุจริตทุก ขั้นตอนเพราะการเร่งรัดการพัฒนาองค์กรภาครัฐอาจจะความหวังของประชาชนที่เข้าไปสู่กิจกรรมการบริการได้หลากหลายช่องทางมากขึ้นและช่วยลดกำลังคนไปได้มากที่เกิดการปฏิรูประบบราชการในหลาย ยุคที่ผ่านไปสู่ยุคไทย แลนด์4.0และเข้าในยุคการบริการในยุค5Gต่อไป

4.ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง(Expeditious)เพราะบริบทการเปลี่ยนแปลงมีความรวดเร็วอย่างมากไม่ว่าจะเป็นด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อการเกิดปัญหาของประชาชนที่ซับซ้อนตามไปด้วยทำให้องค์กรภาครัฐที่มีหน้าที่ในการดูแลแก้ไขปัญหาประชาชนจำต้องเท่าเทียมและเตรียมความพร้อมในการพัฒระบบการให้บริการโดยนำเทคโนโลยีมาใช้สนับสนุนเพื่อให้บริการประชาชนโดยมีเป้าหมายสำคัญคือการยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางตอบสนองความต้องการและให้บริการอย่างสะดวกรวดเร็วโปร่งใสโดยภาครัฐต้อง ทำงานร่วมมือและประสานพลังในการปฏิบัติหน้าที่มีระบบการบริหารจัดการที่ทันสมัยมีประสิทธิภาพมีความโปร่งใสในการบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สร้างประโยชน์สุขแก่ประชาชนมีความพร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา เพราะฉะนั้นองค์กรภาครัฐมีโจทย์ความท้าทายอย่างมากที่จะกระตุ้นระบบการพัฒนาไปสู่กิจกรรมการให้บริการและตอบโจทย์การแก้ไขปัญหาของประชาชนได้มากขึ้นจึงไม่ควรนิ่งนอนใจในการรอสถานการณ์การเปลี่ยนภายใต้ฐานบริบทใหมที่จะช่วยให้เกิดความมั่นใจต่อการเข้าถึงวิถีทางการแก้ไขสลับซับซ้อนจึงต้องรวดเร็วของการทำงานใหม่ปรับเปลี่ยนวิธีการใหม่ที่สามารถเพิ่มระดับความพึ่งใจให้กับประชาชนได้มากก็ด้วย มีความรวดเร็ว และครอบคลุมพื้นที่ให้ที่สุด

5.การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน(Responsible) ซึ่งมีลักษณะการยอมรับทั้งผลที่ไม่ดีและผลที่ดีในกิจการที่ไดทำลงไปหรือที่อยู่ในความดูแลของกิจการนั้นๆซึ่งความรับผิดชอบดังกล่าวอาจดูได้จากการองค์กรภาครัฐใดที่มีProductivityสูงๆและมีความรับผิดชอบใน การทำงานได้ อย่างดีไม่ถูกดึงดูดออกไปจากงานได้ง่ายๆ ก็จะเป็นองค์กรที่ประสบความสำเร็จได้สูงกว่า และองค์กรอื่นๆนอกจากนี้องคกรระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐาน(International Organization for Standardization : ISO) ได้วางแนวทางในการแสดงความรับผิดชอบตอสังคมขององคกรเพื่อส่งเสริมให้ องค์กรสามารถพัฒนาตนเองไปสู่การเป็นองค์กรที่มีความรับผิดชอบตอสังคมระบุทั้งสิ้น7ประการได้แก่

1) การกำกับดูแลองค์การ

2) สิทธิมนุษยชน

3)การปฏิบัติด้านแรงงาน

4) สิ่งแวดลอม

5) การดำเนินงานอย่างเป็นธรรม

6)ประเด็นด้านผู้บริโภคและ

7)การมีสวนร่วมและการพัฒนาชุมชนโดยเฉพาะที่จะเป็นมิติร่วมสมัยที่มีความต้องการของประชาชนในระดับที่สูงมากเพราะเป็นกระบวนการที่รัฐส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบและประเมินผลต่อการทางานขององค์กรภาครัฐว่ามีความถูกต้องโปร่งใสดูแลภาษีของประชาชนดีหรือไม่อย่างไรดังนั้นใน5Gที่มีรวดเร็วไปด้วยการรับรู้ข้อมูลต่างๆจะทำให้องคก์ร ไม่สามารถปกปิดข้อมูลใดได้อีกดังเช่นอดีตที่ผ่านมาจึงต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามาร่วมกันทำงานด้านการพัฒนาชุมชนของตนเองและก่อให้ความรับผิดชอบร่วมกันในฐานะรัฐกับประชาชน
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ตอบ ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 คือ การทำงานเพื่อก้าวสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 ด้วยการจัดระบบระเบียบการให้บริการ ประชาชนให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยปรับเปลี่ยนและปฏิรูปการทำงานให้สอดรับกับนโยบาย และ วิสัยทัศน์ดังกล่าว เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐมีการพัฒนาองค์การไปสู่ “ระบบราชการ 4.0” ตามนโยบายของ รัฐบาลโดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ คือ
1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และการตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร

ลักษณะสำคัญในยุค 5 G คือ คือ ระบบที่มีการติดต่อเชื่อมโยงเอกสารระหว่างหน่วยงานของรัฐทั้งหมด โดยมีการติดต่อกับทางรัฐเพียงหน่วยงานเดียวเท่านั้น จากนั้นข้อมูลจะทำการเชื่อมต่อ และมีระบบฐานข้อมูลของภาครัฐอันเดียวกัน เช่น ระบบบัตรประชาชน E-Sim เสียบบัตรเข้าเครื่องสแกนก็สามารถดึงข้อมูลทั้งระบบได้ องค์กรภาครัฐจึงควรเห็นมิติทางโอกาสที่จะสามารถใช้ศักยภาพทั้งหมดเพื่อการเรียนรู้และปรับ ใช้จากประโยชน์จากระบบ 5G ด้วย คือ
1) การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน (Studious) ซึ่งเป็นความพยายามที่จะ ปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น
2) การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย (Underlie) ในยุค 5G องค์กร ภาครัฐจำ
เป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้น
3) การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate) โดยการเร่งพัฒนาและปรับกระบวนงานระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมของประชาชนที่กำลังจะเปลี่ยนไป ทั้งด้านบริการภาครัฐ ต้องมีความสะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน
4) ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง การเกิดปัญหาของประชาชนที่ซับซ้อนตามไปด้วย ทำให้องค์กรภาครัฐที่มี่หน้าที่ในการดูแล แก้ไขปัญหาประชาชนจำต้องเท่าเทียมและเตรียมความพร้อมในการพัฒนาระบบการให้บริการโดยนำเทคโนโลยีมาใช้ สนับสนุนเพื่อให้บริการประชาชน โดยมีเป้าหมายสำคัญ คือ การยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่างสะดวกรวดเร็ว โปร่งใส
5) การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน
Unknown said…
ส.ท.ยศพล จินดาวงค์
64423471281

5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ตอบ ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 คือ การทำงานเพื่อก้าวสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 ด้วยการจัดระบบระเบียบการให้บริการ ประชาชนให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยปรับเปลี่ยนและปฏิรูปการทำงานให้สอดรับกับนโยบาย และ วิสัยทัศน์ดังกล่าว เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐมีการพัฒนาองค์การไปสู่ “ระบบราชการ 4.0” ตามนโยบายของ รัฐบาลโดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ คือ
1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และการตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร

