หลักรัฐประศาสนศาสตร์ สัปดาห์ที่ 3 16-17 พ.ค.2563

  








Comments

ส่งงานช่วงเช้า - บ่าย วันที่ 16 พ.ค. 2563
น.ส.ธวิภรณ์ ธีรเกษตร รหัสนักศึกษา 61823451107
คำถามช่วงเช้า
1) งบประมาณและการคลังสาธารณะ หมายถึงอะไร ?
ตอบ. งบประมาณ หมายถึง การวางแผนการเงินในช่วงเวลาที่กำหนดชัดเจนโดยมากแล้วคือหนึ่งปีงบประมาณอาจรวมถึงปริมาณแผนการขายและรายได้, ปริมาณทรัพย์สิน, ค่าใช้จ่าย, สินทรัพย์, หนี้สินและกระแสเงินสดโดยที่บริษัท รัฐบาล ครอบครัว และองค์กรต่าง ๆ จะใช้งบประมาณเพื่อแสดงแผนกลยุทธ์ของกิจกรรมการคลังสาธารณะ หมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายรับและร่ายจ่ายและการก่อหนี้ของรัฐบาลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ มีผลกระทบจากกิจกรรมการดำเนินการต่างๆ ทางการคลังของรัฐบาลที่มีต่อสังคมและประเทศชาติโดยรวมโดยมีขอบเขตเกี่ยวข้องกับงบประมาณแผ่นดิน การคลังด้านรายรับ การคลังด้านรายจ่าย และหนี้สาธารณะ
2)อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ.รายได้หรือรายรับของรัฐบาล รัฐบาลสามารถหารายได้โดยการจัดเก็บภาษีอากรจากผู้ผลิตและประชากรผู้มีรายได้ นอกจากนั้นยังหารายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร ได้แก่ ค่าปรับ ค่าธรรมเนียม และเงินนำส่ง (รายได้) ของรัฐวิสาหกิจต่างๆ ที่รัฐบาลเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นร่วมทุนกับเอกชน เช่น เงินนำส่งจากบริษัทการบินไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิต องค์การสุรา การท่าเรือแห่งประเทศไทย เป็นต้น นอกเหนือจากการหารายได้แล้วรัฐบาลอาจมีรายรับจากการกู้ยืมจากภาคเอกชนภายในประเทศ หรือกู้ยืมจากต่างประเทศ เพื่อนำมาใช้จ่ายในการพัฒนาประเทศ
โดยสรุปโครงสร้างรายได้ของรัฐบาลมาจาก 3 ส่วน คือ

- รายได้จากภาษีอากร รายได้จากรัฐวิสาหกิจต่างๆ รวมทั้งรายได้อื่นๆ เช่น รายได้จาก ค่าปรับ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต

- เงินกู้ของรัฐบาลจากภายในและต่างประเทศ

- เงินคงคลัง ซิ่งได้แก่ เงินที่รัฐบาลสะสมไว้จากการที่มีรายรับสูงกว่ารายจ่ายในอดีต เงินคงคลังเป็นเงินสำรองที่จะนำมาใช้ในกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น

(คำถามช่วงบ่าย )
1)อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ. นโยบายที่จะเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของรัฐบาล ทางด้านการใช้จ่ายเงินเข้าไปในระบบเศรษฐกิจ เช่น การเพิ่มหรือลดภาษี และหนี้สิน การตัดสินใจของรัฐ เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ที่จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อระดับอุปสงค์รวม เช่น ระดับราคาสินค้า อัตราดอกเบี้ย ระดับรายได้ประชาชาติ ส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ประชาชาติ ดุลการชำระเงิน และอัตราแลกเปลี่ยน ที่มีลักษณะของการพัฒนาเป็นหลัก งบประมาณที่ดีควรจะดําเนินการจัดสรรโดยยึดหลักการพัฒนาเพื่อให้เกิดความก้าวหน้าเป็นหลัก ทั้งนี้เนื่องจากมีงบประมาณจำกัด จึงควรมีการพิจารณาจัดสรรงบประมาณตามหลักการพัฒนาที่ดีว่าด้านไหนควรมาก่อนหลัง ตามสถานการณ์และความจำเป็น
2)อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ.หนี้สาธารณะ (Public debt) คือ หนี้ที่ถือโดยรัฐบาลกลาง, หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่น, องค์กรของรัฐ รวมไปถึง รัฐวิสาหกิจ ตลอดจนการค้ำประกันหนี้สินโดยรัฐบาล ซึ่งการเกิดขึ้นของหนี้สาธารณะส่วนใหญ่ของรัฐบาลทั่วโลก มาจากการดำเนินนโยบายของรัฐแบบขาดดุล หรือก็คือรายได้ของรัฐน้อยกว่ารายจ่ายของรัฐ ทำให้ต้องมีการกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลในแต่ละรอบปีงบประมาณการกู้เงินของรัฐบาล มีได้หลายช่องทาง รัฐอาจกู้จากสถาบันการเงินภายในประเทศ เช่น ธนาคารพาณิชย์ และ ธนาคารกลาง, สถาบันการเงินต่างประเทศ, เอกชน, รัฐบาลต่างประเทศ หรือ องค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ อาทิ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (ไอเอ็มเอฟ), องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น (ไจก้า) เป็นต้น ในประเทศกำลังพัฒนามีแนวโน้มที่งบประมาณของรัฐบาลจะขาดดุบเนื่องจากระดับรายได้ของประชาชนต่ำ มีการหลีกเลี่ยงภาษีอากร จึงมีผลให้รัฐบาลจัดเก็บภาษีอากรได้น้อย ในขณะเดียวกันรัฐบาลพยายามเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการปรับโครงสร้างพื้นฐาน ทำให้รายจ่ายด้านสาธารณูปโภคเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว รัฐบาลจึงจำเป็นต้องก่อหนี้สาธารณะ
งานวันเสาร์​ที่​ 16/5/63​ ช่วงเช้า-บ่าย
นายพิช​ชา​ ดา​ระ​สวัสดิ์​ รหัส​62423471046​ รุ่น​44
1.งบประมาณ​และการคลัง​สาธารณะ​หมายถึง​อะไร​
งบประมาณ คือ​ การวางแผนการเงินใฯนช่วงเวลาที่กำหนดชัดเจน​ ส่วนมากจะกำหนดระยะเวลา​ไว้ที่​1​ปี
อาจรวมถึง ปริมาณแผนการขาย และรายได้, ปริมาณทรัพย์สิน, ค่าใช้จ่าย, สินทรัพย์, หนี้สินและกระแสเงินสด โดยที่บริษัท รัฐบาล ครอบครัว และองค์กรต่างๆ จะใช้งบประมาณเพื่อแสดงแผนกลยุทธ์ของกิจกรรมหรือผลให้สามารถ​วัด​ได้
การคลัง​สาธารณะ​ คือ​ ระบบเศรษฐกิจ​ของรัฐบาล​ ในการหารายได้​จาก​ ภาษีต่างๆ​ รายจ่ายจากการนำงบประมาณ​แผ่นดินมาใช้​ และการก่อหนี้​ เพื่อดำเนินนโยบายสาธารณะ​ให้บรรลุเป้าหมาย
2)อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
รายได้ของรัฐบาล​ไทยมาจาก​ การเก็บภาษี​ทั้งทางตรงและทางอ้อม​ เช่น​ ภาษี​อากร​ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา​ และยังมีรายได้จากการขายสิ่งของและบริการ​ รวมไปถึง​รายได้จากรัฐวิสาหกิจ​ต่างๆ
รายจ่าย​ มาจากการว่าจ้างแรงงาน​ข้าาชการ
รายจ่ายที่ รัฐบาลได้ใช้จ่ายไปเพื่อการบริหารงานอันเป็นภาระหน้าที่ของรัฐโดยทั่วไปและ เพื่อจัดให้มีสินค้าและบริการอันเป็นประโยชน์กับประชาชนในประเทศ
ช่วงบ่าย
1.อธิบาย​นโยบายงบประมาณ
นโยบายเกี่ยวกับการใช้จ่ายและรายได้ของรัฐ เป็นเครื่องมือในการกำหนดแนวทาง เป้าหมาย และการดำเนินงานเพื่อให้เกิดความสำเร็จทางเศรษฐกิจ นโยบายการคลังประกอบด้วย นโยบายภาษีอากร นโยบายด้านรายจ่าย นโยบายการก่อหนี้และบริหารหนี้สาธารณะ และนโยบายในการบริหารเงินคงคลัง
2.อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ประเภทของหนี้สาธารณะ​แบ่งเป็น2ประเภทใหญ่ๆคือ​ แบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้และแบ่งตามแหล่งที่มาของหนี้​ แบ่งระยะเวลาการใช้หนี้สามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ

- หนี้ระยะสั้น หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนต้นเงินกู้คืนไม่เกิน 1 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งโดยปกติแล้วมักจะมีระยะเวลาในการชำระคืนเพียง 3 เดือนหรือ 91 วัน เหตุผลที่กู้ประเภทนี้คือรายได้ประเภทต่างๆยังเข้ามาไม่ทันจึงต้องก่อหนี้ระยะสั้นเพื่อมานำใช้ก่อนหรือเพื่อนำมาใช้หนี้ประเภทระยะสั้นเดิมที่กู้ไว้ก่อนหน้านี้เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยถูกลง
- หนี้ระยะกลาง หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 1 ปีถึง 5 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ในปัจจุบันไม่นิยมในการกู้หนี้ประเภทนี้เนื่องมาจากระยะเวลาในการชำระคืนไม่ตรงกับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องกู้และต้นทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มีการชำระหนี้คืนที่ถี่เกินไป
- หนี้ระยะยาว หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 5 ปีเป็นต้นไปนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งระยะเวลาของการกู้จะยาวแค่ไหนก็จะขึ้นอยู่กับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องใช้กู้ สำหรับในประเทศที่กำลังพัฒนารวมถึงประเทศไทยด้วยหนี้ระยะยาวจะมีอายุระหว่าง 5-10 ปี แต่ในประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีอายุระหว่าง 10-30 ปี ทั้งนี้บางโครงการของประเทศที่กำลังพัฒนาอาจมีระยะเวลาในก่อหนี้นานถึง 50 ปีเนื่องจากผลตอบแทนช้ามาก​ และแบ่งตามแหล่งที่มาของหนี้ สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทคือ หนี้ภายในประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ที่อยู่ในประเทศปกติก็มักจะกู้ตามสกุลเงินของประเทศนั้นๆ โดยอาจกู้จากเอกชน เช่น ห้างร้าน บริษัทต่างๆ ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินที่มิใช่ธนาคารพาณิชย์หรือกู้มาจากธนาคารกลางของประเทศนั้นๆเอง​ และหนี้จากต่างประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ให้กู้ที่ที่มีถิ่นฐานในต่างประเทศ โดยไม่คำนึงถึงเงินตราเช่นกัน ทั้งนี้การกู้เงินในสกุลต่างประเทศนั้นจะกู้ก็ต่อเมื่อมีความจำเป็นในการใช้เงินตราเพื่อต่างประเทศซื้อสินค้าและบริการจากต่างประเทศเท่านั้น โดยสามารถกู้ได้จากสถาบันการเงินระหว่างประเทศ
แบบฝึกหัดท้ายบทช่วงเช้า - บ่าย วันที่ 16 พ.ค. 2563
นายนธี พรมจันทร์ รหัสนักศึกษา 61423451015
คำถามแบบฝึกหัดช่วงเช้า
1) งบประมาณและการคลังสาธารณะ หมายถึงอะไร ?
ตอบ งบประมาณ หมายถึงการวางแผนการเงินในช่วงเวลาที่กำหนดชัดเจน โดยมากแล้วคือหนึ่งปีงบประมาณอาจรวมถึง ปริมาณแผนการขายและรายได้,ปริมาณทรัพย์สิน,ค่าใช้จ่าย,สินทรัพย์,หนี้สินและกระแสเงินสดโดยที่บริษัท รัฐบาล ครอบครัว และองค์กรต่างๆจะใช้งบประมาณเพื่อแสดงแผนกลยุทธ์ของกิจกรรมที่สามารถสามารถวัดขึ้นได้ชัด.
การคลังสาธารณะ หมายถึงการกำหนดนโยบายทางการคลังเพื่อดำเนินงานการคลังด้านรายได้และรายจ่ายของรัฐ ถือเป็นเครื่องมือสำคัญในการวางแผนควบคุมประเภทการใช้จ่ายของรัฐบาล หรือการก่อหนี้สาธารณะให้สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมาย เพื่อสร้างผลกระทบต่อระบบสังคมเศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศผ่านกลไกนโยบายรัฐ ทั้งด้านการผลิต การบริโภค การแจกจ่าย การแลกเปลี่ยนสินค้า สร้างสินค้าสาธารณะ และการบริการสังคม โดยนโยบายการคลังนับเป็นการแสวงหาและการใช้จ่ายเงินของรัฐบาลที่มีวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่แน่นอนในระยะสั้น ซึ่งการจัดสรรทรัพยากร.