ลักษณะสำคัญในยุค 5 G คือ คือ ระบบที่มีการติดต่อเชื่อมโยงเอกสารระหว่างหน่วยงานของรัฐทั้งหมด โดยมีการติดต่อกับทางรัฐเพียงหน่วยงานเดียวเท่านั้น จากนั้นข้อมูลจะทำการเชื่อมต่อ และมีระบบฐานข้อมูลของภาครัฐอันเดียวกัน เช่น ระบบบัตรประชาชน E-Sim เสียบบัตรเข้าเครื่องสแกนก็สามารถดึงข้อมูลทั้งระบบได้ องค์กรภาครัฐจึงควรเห็นมิติทางโอกาสที่จะสามารถใช้ศักยภาพทั้งหมดเพื่อการเรียนรู้และปรับ ใช้จากประโยชน์จากระบบ 5G ด้วย คือ
1) การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน (Studious) ซึ่งเป็นความพยายามที่จะ ปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น
2) การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย (Underlie) ในยุค 5G องค์กร ภาครัฐจำ
เป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้น
3) การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate) โดยการเร่งพัฒนาและปรับกระบวนงานระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมของประชาชนที่กำลังจะเปลี่ยนไป ทั้งด้านบริการภาครัฐ ต้องมีความสะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน
4) ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง การเกิดปัญหาของประชาชนที่ซับซ้อนตามไปด้วย ทำให้องค์กรภาครัฐที่มี่หน้าที่ในการดูแล แก้ไขปัญหาประชาชนจำต้องเท่าเทียมและเตรียมความพร้อมในการพัฒนาระบบการให้บริการโดยนำเทคโนโลยีมาใช้ สนับสนุนเพื่อให้บริการประชาชน โดยมีเป้าหมายสำคัญ คือ การยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่างสะดวกรวดเร็ว โปร่งใส
5) การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน
ส.ท.วิศิษย์ศักดิ์ โอวาระโก รหัส 64423471297
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ระบบราชการ ๔.- ประเทศไทยมุ่งสู่ไทยแลนด์ ๔.๐ มีการกำหนดยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ภาครัฐต้องปรับตัวให้สามารถอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัลท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและไม่สามารถคาดเดาได้ จึงต้องมุ่งเน้นความคล่องตัวเพื่อขับเคลื่อนภารกิจพิเศษ (Agenda - Based) และนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาพลิกโฉมระบบราชการสู่ Government 4.0
1.การสานพลังระหว่างภาครั ฐและภาคส่วนอื่น ๆ ในสังคม (Cdlaboration)เป็นการยกระดับการทำงานจากการประสานงานกัน (Coordination) หรือทำงานด้วยกัน (Cooperation) ไปสู่ การร่วมมือกัน (Collaboration) เป็นการบริหารกิจการบ้านเมืองในรูปแบบ "ประชารัฐ"
2.การสร้างนวัตกรรม (Innovation) เป็นการคิดค้นและหาวิธีการ หรือศึกษาเรื่องใหม่ๆ เพื่อให้เกิดผลกระทบใหญ่ต่อการตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างมีคุณภาพ โดยให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อสร้างความเข้าใจ การเข้าถึงความรู้สึกนึกคิด
3.การปรับเข้าสู่ความเป็นดิจิทัล (Digitalization) เป็นการผสมผสานการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลผ่านระบบคลาวด์ อุปกรณ์สมาร์ทโฟน และเครื่องมือที่ใช้ในการทำงานร่วมกัน เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับการดำเนินการการให้บริการของราชการ สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ในทุกเวลา ทุกสถานที่ ทุกอุปกรณ์และทุกช่องทางได้อย่างมั่นคง ปลอดภัยและประหยัด
วิวัฒนาการบริการรัฐ ระบบบริการภาครัฐ 5.0(Government 5.0 - Fully Networking DigitalServices)
คือระบบที่มีการติดต่อเชื่อมโยงเอกสารระหว่างหน่วยงานของรัฐทั้งหมด โดยมีการติดต่อกับทางรัฐเพียงหน่วยงานเดียวเท่านั้น จากนั้นข้อมูลจะทำการเชื่อมต่อ และมีระบบฐานข้อมูลของภาครัฐอันเดียวกัน เช่น
-ระบบบัตรประชาชน E-Sim เสียบบัตรเข้าเครื่องสแกนก็สามารถดึงข้อมูลทั้งระบบได้
-ระบบจัดส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน หรือเรียกกันว่า "ระบบสารบรรณ
อิเล็กทรอนิกส์" ทั้งนี้ยังให้ประชาชนติดต่อผ่านทางดิจิทัโดยตรงกับหน่วยงานได้เหมือนเดิมระบบดึงข้อมูล และเข้าระบบโดยมีระดับความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ตามความจำเป็นของแต่ละระดับของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ
การพัฒนาประเทศให้ทันต่อโลกยุคดิจิทัล ที่จะทำให้การเข้าถึงข้อมูลนั้นทำได้โดยง่าย และการทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการของหน่วยงานของรัฐทำได้โดยง่ายนั้น จำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องมีระบบที่ปลอดภัย รวดเร็ว ทันสมัยซึ่งแน่นอนรัฐบาลก็ให้ความสำคัญและมีการพัฒนาระบบของภาครัฐอย่างต่อเนื่อง
ส.ท.วิศิษย์ศักดิ์ โอวาระโก รหัส 6442347129
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ระบบราชการ ๔.- ประเทศไทยมุ่งสู่ไทยแลนด์ ๔.๐ มีการกำหนดยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ภาครัฐต้องปรับตัวให้สามารถอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัลท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและไม่สามารถคาดเดาได้ จึงต้องมุ่งเน้นความคล่องตัวเพื่อขับเคลื่อนภารกิจพิเศษ (Agenda - Based) และนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาพลิกโฉมระบบราชการสู่ Government 4.0
1.การสานพลังระหว่างภาครั ฐและภาคส่วนอื่น ๆ ในสังคม (Cdlaboration)เป็นการยกระดับการทำงานจากการประสานงานกัน (Coordination) หรือทำงานด้วยกัน (Cooperation) ไปสู่ การร่วมมือกัน (Collaboration) เป็นการบริหารกิจการบ้านเมืองในรูปแบบ "ประชารัฐ"
2.การสร้างนวัตกรรม (Innovation) เป็นการคิดค้นและหาวิธีการ หรือศึกษาเรื่องใหม่ๆ เพื่อให้เกิดผลกระทบใหญ่ต่อการตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างมีคุณภาพ โดยให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อสร้างความเข้าใจ การเข้าถึงความรู้สึกนึกคิด
3.การปรับเข้าสู่ความเป็นดิจิทัล (Digitalization) เป็นการผสมผสานการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลผ่านระบบคลาวด์ อุปกรณ์สมาร์ทโฟน และเครื่องมือที่ใช้ในการทำงานร่วมกัน เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับการดำเนินการการให้บริการของราชการ สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ในทุกเวลา ทุกสถานที่ ทุกอุปกรณ์และทุกช่องทางได้อย่างมั่นคง ปลอดภัยและประหยัด
วิวัฒนาการบริการรัฐ ระบบบริการภาครัฐ 5.0(Government 5.0 - Fully Networking DigitalServices)
คือระบบที่มีการติดต่อเชื่อมโยงเอกสารระหว่างหน่วยงานของรัฐทั้งหมด โดยมีการติดต่อกับทางรัฐเพียงหน่วยงานเดียวเท่านั้น จากนั้นข้อมูลจะทำการเชื่อมต่อ และมีระบบฐานข้อมูลของภาครัฐอันเดียวกัน เช่น
-ระบบบัตรประชาชน E-Sim เสียบบัตรเข้าเครื่องสแกนก็สามารถดึงข้อมูลทั้งระบบได้
-ระบบจัดส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน หรือเรียกกันว่า "ระบบสารบรรณ
อิเล็กทรอนิกส์" ทั้งนี้ยังให้ประชาชนติดต่อผ่านทางดิจิทัโดยตรงกับหน่วยงานได้เหมือนเดิมระบบดึงข้อมูล และเข้าระบบโดยมีระดับความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ตามความจำเป็นของแต่ละระดับของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ
การพัฒนาประเทศให้ทันต่อโลกยุคดิจิทัล ที่จะทำให้การเข้าถึงข้อมูลนั้นทำได้โดยง่าย และการทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการของหน่วยงานของรัฐทำได้โดยง่ายนั้น จำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องมีระบบที่ปลอดภัย รวดเร็ว ทันสมัยซึ่งแน่นอนรัฐบาลก็ให้ความสำคัญและมีการพัฒนาระบบของภาครัฐอย่างต่อเนื่อง
พล.อส.อานนท์ งามจันอัด
รหัส 64423471340
M 3
5. นักศึกษาทำ Assignment

5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน

ตอบ การมีส่วนร่วมของประชาชน คือ การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดินโดยส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีบทบาทตั้งแต่ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ซึงจะนำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารราชการ สำหรับสังคมไทยรวมถึงระบบราชการและข้าราชการไทยเพื่อเป็นบรรทัดฐานใหม่ในการวางระบบการบริหารราชการไทยให้สนับสนุนกระบวนการทำงานของส่วนราชการที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้นเพราะหากระบบราชการมีการบริหารราชการ ที่ปิดโอกาสให้ประชาชนผู้ที่เกี่ยวช้องและภาคส่วนอื่นๆ

5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง

ตอบ ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 คือ
1. ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2. ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3. แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4. ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และการตัดสินใจในการทำงาน
5. ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6.ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7.เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8. ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง
9. บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10. ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร

ลักษณะสำคัญในยุค 5 G คือ
1. การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน (Studious) ซึ่งเป็นความพยายามที่จะ ปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น
2. การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย (Underlie) ในยุค 5G องค์กร ภาครัฐจำ
เป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้น
3. การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate) โดยการเร่งพัฒนาและปรับกระบวนงานระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมของประชาชนที่กำลังจะเปลี่ยนไป ทั้งด้านบริการภาครัฐ ต้องมีความสะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน
4. ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง การเกิดปัญหาของประชาชนที่ซับซ้อนตามไปด้วย ทำให้องค์กรภาครัฐที่มี่หน้าที่ในการดูแล แก้ไขปัญหาประชาชนจำต้องเท่าเทียมและเตรียมความพร้อมในการพัฒนาระบบการให้บริการโดยนำเทคโนโลยีมาใช้ สนับสนุนเพื่อให้บริการประชาชน โดยมีเป้าหมายสำคัญ คือ การยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่างสะดวกรวดเร็ว โปร่งใส
5. การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน
พล.อส.ธัชวิธ วิวาสุขุ
รหัสนักศึกษา 64423471319

5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ตอบ ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 คือ การทำงานเพื่อก้าวสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 ด้วยการจัดระบบระเบียบการให้บริการ ประชาชนให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยปรับเปลี่ยนและปฏิรูปการทำงานให้สอดรับกับนโยบาย และ วิสัยทัศน์ดังกล่าว เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐมีการพัฒนาองค์การไปสู่ “ระบบราชการ 4.0” ตามนโยบายของ รัฐบาลโดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ คือ
1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และการตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร

ลักษณะสำคัญในยุค 5 G คือ คือ ระบบที่มีการติดต่อเชื่อมโยงเอกสารระหว่างหน่วยงานของรัฐทั้งหมด โดยมีการติดต่อกับทางรัฐเพียงหน่วยงานเดียวเท่านั้น จากนั้นข้อมูลจะทำการเชื่อมต่อ และมีระบบฐานข้อมูลของภาครัฐอันเดียวกัน เช่น ระบบบัตรประชาชน E-Sim เสียบบัตรเข้าเครื่องสแกนก็สามารถดึงข้อมูลทั้งระบบได้ องค์กรภาครัฐจึงควรเห็นมิติทางโอกาสที่จะสามารถใช้ศักยภาพทั้งหมดเพื่อการเรียนรู้และปรับ ใช้จากประโยชน์จากระบบ 5G ด้วย คือ

1) การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน (Studious) ซึ่งเป็นความพยายามที่จะ ปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น

2) การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย (Underlie) ในยุค 5G องค์กร ภาครัฐจำ
เป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้น

3) การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate) โดยการเร่งพัฒนาและปรับกระบวนงานระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมของประชาชนที่กำลังจะเปลี่ยนไป ทั้งด้านบริการภาครัฐ ต้องมีความสะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน

4) ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง การเกิดปัญหาของประชาชนที่ซับซ้อนตามไปด้วย ทำให้องค์กรภาครัฐที่มี่หน้าที่ในการดูแล แก้ไขปัญหาประชาชนจำต้องเท่าเทียมและเตรียมความพร้อมในการพัฒนาระบบการให้บริการโดยนำเทคโนโลยีมาใช้ สนับสนุนเพื่อให้บริการประชาชน โดยมีเป้าหมายสำคัญ คือ การยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่างสะดวกรวดเร็ว โปร่งใส

5) การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน
ส.ท.วิศิษย์ศักดิ์ โอวาระโก รหัส 64423471297
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนมีการแบ่งระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนไว้ 2 ระดับคือ (สุนีย์ มัลลิกะมาลย์, 2545 : 56-57)
1 การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำ หมายถึงหน่วยงานรัฐเป็นฝ่ายริเริ่มคิดตัดสินใจให้มีโครงการหรือกิจกรรมขึ้นมาและเห็นว่าสมควรจะให้ประชาชนมีส่วนร่วมดำเนินการด้วยจึงให้แจ้งและมอบหมายให้ประชาชนเข้ามาดำเนินการ การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับนี้จึงมีลักษณะเป็นการสั่งการจากรัฐสู่ประชาชน (Top-Down Approach) ซึ่งจะเป็นการมีส่วนร่วมที่มิได้เกิดจากความต้องการโดยแท้จากประชาชน ประชาชนอาจไม่เห็นความสำคัญและความจำเป็นที่จะเข้าไปมีส่วนร่วม ดังนั้นจึงไม่เกิดความประสงค์จะร่วมดำเนินการใด ๆ ด้วย และบางครั้งจำเป็นต้องเข้ามีส่วนร่วมเนื่องจากเป็นการสั่งการหรือมอบหมายของเจ้าหน้าที่ที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ เพราะฉะนั้นเมื่อโครงการหรือกิจกรรมนั้น ๆ ได้ดำเนินการไปได้ระยะหนึ่งก็จะมีอันล้มเลิกไป การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับนี้ จึงเป็นการปฏิบัติการตามนโยบายของหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง จึงอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามแต่นโยบายที่อาจเปลี่ยนแปลงตามเจ้าหน้าที่รัฐที่เข้ามาดูแลประชาชนซึ่งไม่ได้เป็นเจ้าหน้าที่ที่ประจำการตลอดไป เพราะมีการสับเปลี่ยนโยกย้ายตามความเหมาะสม
2 การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับสูง หมายถึงประชาชนเป็นฝ่ายคิดริเริ่มตัดสินใจและดำเนินโครงการหรือกิจกรรมนั้น ๆ (Bottom-Up Approach) หลักการนี้จะเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีประสิทธิภาพสูง แต่มีปัญหาอีกเช่นกันนั่นคือการดำเนินการนั้นในบางครั้งจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือสนับสนุนจากรัฐ ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วอาจไม่เป็นเช่นนั้นเพราะโครงการหรือกิจกรรมนั้นอาจไม่ได้รับความเห็นชอบหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องอาจไม่เห็นด้วยเพราะถือว่าเป็นเรื่องของประชาชน เพราะฉะนั้นประชาชนก็ควรทำกันเองโครงการหรือกิจกรรมที่ไม่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐแล้วย่อมจะไม่สัมฤทธิผลเช่นกัน
หลักการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมกับภาคราชการนั้น International Association for Public Participation ได้แบ่งระดับของการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น 5 ระดับ ดังนี้
1. การให้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำที่สุด แต่เป็นระดับที่สำคัญที่สุด เพราะเป็นก้าวแรกของการที่ภาคราชการจะเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมในเรื่องต่าง ๆ วิธีการให้ข้อมูลสามารถใช้ช่องทางต่าง ๆ เช่น เอกสารสิ่งพิมพ์ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเสื่อต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายข่าว การจัดงานแถลงข่าว การติดประกาศ และการให้ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
2. การรับฟังความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข้อเท็จจริงและความคิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การรับฟังความคิดเห็น การสำรวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
3. การเกี่ยวข้อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอแนะทางที่นำไปสู่การตัดสินใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่าข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของประชาชนจะถูกนำไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ เช่น การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพิจารณาประเด็นนโยบายสาธารณะ ประชาพิจารณ์ การจัดตั้งคณะทำงานเพื่อเสนอแนะประเด็นนโยบาย เป็นต้น
4. ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชนผู้แทนภาคสาธารณะมีส่วนร่วม โดยเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ และมีการดำเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เช่น คณะกรรมการที่มีฝ่ายประชาชนร่วมเป็นกรรมการ เป็นต้น
5. การเสริมอำนาจแก่ประชาชน เป็นขั้นที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด โดยให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ เช่น การลงประชามติในประเด็นสาธารณะต่าง ๆ โครงการกองทุนหมู่บ้านที่มอบอำนาจให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจทั้งหมด เป็นต้น
จ.ส.อ. อัศม์เดช มาทอง
64423471318
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนมีการแบ่งระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนไว้ 2 ระดับคือ (สุนีย์ มัลลิกะมาลย์, 2545 : 56-57)
1 การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำ หมายถึงหน่วยงานรัฐเป็นฝ่ายริเริ่มคิดตัดสินใจให้มีโครงการหรือกิจกรรมขึ้นมาและเห็นว่าสมควรจะให้ประชาชนมีส่วนร่วมดำเนินการด้วยจึงให้แจ้งและมอบหมายให้ประชาชนเข้ามาดำเนินการ การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับนี้จึงมีลักษณะเป็นการสั่งการจากรัฐสู่ประชาชน (Top-Down Approach) ซึ่งจะเป็นการมีส่วนร่วมที่มิได้เกิดจากความต้องการโดยแท้จากประชาชน ประชาชนอาจไม่เห็นความสำคัญและความจำเป็นที่จะเข้าไปมีส่วนร่วม ดังนั้นจึงไม่เกิดความประสงค์จะร่วมดำเนินการใด ๆ ด้วย และบางครั้งจำเป็นต้องเข้ามีส่วนร่วมเนื่องจากเป็นการสั่งการหรือมอบหมายของเจ้าหน้าที่ที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ เพราะฉะนั้นเมื่อโครงการหรือกิจกรรมนั้น ๆ ได้ดำเนินการไปได้ระยะหนึ่งก็จะมีอันล้มเลิกไป การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับนี้ จึงเป็นการปฏิบัติการตามนโยบายของหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง จึงอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามแต่นโยบายที่อาจเปลี่ยนแปลงตามเจ้าหน้าที่รัฐที่เข้ามาดูแลประชาชนซึ่งไม่ได้เป็นเจ้าหน้าที่ที่ประจำการตลอดไป เพราะมีการสับเปลี่ยนโยกย้ายตามความเหมาะสม
2 การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับสูง หมายถึงประชาชนเป็นฝ่ายคิดริเริ่มตัดสินใจและดำเนินโครงการหรือกิจกรรมนั้น ๆ (Bottom-Up Approach) หลักการนี้จะเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีประสิทธิภาพสูง แต่มีปัญหาอีกเช่นกันนั่นคือการดำเนินการนั้นในบางครั้งจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือสนับสนุนจากรัฐ ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วอาจไม่เป็นเช่นนั้นเพราะโครงการหรือกิจกรรมนั้นอาจไม่ได้รับความเห็นชอบหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องอาจไม่เห็นด้วยเพราะถือว่าเป็นเรื่องของประชาชน เพราะฉะนั้นประชาชนก็ควรทำกันเองโครงการหรือกิจกรรมที่ไม่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐแล้วย่อมจะไม่สัมฤทธิผลเช่นกัน
หลักการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมกับภาคราชการนั้น International Association for Public Participation ได้แบ่งระดับของการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น 5 ระดับ ดังนี้
1. การให้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำที่สุด แต่เป็นระดับที่สำคัญที่สุด เพราะเป็นก้าวแรกของการที่ภาคราชการจะเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมในเรื่องต่าง ๆ วิธีการให้ข้อมูลสามารถใช้ช่องทางต่าง ๆ เช่น เอกสารสิ่งพิมพ์ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเสื่อต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายข่าว การจัดงานแถลงข่าว การติดประกาศ และการให้ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
2. การรับฟังความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข้อเท็จจริงและความคิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การรับฟังความคิดเห็น การสำรวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
3. การเกี่ยวข้อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอแนะทางที่นำไปสู่การตัดสินใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่าข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของประชาชนจะถูกนำไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ เช่น การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพิจารณาประเด็นนโยบายสาธารณะ ประชาพิจารณ์ การจัดตั้งคณะทำงานเพื่อเสนอแนะประเด็นนโยบาย เป็นต้น
4. ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชนผู้แทนภาคสาธารณะมีส่วนร่วม โดยเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ และมีการดำเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เช่น คณะกรรมการที่มีฝ่ายประชาชนร่วมเป็นกรรมการ เป็นต้น
5. การเสริมอำนาจแก่ประชาชน เป็นขั้นที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด โดยให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ เช่น การลงประชามติในประเด็นสาธารณะต่าง ๆ โครงการกองทุนหมู่บ้านที่มอบอำนาจให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจทั้งหมด เป็นต้น
จ.ส.อ. อัศม์เดช มาทอง
64423471318
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ระบบราชการ ๔.- ประเทศไทยมุ่งสู่ไทยแลนด์ ๔.๐ มีการกำหนดยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ภาครัฐต้องปรับตัวให้สามารถอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัลท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและไม่สามารถคาดเดาได้ จึงต้องมุ่งเน้นความคล่องตัวเพื่อขับเคลื่อนภารกิจพิเศษ (Agenda - Based) และนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาพลิกโฉมระบบราชการสู่ Government 4.0
1.การสานพลังระหว่างภาครั ฐและภาคส่วนอื่น ๆ ในสังคม (Cdlaboration)เป็นการยกระดับการทำงานจากการประสานงานกัน (Coordination) หรือทำงานด้วยกัน (Cooperation) ไปสู่ การร่วมมือกัน (Collaboration) เป็นการบริหารกิจการบ้านเมืองในรูปแบบ "ประชารัฐ"
2.การสร้างนวัตกรรม (Innovation) เป็นการคิดค้นและหาวิธีการ หรือศึกษาเรื่องใหม่ๆ เพื่อให้เกิดผลกระทบใหญ่ต่อการตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างมีคุณภาพ โดยให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อสร้างความเข้าใจ การเข้าถึงความรู้สึกนึกคิด
3.การปรับเข้าสู่ความเป็นดิจิทัล (Digitalization) เป็นการผสมผสานการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลผ่านระบบคลาวด์ อุปกรณ์สมาร์ทโฟน และเครื่องมือที่ใช้ในการทำงานร่วมกัน เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับการดำเนินการการให้บริการของราชการ สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ในทุกเวลา ทุกสถานที่ ทุกอุปกรณ์และทุกช่องทางได้อย่างมั่นคง ปลอดภัยและประหยัด
วิวัฒนาการบริการรัฐ ระบบบริการภาครัฐ 5.0(Government 5.0 - Fully Networking DigitalServices)
คือระบบที่มีการติดต่อเชื่อมโยงเอกสารระหว่างหน่วยงานของรัฐทั้งหมด โดยมีการติดต่อกับทางรัฐเพียงหน่วยงานเดียวเท่านั้น จากนั้นข้อมูลจะทำการเชื่อมต่อ และมีระบบฐานข้อมูลของภาครัฐอันเดียวกัน เช่น
-ระบบบัตรประชาชน E-Sim เสียบบัตรเข้าเครื่องสแกนก็สามารถดึงข้อมูลทั้งระบบได้
-ระบบจัดส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน หรือเรียกกันว่า "ระบบสารบรรณ
อิเล็กทรอนิกส์" ทั้งนี้ยังให้ประชาชนติดต่อผ่านทางดิจิทัโดยตรงกับหน่วยงานได้เหมือนเดิมระบบดึงข้อมูล และเข้าระบบโดยมีระดับความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ตามความจำเป็นของแต่ละระดับของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ
การพัฒนาประเทศให้ทันต่อโลกยุคดิจิทัล ที่จะทำให้การเข้าถึงข้อมูลนั้นทำได้โดยง่าย และการทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการของหน่วยงานของรัฐทำได้โดยง่ายนั้น จำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องมีระบบที่ปลอดภัย รวดเร็ว ทันสมัยซึ่งแน่นอนรัฐบาลก็ให้ความสำคัญและมีการพัฒนาระบบของภาครัฐอย่างต่อเนื่อง
พล.อส สิทธิศักดิ์ ไชยมาตย์ 64423471358
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน มีนักวิชาการได้ให้ความหมายการมีส่วนร่วมไว้ ดังนี% นรินทร์ พัฒนพงศา (2546 : 4) ได้สรุปความหมายของการมีส่วนร่วมวาการมีส่วนร่วมคือ การที่ฝ่ายหนึ่งฝ่ ายใดที่ไม่เคยได้เข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ หรือเข้าร่วมการตัดสินใจหรือเคยเข้าร่วมด้วย เล็กน้อยได้เข้าร่วมมากขึ%นเป็ นไปอย่างมีอิสรภาพเสมอภาค มิใช่มีส่วนร่วมอย่างผิวเผิน แต่เข้าร่วม อยางแท้จริงยิ่งขึ้ และการเข้าร่วมนั้นต้องเริ่มตั้งแต่ขั้นแรกจนถึงขั้นสุดท้ายของโครงการ ยุพา รูปงาม (2545 : 5) การมีส่วนร่วม (Participation) คือ เป็นผลมาจากการเห็นพ้องกนในเรื่องของความต้องการ และทิศทางการเปลี่ยนแปลงและความเห็นพร้องกนจะต้องมีมากจนเกิดความริเริ่ม โครงการเพื่อ การปฏิบัติ เหตุผลแรกของการที่มีคนมารวมกันได้ควรจะต้องมีการตระหนักว่า ปฏิบัติการทั้งหมดหรือการกระทําทั้งหมด ที่ทําโดยกลุ่มหรือในนามกลุ่มนั%น กระทําผ่านองค์การ (Organization) ดังนั้น องค์การเป็นเสมือนตัวนําให้บรรลุถึงความเปลี่ยนแปลงได้ ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ (2543 : 8-10) ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมใน 2 ลักษณะ กล่าวคือ การมีส่วนร่วมในลักษณะที่เป็นกระบวนการของการพัฒนาโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในกระบวนการพัฒนาตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ เช่น การร่วมกนค้นหาปัญหา การวางแผน
พล.อส สิทธิศักดิ์ ไชยมาตย์

5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ตอบ ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 คือ การทำงานเพื่อก้าวสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 ด้วยการจัดระบบระเบียบการให้บริการ ประชาชนให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยปรับเปลี่ยนและปฏิรูปการทำงานให้สอดรับกับนโยบาย และ วิสัยทัศน์ดังกล่าว เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐมีการพัฒนาองค์การไปสู่ “ระบบราชการ 4.0” ตามนโยบายของ รัฐบาลโดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ คือ
1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และการตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร

ลักษณะสำคัญในยุค 5 G คือ คือ ระบบที่มีการติดต่อเชื่อมโยงเอกสารระหว่างหน่วยงานของรัฐทั้งหมด โดยมีการติดต่อกับทางรัฐเพียงหน่วยงานเดียวเท่านั้น จากนั้นข้อมูลจะทำการเชื่อมต่อ และมีระบบฐานข้อมูลของภาครัฐอันเดียวกัน เช่น ระบบบัตรประชาชน E-Sim เสียบบัตรเข้าเครื่องสแกนก็สามารถดึงข้อมูลทั้งระบบได้ องค์กรภาครัฐจึงควรเห็นมิติทางโอกาสที่จะสามารถใช้ศักยภาพทั้งหมดเพื่อการเรียนรู้และปรับ ใช้จากประโยชน์จากระบบ 5G ด้วย คือ
1) การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน (Studious) ซึ่งเป็นความพยายามที่จะ ปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น
2) การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย (Underlie) ในยุค 5G องค์กร ภาครัฐจำ
เป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้น
3) การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate) โดยการเร่งพัฒนาและปรับกระบวนงานระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมของประชาชนที่กำลังจะเปลี่ยนไป ทั้งด้านบริการภาครัฐ ต้องมีความสะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน
4) ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง การเกิดปัญหาของประชาชนที่ซับซ้อนตามไปด้วย ทำให้องค์กรภาครัฐที่มี่หน้าที่ในการดูแล แก้ไขปัญหาประชาชนจำต้องเท่าเทียมและเตรียมความพร้อมในการพัฒนาระบบการให้บริการโดยนำเทคโนโลยีมาใช้ สนับสนุนเพื่อให้บริการประชาชน โดยมีเป้าหมายสำคัญ คือ การยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่างสะดวกรวดเร็ว โปร่งใส
5) การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน
ส.อ.หญิง ดวงกมล สาเกทอง รหัสนักศึกษา 64423471359 said…
ส.อ.หญิง ดวงกมล สาเกทอง รหัสนักศึกษา 64423471359
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างประโยชน์สุขของประชาชน
โดยอาศัยเครื่องมือการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยการขึ้นตามเป้าหมายของพระราชกฤษฎีกาว่า
ด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ซึ่งใช้เป็นอีกหลักการหนึ่งใน
การสร้างตัวชี้ วัดนี้ ในพระราชกฤษฎีกาฯ ดังกล่าวได้กำหนดเป้าหมายของการบริหารกิจการ

5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ตอบ บ้านเมืองที่ดีไว้ในมาตรา 6 ดังนี้
มาตรา 6 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่ การบริหารราชการเพื่อบรรลุเป้าหมาย
ดังต่อไปนี้
1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 คือ การทำงานเพื่อก้าวสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 ด้วยการจัดระบบระเบียบการให้บริการ ประชาชนให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยปรับเปลี่ยนและปฏิรูปการทำงานให้สอดรับกับนโยบาย และ วิสัยทัศน์ดังกล่าว เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐมีการพัฒนาองค์การไปสู่ “ระบบราชการ 4.0” ตามนโยบายของ รัฐบาลโดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ คือ
1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และการตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร

ลักษณะสำคัญในยุค 5 G คือ คือ ระบบที่มีการติดต่อเชื่อมโยงเอกสารระหว่างหน่วยงานของรัฐทั้งหมด โดยมีการติดต่อกับทางรัฐเพียงหน่วยงานเดียวเท่านั้น จากนั้นข้อมูลจะทำการเชื่อมต่อ และมีระบบฐานข้อมูลของภาครัฐอันเดียวกัน เช่น ระบบบัตรประชาชน E-Sim เสียบบัตรเข้าเครื่องสแกนก็สามารถดึงข้อมูลทั้งระบบได้ องค์กรภาครัฐจึงควรเห็นมิติทางโอกาสที่จะสามารถใช้ศักยภาพทั้งหมดเพื่อการเรียนรู้และปรับ ใช้จากประโยชน์จากระบบ 5G ด้วย คือ
1) การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน (Studious) ซึ่งเป็นความพยายามที่จะ ปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น
2) การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย (Underlie) ในยุค 5G องค์กร ภาครัฐจำ
เป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้น
3) การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate) โดยการเร่งพัฒนาและปรับกระบวนงานระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมของประชาชนที่กำลังจะเปลี่ยนไป ทั้งด้านบริการภาครัฐ ต้องมีความสะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน
4) ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง การเกิดปัญหาของประชาชนที่ซับซ้อนตามไปด้วย ทำให้องค์กรภาครัฐที่มี่หน้าที่ในการดูแล แก้ไขปัญหาประชาชนจำต้องเท่าเทียมและเตรียมความพร้อมในการพัฒนาระบบการให้บริการโดยนำเทคโนโลยีมาใช้ สนับสนุนเพื่อให้บริการประชาชน โดยมีเป้าหมายสำคัญ คือ การยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่างสะดวกรวดเร็ว โปร่งใส
5) การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน
2. เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ
3. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
4. ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น
5. มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์
6. ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
7. มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ
Module 3
ส.ท.ยศนันทน์ ขุนทอง รหัสนักศึกษา 64423471310
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ ปัญหาและอุปสรรคของการมีส่วนร่วมคือ ขาดความรู้ความเข้าใจของประชาชน ขาดการวิเคราะห์กลั่นกรองปัญหา
ก่อนการประชาคม ผู้นำ ทั้งการเมืองและการปกครองไม่มีเป้าหมายและการวางแผนการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ผู้นำควรยึดหลักธรรมาภิบาล ในการดำเนินงาน ไม่ก้าวก่ายบทบาทหน้าที่ซึ่งกันและกัน มีการปรับ ทัศนคติ ประสานงาน แจ้งข่าวสาร รายงานผลการพิจารณาแบบแผนให้เป็นที่ทราบทั่วกันทั้งผู้นุำชุมชนและประชาชน สร้างความร่วมแรงร่วมใจในการเข้าร่วมประชุม
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5G มีอะไรบ้าง
ตอบ ยุค 4.0 ประกอบด้วย
1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใสเอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชนและสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการมีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และ การตัดสินใจ ในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทางานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสียงทั้งใน ระดับองค์การ และในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมความคิดริเริ่มและการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการทำงานที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเองสู่องค์การที่มีความทันสมัยและมุ่งเน้นผลงานที่ดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากรดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูงพัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความ ผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
ลักษณะสำคัญยุค5G ได้แก่
1. การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน
2. การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย
3. การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม
4. ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงของการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่างๆจากอดีตสู่ปัจจุบัน
1. จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นกระบวนการซึ่งประชาชน หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้มีโอกาสแสดงทัศนะ และเข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่มีผลต่อความเป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งมีการนำความคิดเห็นดังกล่าวไปประกอบการพิจารณากำหนดนโยบายและการตัดสินใจของรัฐ การมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นกระบวนการสื่อสารในระบบเปิด กล่าวคือ เป็นการสื่อสารสองทาง ทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ซึ่งประกอบไปด้วย การแบ่งสรรข้อมูลร่วมกันระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและเป็นการเสริมสร้างความสามัคคีในสังคม ทั้งนี้เพราะการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นการเพิ่มคุณภาพของการตัดสินใจ การลดค่าใช้จ่ายและการสูญเสียเวลา เป็นการสร้างฉันทามติและทำให้ง่ายต่อการนำไปปฏิบัติ อีกทั้งช่วยหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้าในกรณีที่อาจจะรุนแรง” ช่วยให้เกิดความน่าเชื่อถือและความชอบธรรม และช่วยให้ทราบความห่วงกังวลของประชาชนและค่านิยมของสาธารณชนรวมทั้งเป็นการพัฒนาความเชี่ยวชาญและความคิดสร้างสรรค์ของสาธารณชน การมีส่วนร่วมของประชาชนมีความสำคัญในการสร้างประชาธิปไตยอย่างยั่งยืนและส่งเสริมธรรมาภิบาล ตลอดจนการบริหารงาน หากการมีส่วนร่วมของประชาชนมากขึ้นเพียงใดก็จะช่วยให้มีการตรวจสอบการทำงานของผู้บริหารและทำให้ผู้บริหารมีความรับผิดชอบต่อสังคมมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังเป็นการป้องกันนักการเมืองจากการกำหนดนโยบายที่ไม่เหมาะสมกับสังคมนั้นๆ นอกจากนี้ การมีส่วนร่วมของประชาชนยังเป็นการสร้างความมั่นใจว่าเสียงของประชาชนจะมีคนรับฟังอีกทั้งความต้องการหรือความปรารถนาของประชาชนก็จะได้รับการตอบสนอง
2. ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5G มีอะไรบ้าง
ในการพลิกโฉม (transform) ภาครัฐหรือระบบราชการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและรองรับ โมเดลการพัฒนาประเทศไทย 4.0 โดยยึดหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเพื่อประโยชน์สุขของ ประชาชน (Better governance, happier citizens) อันจะทำให้ระบบราชการสามารถเป็นที่ไว้วางใจและเป็นที่พึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริงนั้น จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการทำงานใหม่ กล่าวคือ
1. เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน (Open & Connected Government) โดยต้องมีความเปิดเผยโปร่งใสในการทำงาน บุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการหรือมีการแบ่งปันข้อมูลซึ่งกันและกัน และสามารถเข้ามาตรวจสอบการทำงานได้ตลอดจนเปิดกว้างให้กลไกหรือภาคส่วนอื่นๆ เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ได้เข้ามามีส่วนร่วมและโอนถ่ายภารกิจที่ภาครัฐไม่ควรดำเนินการเองออกไปให้แก่ภาคส่วนอื่นๆ เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการแทน โดยการจัดระเบียบความสัมพันธ์ในเชิงโครงสร้างให้สอดรับกับการทำงานในแนวระนาบ ในลักษณะของเครือข่ายมากกว่าตามสายการบังคับบัญชาในแนวดิ่ง ขณะเดียวกันก็ยังต้องเชื่อมโยงการทำงานภายในภาครัฐด้วยกันเองให้มีเอกภาพและสอดรับประสานกัน ไม่ว่าจะเป็นราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น
2. ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Citizen-centric government) โดยต้องทำงานในเชิงรุกและมองไปข้างหน้า ตั้งคำถามกับตนเองเสมอว่า ประชาชนจะได้อะไร มุ่งเน้นแก้ไขปัญหาความต้องการและตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยไม่ต้องรอให้ประชาชนเข้ามาติดต่อขอรับบริการ หรือร้องขอความช่วยเหลือจากทางราชการ (proactive public services) รวมทั้งใช้ประโยชน์จากข้อมูลของทางราชการ (big government data) และระบบดิจิทัลสมัยใหม่ในการจัดบริการสาธารณะที่ตรงกับความต้องการของประชาชน (personalized หรือ tailored services) พร้อมทั้งอำนวยความสะดวกโดยมีการเชื่อมโยงกันเองของทางราชการเพื่อให้บริการต่าง ๆ สามารถเสร็จสิ้นในจุดเดียว ประชาชนสามารถเรียกใช้บริการของทางราชการได้ตลอดเวลาตามความต้องการของตนและผ่านการติดต่อได้หลายช่องทางผสมผสานกันไม่ว่าจะมาติดต่อด้วยตนเอง อินเตอร์เน็ต เว็บไซต์โซเชียลมีเดีย หรือแอปพลิเคชั่นทางโทรศัพท์มือถือ
3. มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย (Smart & high performance government) โดยต้องทำงานอย่างเตรียมการณ์ไว้ล่วงหน้า มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงสร้างนวัตกรรมหรือความคิดริเริ่มและประยุกต์ องค์ความรู้ในแบบสหสาขาวิชาเข้ามาใช้ในการตอบโต้กับโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน เพื่อสร้างคุณค่า มีความยืดหยุ่นและความสามารถในการตอบสนองกับสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างทันเวลา ตลอดจนเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูงและปรับตัวเข้าสู่สภาพความเป็นสำนักงานสมัยใหม่ รวมทั้งทำให้ข้าราชการมีความผูกพันต่อการปฏิบัติราชการและปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเหมาะสมกับบทบาทของตน
ทั้งนี้ ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการปรับไปสู่ระบบราชการ 4.0 ได้แก่ การสร้างนวัตกรรม (innovation) บนพื้นฐานของการสานพลังความร่วมมือกัน (collaboration) ระหว่างภาครัฐและภาคส่วนอื่นๆในสังคม รวมทั้งใช้ประโยชน์จากความเป็นระบบดิจิตอลในการคิดค้นและแสวงหาหนทางหรือวิธีการ (solutions) ใหม่ๆ อันจะ ก่อให้เกิดผลกระทบสูง (big impact) เพื่อทำการปรับปรุงและออกแบบนโยบายสาธารณะและการจัดบริการ สาธารณะให้สามารถตอบโจทย์ความท้าทายของประเทศหรือตอบสนองปัญหาความต้องการของประชาชน ที่แปรผันไปตามสภาพพลวัตของการเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีคุณภาพ ในทุกเวลา ทุกสถานที่ ทุกอุปกรณ์และช่องทางได้อย่างมั่นคงปลอดภัยและประหยัด
ลักษณะสำคัญในยุค 5G
1. การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งผลกระทบต่อประชาชน
2. การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย
3. การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate)
4. ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง (Expeditious)
5. การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน (Responsible)
พ.จ.ท.อากฤษดิ์ หลินโนนแดง รหัส นศ. 64423471334