2)อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ. โครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย มีโครงสร้างรายรับและรายจ่ายจากหลายภาคส่วนดังนี้คือ
รายรับ สามารถหารายได้โดยการจัดเก็บภาษีอากรจากผู้ผลิตและประชากรผู้มีรายได้ นอกจากนั้นยังหารายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร เช่น ค่าปรับ ค่าธรรมเนียมของรัฐวิสาหกิจต่างๆ ที่รัฐบาลเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นร่วมทุนกับเอกชน เช่น เงินนำส่งจากบริษัทการบินไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิต องค์การสุรา การท่าเรือแห่งประเทศไทย เป็นต้น ซึ่งเป็นรายได้ที่รัฐบาลได้มาใช้บริหารภายในประเทศ.
รายจ่าย มาจากการว่าจ้างแรงงาน​ข้าราชการและรายจ่ายที่รัฐบาลใช้เยียวยาให้กับประชาชนในสถานการณ์และความจำเป็นภายในประเทศ.
คำถามแบบฝึกหัดช่วงบ่าย
1)อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายงบประมาณ คือนโยบายเกี่ยวกับการใช้จ่ายและรายได้ของรัฐบาล ทั้งทางด้านรายได้และการคาดการณ์การใช้จ่ายเงิน ซึ่งสามารถนำเสนอได้ 3 รูปแบบ คือ
-งบประมาณสมดุล คือการประเมินผลของนโยบายที่ดำเนินการระหว่างปี ซึ่งความสมดุลนั้นขึ้นอยู่กับสภาพทางเศรษฐกิจ
-งบประมาณขาดดุล คือรัฐบาลใช้จ่ายเงินในการกระตุ้นเศรษฐกิจมากเกินทำให้เกิดเงินเฟ้อ
-งบประมาณเกินดุล คือสภาพทางเศรษฐกิจเจริญเติบโตแบบก้าวกระโดดทำให้รัฐบาลมีรายได้มากกว่ารายจ่าย
ดังนั้นนโยบายงบประมาณมีส่วนสำคัญ ในการกำหนดทิศทางการกำหนดนโยบายและทิศทางการบริหารประเทศ รวมถึงคาดการณ์สถาณการ์รายรับรายจ่ายภายในประเทศได้เป็นอย่างมาก.

2)อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ หนี้สาธารณะ(Public debt)หรือหนี้ของรัฐบาล คือหนี้ที่ถือโดยรัฐบาลกลาง,หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่น,องค์กรของรัฐรวมไปถึง รัฐวิสาหกิจตลอดจนการค้ำประกันหนี้สินโดยรัฐบาล ซึ่งการเกิดขึ้นของหนี้สาธารณะส่วนใหญ่ของรัฐบาลทั่วโลกมาจากการดำเนินนโยบายของรัฐแบบขาดดุลหรือรายได้ของรัฐน้อยกว่ารายจ่ายของรัฐ ทำให้ต้องมีการกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลในแต่ละรอบปีงบประมาณ การกู้เงินของรัฐบาลมีได้หลายช่องทาง รัฐอาจกู้จากสถาบันการเงินภายในประเทศเช่น ธนาคารพาณิชย์ และ ธนาคารกลาง,สถาบันการเงินต่างประเทศ,เอกชน,รัฐบาลต่างประเทศ หรือ องค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ อาทิเช่น กองทุนการเงินระหว่างประเทศไอเอ็มเอฟ),องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น(ไจก้า)เป็นต้น
โดยประเภทของหนี้สาธารณะ​แบ่งเป็น2ประเภทใหญ่ๆคือ​ แบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้และแบ่งตามแหล่งที่มาของหนี้​ แบ่งระยะเวลาการใช้หนี้สามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ หนี้ระยะสั้น หนี้ระยะกลาง และหนี้ระยะยาว.

nuengpolamat said…
แบบฝึกหัดท้ายบทช่วงเช้า - บ่าย วันที่ 16 พ.ค. 2563
นายหนึ่ง พลอามาตย์ รหัสนักศึกษา 61823451109
คำถามแบบฝึกหัดช่วงเช้า