5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
5.1.1 การมีส่วนร่วม คือ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างประโยชน์สุขของประชาชน โดยอาศัยเครื่องมือการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยการขึ้นตามเป้าหมายของพระราชกฤษฎีกาว่า ด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ซึ่งใช้เป็นอีกหลักการหนึ่งใน การสร้างตัวชี้ วัดนี้ ในพระราชกฤษฎีกาฯ ดังกล่าวได้กำหนดเป้าหมายของการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดีไว้ใน มาตรา 6 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่ การบริหารราชการเพื่อบรรลุเป้าหมาย ดังต่อไปนี้
1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
3. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
4. ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น
5. มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์
6. ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
7. มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ
สรุป การมีส่วนร่วม หมายถึง ลักษณะของการเข้าไปกระทำร่วมกันโดยบุคคลที่อยู่เป็นกลุ่มชนทั้งทางด้านนามธรรม คือ จิตใจ ความคิด อารมณ์ การเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน การพัฒนาทั้งในการแก้ไขปัญหาและป้องกันปัญหาโดยเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการคิดริเริ่มร่วมกำหนดนโยบาย ร่วมวางแผน ตัดสินใจและปฏิบัติตามแผน ร่วมตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐทุกระดับ ร่วมติดตามประเมินผลและรับผิดชอบในเรื่องต่างๆ อันมีผลกระทบถึง ประชาชน ชุมชนและเครือข่ายทุกรูปแบบในพื้นที่
5.1.2 ปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
5.1.2.1 ประชาชนชนที่เป็นกลุ่มคนชั้นกลางปฏิเสธที่จะเข้าร่วมทางการเมืองในรูปแบบที่เป็นทางการหรือการใช้สิทธิ์เลือกตั้งเพราะขาดความเชื่อมั่นและศรัทธาต่อพฤติกรรมของนักการเมือง และพรรคการเมืองที่สังกัด
5.1.2.2 ประชาชนที่เป็นกลุ่มคนระดับล่างในสังคมที่มีฐานะยากจนขาดการศึกษา ขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ ทำให้ประชาชนมองไม่เห็นและไม่เข้าใจว่าการมีส่วนร่วมทางการเมือง
5.1.2.3 การมีส่วนร่วมทางการเมืองในเชิงสัญลักษณ์โดยปราศจากความตระหนัก และความเข้าใจในคุณค่าของการมีส่วนร่วมทางการเมือง
5.1.2.4 การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่มีระบบและมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างไม่เป็นทางการมาก
5.1.2.5 ปัญหาจากบทบาทของพรรคการเมือง การที่ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองน้อย
5.1.3 สรุป สาเหตุดังกล่าวแล้วยังมีปัญหาอีกประการคือปัญหาวัฒนธรรมทางการเมืองของคนไทย มีงานวิจัยหลายเรื่องสรุปและแสดงถึงวัฒนธรรมทางการเมือง ของคนไทยไม่สนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองเพราะประชาชน โดยทั่วไปเชื่อว่าการเมืองหรือการบริหารประเทศเป็นเรื่องของคนกลุ่มน้อยบางกลุ่ม เท่านั้น อีกประการหนึ่งยังเห็นว่าการเมืองเป็นเรื่องของผลประโยชน์อย่างชัดแจ้งเกินไป ความรู้สึกเช่นนี้ทำให้ประชาชนขาดความศรัทธาหรือความกระตือรือร้น ที่จะเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองแต่ถ้าเข้ามาก็มักจะมีวัตถุประสงค์อย่างอื่น เช่น เพื่อแลกเปลี่ยนกับเงินทองหรือการช่วยเหลือในรูปแบบต่างๆ ไม่ใช่เป็นเรื่องของจิตสำนึกทางการเมือง ลักษณะของวัฒนธรรมทางการเมืองคนไทยอีกประการหนึ่งที่ไม่สนับสนุนการมีส่วนร่วมทางการเมือง คือ การยอมรับในอำนาจนิยมของความเป็นข้าราชการ