1.) งบประมาณและการคลังสาธารณะ หมายถึงอะไร ?
ตอบ งบประมาณ คือการวางแผนการเงินในช่วงเวลาที่กำหนดชัดเจน โดยมากแล้วคือหนึ่งปี งบประมาณอาจรวมถึง ปริมาณแผนการขาย และรายได้, ปริมาณทรัพย์สิน, ค่าใช้จ่าย, สินทรัพย์, หนี้สินและกระแสเงินสด โดยที่บริษัท รัฐบาล ครอบครัว และองค์กรต่างๆ จะใช้งบประมาณเพื่อแสดงแผนกลยุทธ์ของกิจกรรมหรือผลให้สามารถวัดได้
การคลังสาธารณะ เป็นศาสตร์การคลังมุ่งเน้นศึกษาเนื้อหาสาระเกี่ยวกับหน้าที่ทางเศรษฐกิจของรัฐและมาตรการทางการคลังต่างๆ ทั้งด้านรายรับและรายจ่ายให้บรรลุผลตามเป้าหมายทางเศรษฐกิจ ส่วนความหมายทางศิลป์คือ การกำหนดนโยบายและการดำเนินการทางด้านการคลังและการเงิน การจัดหารายได้ เงินคงคลัง และการก่อหนี้ รวมถึง การใช้จ่ายของรัฐบาลซึ่งมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศเพื่อบรรลุเป้าหมายที่รัฐต้องการ
การคลังสาธารณะ เป็นบทบาทและหน้าที่ของรัฐในการจัดการกำหนดหน้าที่ว่ารัฐควรทำอะไรบ้างและมีค่าใช้จ่ายในการทำกิจกรรมนั้น ๆ เท่าใด จะหารายได้เพื่อนำมาใช้ในการจัดกิจกรรมนั้นจากไหน เป็นจำนวนเท่าใด และอย่างไร นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการออมด้วย กล่าวคือ การคลังสาธารณะเป็นกระบวนการภาคเศรษฐกิจของรัฐในการกำหนดระดับค่าใช้จ่ายรวมของระบบเศรษฐกิจผ่านการใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการต่างๆ ซึ่งภาครัฐบาลมีอิทธิพลต่อการกำหนดค่าใช้จ่ายของภาคเศรษฐกิจอื่นๆ เช่น ภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ และภาคต่างประเทศ เป็นต้น โดยการคลังสาธารณะมีบทบาททั้งทางด้านการจัดสรรทรัพยากรของรัฐ บทบาทด้านการกระจาย เช่น การกระจายความเจริญไปสู่ชนบท บทบาทด้านการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ เป็นต้น
โดยสรุปแล้วความสำคัญของการคลังสาธารณะ เป็นการควบคุมให้เกิดความสมดุลทางด้านการเงินในระบบเศรษฐกิจมิให้มีมากหรือต่ำเกินไป ให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมกับสถานการณ์
2.)อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ รายได้ของรัฐบาล​ไทยมาจาก​ การเก็บภาษี​ทั้งทางตรงและทางอ้อม​ เช่น​ ภาษี​อากร​ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา​ และยังมีรายได้จากการขายสิ่งของและบริการ​ รวมไปถึง​รายได้จากรัฐวิสาหกิจ​ต่างๆ
รายจ่าย​ มาจากการว่าจ้างแรงงาน​ข้าาชการ
รายจ่ายที่ รัฐบาลได้ใช้จ่ายไปเพื่อการบริหารงานอันเป็นภาระหน้าที่ของรัฐโดยทั่วไปและ เพื่อจัดให้มีสินค้าและบริการอันเป็นประโยชน์กับประชาชนในประเทศ