5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
5.2.1 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 คือ การปฏิรูปประเทศไทยมุ่งสู่ไทยแลนด์ 4.0 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ภาครัฐต้องปรับตัวให้สามารถอำนวยความดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ยุคดิจิทัลท่ามกลางความที่รวดเร็วและไม่สามารถคาดเดาได้จึงต้องมุ่งเน้นความคล่องตัวภารกิจพิเศษ (Agenda – Based) และนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาพลิกโฉมระบบราชการสู่ Government 4.0 แต่ด้วยวิทยาการทางด้านเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาและปรับเปลี่ยนระบบอย่างรวด (ตั้งแต่ พ.ศ.2559 เป็นต้นไป)
5.2.2 ลักษณะสำคัญในยุค 5 G คือ ระบบการเชื่อมโยงศาสตร์ต่างๆ ทั้งระบบการตัดสินใจในเชิงการบริหารองค์กรภาครัฐ สามารถก่อให้เกิดความรวดเร็วในการ แก้ไขปัญหาของประชาชนบนฐานเทคนิคการบริหารองค์กรภาครัฐด้วยเทคนิค SUPER ได้แก่
1.Studious หมายถึง ความรอบคอบ
2. Underlie หมายถึง การรองรับ
3. Precipitate หมายถึง การเร่งรัด
4. Expeditious หมายถึง ความรวดเร็ว และ
5. Responsible หมายถึง ความรับผิดชอบต่อสังคม
5.2.3 สรุป การบริหารงานองค์กรภาครัฐในโลกอนาคตที่มีความรอบครอบ รองรับ เร่งรัด รวดเร็ว และรับผิดชอบอาจจะเป็นบทบาทใหม่ขององค์กรภาครัฐที่ควรให้ความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมใหม่ที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น เพื่อการพลิกโฉมประเทศไปสู่ความทันสมัยได้มากขึ้นผ่านการทำงานด้วยการนำวัตกรรม เทคโนโลยีมาปรับใช้เพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กรภาครัฐ และช่วยลดทัศนคติของประชาชนในแง่ลบกลายเป็นทัศนคติเชิงบวก
ประเทศไทย 4.0 ภาครัฐ หรือ ระบบราชการจะต้องทําางานโดยยึดหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ ของประชาชน (Better Governance, Happier Citizens) หมายความวา่ ระบบราชการต้องปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการทำงานใหม่ เพื่อพลิกโฉม (transform) ให้สามารถเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจและเปน็ พง่ึ ของประชาชนได้อย่างแท้จริง(Credible and Trusted Government) ดังนี้
1. เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน (Open & Connected Government) คือ การทําางานต้องเปิดเผยและโปร่งใส เปดิ กวา้ งใหก้ ลไกหรอื ภาคสว่ นอน่ื ๆ เขา้ มามสี ว่ นรว่ ม โอนถา่ ยภารกจิ ทภ่ี าครฐั ไมค่ วรดาํา เนนิ การเองไปใหภ้ าคสว่ นอน่ื ดาํา เนนิ การแทน จดั โครงสรา้ งการทาํา งานเปน็ แนวระนาบ มากกวา่ สายการบงั คบั บญั ชาในแนวดง่ิ และเชอ่ื มโยงการทาํา งาน ราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ให้มีเอกภาพและสอดรับประสานกัน
2. ยดึ ประชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง (Citizen-Centric Government) ทาํา งานโดยมองไปขา้ งหนา้ (คดิ เสมอวา่ ประชาชน จะได้อะไร) มุ่งเน้นแก้ไขปัญหาให้ประชาชน ให้บริการเชิงรุก ไม่ต้องรอให้ประชาชนมาขอความช่วยเหลือ จัดบริการ สาธารณะท่ีตรงกับความต้องการของประชาชน
3. มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย (Smart & High Performance Government) การทําางานต้องมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเพ่ือเตรียมการ ลว่ งหนา้ นาํา องคค์ วามรทู้ เ่ี ปน็ สหสาขาวชิ ามาสรา้ งนวตั กรรมหรอื ประยุกต์เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงได้ทันเวลา

5.2 เป้าหมายหลัก ต้องการให้บริการจัดการขับเคลื่อน 5G ทั้งระบบเกิดประสิทธิภาพ ทุกองคาพยพเป็นเอกภาพ เพื่อขับเคลื่อนการทำงานเป็นทีมเวิร์ค แข่งขันให้ทัดเทียมกับนานาชาติ เดินตามนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 20 ปี

นโยบายและแผนระดับชาติฯดังกล่าว ต้องการปฏิรูปประเทศไทยสู่ “ดิจิทัลไทยแลนด์” ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลได้เต็มศักยภาพ ในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน นวัตกรรม ข้อมูล ทุน มนุษย์

และหนึ่งในเป้าหมายแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม คือ “ปฏิรูปกระบวนทัศน์การทำงาน การให้บริการของภาครัฐ ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล การใช้ประโยชน์จากข้อมูล เพื่อให้การปฏิบัติงานเกิดความโปร่งใส มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล”

ระบบ 5G นับเป็นเทคโนโลยีเครือข่ายติดต่อสื่อสารเชื่อมต่อทุกสรรพสิ่งเข้าหากัน ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิต คาดหวังลดความเหลื่อมล้ำในสังคม

ตามแผนโครงข่าย 5G รุกคืบเข้าถึงร้อยละ 98 ของประชากร ทุกพื้นที่ของเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษในพื้นที่อีอีซี และประชากรทั้งหมดในจังหวัดที่ได้รับการประกาศให้เป็นสมาร์ทซิตี้
ส.อ.โชคชัย อินทร์สวา 644234712352 said…
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
ตอบ ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 คือ การทำงานเพื่อก้าวสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 ด้วยการจัดระบบระเบียบการให้บริการ ประชาชนให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยปรับเปลี่ยนและปฏิรูปการทำงานให้สอดรับกับนโยบาย และ วิสัยทัศน์ดังกล่าว เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐมีการพัฒนาองค์การไปสู่ “ระบบราชการ 4.0” ตามนโยบายของ รัฐบาลโดยมีคุณลักษณะสำคัญ 10 ประการ คือ
1) ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2) ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และการตัดสินใจในการทำงาน
5) ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6) ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งใน ระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7) เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง
9) บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเน้นผลงานที่ดี
10) ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร

ลักษณะสำคัญในยุค 5 G คือ คือ ระบบที่มีการติดต่อเชื่อมโยงเอกสารระหว่างหน่วยงานของรัฐทั้งหมด โดยมีการติดต่อกับทางรัฐเพียงหน่วยงานเดียวเท่านั้น จากนั้นข้อมูลจะทำการเชื่อมต่อ และมีระบบฐานข้อมูลของภาครัฐอันเดียวกัน เช่น ระบบบัตรประชาชน E-Sim เสียบบัตรเข้าเครื่องสแกนก็สามารถดึงข้อมูลทั้งระบบได้ องค์กรภาครัฐจึงควรเห็นมิติทางโอกาสที่จะสามารถใช้ศักยภาพทั้งหมดเพื่อการเรียนรู้และปรับ ใช้จากประโยชน์จากระบบ 5G ด้วย คือ

1) การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน (Studious) ซึ่งเป็นความพยายามที่จะ ปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น

2) การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย (Underlie) ในยุค 5G องค์กร ภาครัฐจำ
เป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้น

3) การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate) โดยการเร่งพัฒนาและปรับกระบวนงานระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมของประชาชนที่กำลังจะเปลี่ยนไป ทั้งด้านบริการภาครัฐ ต้องมีความสะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน

4) ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง การเกิดปัญหาของประชาชนที่ซับซ้อนตามไปด้วย ทำให้องค์กรภาครัฐที่มี่หน้าที่ในการดูแล แก้ไขปัญหาประชาชนจำต้องเท่าเทียมและเตรียมความพร้อมในการพัฒนาระบบการให้บริการโดยนำเทคโนโลยีมาใช้ สนับสนุนเพื่อให้บริการประชาชน โดยมีเป้าหมายสำคัญ คือ การยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่างสะดวกรวดเร็ว โปร่งใส

5) การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน
ส.อ.สิทธิโชค จันทร์แจ่ม 64423471353 said…
1. จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง กระบวนการใด ๆที่ให้ประชาชนมีส่วนในการตัดสินใจโดยตรงและมีการให้ข้อมูลประกอบการพิจารณากับประชาชนในการตัดสินใจอย่างเต็มที่ ระดับของการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น 5 ระดับ ดังนี้
1. การให้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำที่สุด แต่เป็นระดับที่สำคัญที่สุด
2. การรับฟังความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข้อเท็จจริงและความคิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐ
3. การเกี่ยวข้อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอแนะทางที่นำไปสู่การตัดสินใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่าข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของประชาชนจะถูกนำไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ
4. ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชนผู้แทนภาคสาธารณะมีส่วนร่วม โดยเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ
5. การเสริมอำนาจแก่ประชาชน เป็นขั้นที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด โดยให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ
การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมที่เปิดโอกาสให้ประชาชนและเครือข่ายภาคประชาสังคมทุกภาคส่วนเข้ามาเป็นหุ้นส่วน จะประสบความสำเร็จหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับหน่วยงานราชการต่าง ๆ จะสนับสนุนให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนมากน้อยเพียงใด รวมทั้งต้องอาศัยกระบวนการความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในสังคมที่เป็นพันธมิตรของภาคราชการ ซึ่งถึงเวลาแล้วที่ภาคราชการจะต้องร่วมมือกันเปิดระบบราชการให้ประชาชนมีส่วนร่วม เพื่อทำให้เกิดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เกิดการแบ่งสรรทรัพยากรอย่างยุติธรรม และลดความขัดแย้งในสังคม
2. ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5G มีอะไรบ้าง
ตอบ ลักษณะของยุค 4.0 ประกอบด้วย
1.ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใสเอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2.ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชนและสร้างคุณค่า
3.แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4.ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการมีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และ การตัดสินใจ ในการทำงาน
5.ปรับรูปแบบการทางานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6.ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสียงทั้งใน ระดับองค์การ และในระดับปฏิบัติการ
7.เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8.ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมความคิดริเริ่มและการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการทำงานที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
9.บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเองสู่องค์การที่มีความทันสมัยและมุ่งเน้นผลงานที่ดี
10. ให้ความสำคัญกับบุคลากรดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูงพัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความ ผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
ลักษณะของยุค 5G ประกอบด้วย
1. การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน
2. การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย
3. การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม
4. ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงของการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่างๆจากอดีตสู่ปัจจุบัน
อักษร แก้วสีบุตร said…
ส.ท. อักษร แก้วสีบุตร
64423471341
Module 3
1. จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ตอบ การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง กระบวนการใด ๆ ที่ให้ประชาชนมีส่วนในการตัดสินใจโดยตรงและมีการให้ข้อมูลประกอบการพิจารณากับประชาชนในการตัดสินใจอย่างเต็มที่ ระดับของการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น 5 ระดับ ดังนี้
1. การให้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่ำที่สุด แต่เป็นระดับที่สำคัญที่สุด
2. การรับฟังความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข้อเท็จจริงและความคิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐ
3. การเกี่ยวข้อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอแนะทางที่นำไปสู่การตัดสินใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่าข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของประชาชนจะถูกนำไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ
4. ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชนผู้แทนภาคสาธารณะมีส่วนร่วม โดยเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ
5. การเสริมอำนาจแก่ประชาชน เป็นขั้นที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด โดยให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ
การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมที่เปิดโอกาสให้ประชาชนและเครือข่ายภาคประชาสังคมทุกภาคส่วนเข้ามาเป็นหุ้นส่วน จะประสบความสำเร็จหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับหน่วยงานราชการต่าง ๆ จะสนับสนุนให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนมากน้อยเพียงใด รวมทั้งต้องอาศัยกระบวนการความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในสังคมที่เป็นพันธมิตรของภาคราชการ ซึ่งถึงเวลาแล้วที่ภาคราชการจะต้องร่วมมือกันเปิดระบบราชการให้ประชาชนมีส่วนร่วม เพื่อทำให้เกิดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เกิดการแบ่งสรรทรัพยากรอย่างยุติธรรม และลดความขัดแย้งในสังคม
2. ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5G มีอะไรบ้าง
ตอบ ลักษณะของยุค 4.0 ประกอบด้วย
1.ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใสเอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2.ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชนและสร้างคุณค่า
3.แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4.ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการมีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และ การตัดสินใจ ในการทำงาน
5.ปรับรูปแบบการทางานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6.ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถานการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสียงทั้งใน ระดับองค์การ และในระดับปฏิบัติการ
7.เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8.ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมความคิดริเริ่มและการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการทำงานที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
9.บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเองสู่องค์การที่มีความทันสมัยและมุ่งเน้นผลงานที่ดี
10. ให้ความสำคัญกับบุคลากรดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูงพัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ สร้างความ ผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
ลักษณะของยุค 5G ประกอบด้วย
1. การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน
2. การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย
3. การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม
4. ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงของการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่างๆจากอดีตสู่ปัจจุบัน
พล.อส.ณัฐพงษ์ แกล้วกล้า 64423471320
5.1 จงอภิปรายถึงการมีส่วนร่วมและปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนถือเป็นหัวใจสำคัญ ในการสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กร การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารราชการเป็นแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐ แนวใหม่ที่ให้ความสำคัญกับ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดินโดยส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีบทบาทตั้งแต่ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมดำเนินการ ร่วมรับผลประโยชน์และร่วมประเมินผล ซึงจะนำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารราชการและบรรลุเป้าหมายในการพัฒนาระบบราชการวมทั้งสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริงแม้ว่าการพัฒนาระบบราชการให้เป็นระบบราชการแบบเปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมเป็นเรื่องใหม่ สำหรับสังคมไทยรวมถึงระบบราชการและข้าราชการไทยคงยังคุ้นเคยกับการทำงานแบบรวมศูนย์และสั่งการแต่เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายสำคัญนี้จำเป็นต้องมีการกำหนดยุทธศาสตร์แนวทางและมาตรการที่ชัดเจนเพื่อเป็นบรรทัดฐานใหม่ในการวางระบบการบริหารราชการไทยให้สนับสนุนกระบวนการทำงานของส่วนราชการที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้นเพราะหากระบบราชการมีการบริหารราชการ ที่ปิดโอกาสให้ประชาชนผู้ที่เกี่ยวช้องและภาคส่วนอื่นๆ ในสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมในงานราชการในระดับต่าง ๆ อย่างมีคุณภาพก็จะถือว่าเป็นก้าวสำคัญอีกก้าวหนึ่งในการพัฒนาระบบราชการ
5.2 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0 กับลักษณะสำคัญในยุค 5 G มีอะไรบ้าง
5.2.1 ลักษณะของระบบราชการยุค 4.0
1. ทำงานอย่างเปิดเผย โปร่งใส เอื้อให้บุคคลภายนอก และประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
2. ทำงานเชิงรุกแก้ไขปัญหาตอบสนองความต้องการของประชาชน และสร้างคุณค่า
3. แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงานเชื่อมโยงการทำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จในจุดเดียว
4. ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ มีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์และการตัดสินใจในการทำงาน
5. ปรับรูปแบบการทำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6. ทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้าตอบสนองต่อสถนการณ์ ทันเวลา มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งในระดับองค์การและในระดับปฏิบัติการ
7. เปิดกว้างให้ภาคส่วนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ถ่ายโอนภารกิจไปดำเนินการแทนได้
8. ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ทำงานที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
9. บุคลากรทุกระดับพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงตัวเอง สู่องค์การที่มีความทันสมัยและ มุ่งเนันผลงานที่ดี
10. ให้ความสำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่สร้างความผูกพัน สร้างแรงจูงใจ มีแผนเชิงรุกรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
5.2.2 ลักษณะสำคัญในยุค 5 G
1. การปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชน (Studious) ซึ่งเป็นความพยายามที่จะปฏิบัติงานให้ถูกต้องครบถ้วนตลอดจนลดข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น
2. การรองรับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย (Underlie) ในยุค 5G องค์กร ภาครัฐจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวเองไปสู่กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่สามารถให้บริการประชาชนได้มากขึ้น
3. การเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม (Precipitate) โดยการเร่งพัฒนาและปรับระบวนงานระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมของประชาชนที่กำลังจะเปลี่ยนไป ทั้งด้านบริการภาครัฐ ต้องมีความสะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน
4. ความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง การเกิดปัญหาของประชาชนที่ซับซ้อนตามไปด้วย ทำให้องค์กรภาครัฐที่มี่หน้าที่ในการดูแล แก้ไขปัญหาประชาชนจำต้องเท่าเทียมและเตรียมความพร้อมในการพัฒนาระบบการให้บริการโดยนำเทคโนโลยีมาใช้ สนับสนุนเพื่อให้บริการประชาชน โดยมีเป้าหมายสำคัญ คือ การยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่างสะดวกรวดเร็ว โปร่งใส
5. การสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและประชาชน

Popular posts from this blog

วีดิโอการพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม: สถานการณ์จำลอง

การบริหารการพัฒนา กลุ่ม 391 กองทัพบก Module 1 วันเสาร์ที่ 30-วันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม 2565

หลักรัฐประศาสนศาสตร์ สัปดาห์ที่ 3 16-17 พ.ค.2563