คำถามแบบฝึกหัดช่วงบ่าย
1)อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายงบประมาณ คือนโยบายเกี่ยวกับการใช้จ่ายและรายได้ของรัฐบาล ทั้งทางด้านรายได้และการคาดการณ์การใช้จ่ายเงิน ซึ่งสามารถนำเสนอได้ 3 รูปแบบ คือ
-งบประมาณสมดุล คือการประเมินผลของนโยบายที่ดำเนินการระหว่างปี ซึ่งความสมดุลนั้นขึ้นอยู่กับสภาพทางเศรษฐกิจ
-งบประมาณขาดดุล คือรัฐบาลใช้จ่ายเงินในการกระตุ้นเศรษฐกิจมากเกินทำให้เกิดเงินเฟ้อ
-งบประมาณเกินดุล คือสภาพทางเศรษฐกิจเจริญเติบโตแบบก้าวกระโดดทำให้รัฐบาลมีรายได้มากกว่ารายจ่าย
ดังนั้นนโยบายงบประมาณมีส่วนสำคัญ ในการกำหนดทิศทางการกำหนดนโยบายและทิศทางการบริหารประเทศ รวมถึงคาดการณ์สถาณการ์รายรับรายจ่ายภายในประเทศได้เป็นอย่างมาก.
2)อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ หนี้สาธารณะ หมายถึง หนี้ที่เกิดจากการกู้เงินของรัฐบาลเพื่อนำมาใช้จ่ายในนโยบายแบบขาดดุลหรือใช้ในกิจการของรัฐบาล ซึ่งการที่รัฐบาลต้องก่อหนี้สาธารณะมีหลายสาเหตุได้แก่
1.)เพื่อแก้ไขภาวะเงินฝืดและช่วยฟื้นฟูภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำ
2.)เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ
3.)การกู้ยืมหนี้ใหม่เพื่อชำระหนี้เก่า ทั้งนี้การวัดหนี้สาธารณะมักเทียบเป็นเปอร์เซ็น(%)ของ GDP เนื่องจากจะได้สามารถวัดว่าประเทศที่ก่อหนี้สาธารณะมีความสามารถในการชำระหนี้ได้เพียงใด
ประเภทของหนี้สาธารณะ
1.)ระยะสั้น(Short-Term Loan) หนี้ที่มีระยะเวลาการไถ่ถอนไม่เกิน 1 ปี
2.)หนี้ระยะกลาง(Medium-Term Loan) หนี้ที่มีกำหนดระยะเวลาชำระคนตั้งแต่ 1ถึง 5 ปี
3.)หนี้ระยะยาว(Long-Term Loan) หนี้ที่มีระยะเวลาการไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป
นางสาววาสนา ปราบบำรุง รหัสนักศึกษา 62423471010 รุ่นที่ 44 งานวันเสาร์ที่ 16/05/63
ช่วงเช้า
1.งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ งบประมาณ คือ แผนการที่คาดไว้ว่าจะต้องจ่าย โดยการคิดล่วงหน้าและแสดงออกมาเป็นตัวเลขงบประมาณ อาจแสดงออกมาในรูปของตัวเงิน จำนวนชั่วโมงในการทำงาน จำนวนผลิตภัณฑ์ จำนวนชั่วโมงเครื่องจักร เป็นต้น
ชนิดของงบประมาณ แบ่งตามชนิดของการวางแผนได้เป็น 2 ชนิด คือ
1.งบประมาณดำเนินการ เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานในหน่วยงานทุกแผนก
2.งบประมาณการเงิน ข้อมูลที่อยู่ในงบประมาณดำเนินการ สามารถนำมาคำนวณเป็นตัวเลขได้
-งบประมาณขาย เกิดจากการที่แผนกงานขายประมาณปริมาณการขายในหน่วยงานของตน มักจะทำในระยะสั้นและระยะยาว
-งบประมาณสินค้าคงเหลือ เป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการกำหนดปริมาณที่จะทำการผลิตหรือปริมาณสินค้า คงเหลือ กิจการจะต้องมีสินค้าคงเหลือเผื่อไว้สำหรับกรณีที่ต้องการสอนมากกว่าปกติ
-งบประมาณการซื้อ ต้องอาศัยงบประมาณของคงคลัง เพื่อทราบจำนวนของคงเหลือทั้งต้นและปลายงวด และงบประมาณวัตถุดิบเพื่อทราบปริมาณที่ต้องใช้ในแต่ละงวด
-งบประมาณการผลิต ต้องอาศัยข้อมูลต่างๆประกอบ ได้แก่ ปริมาณสินค้าจะขาย ปริมาณสินค้าคงเหลือ นโยบายสินค้าคงเหลือ สมรรถภาพของโรงงานปัจจัยการผลิตอื่นๆ และนโยบายการผลิต
การคลังสาธารณะ คือ การคลังสาธารณะเป็นกระบวนการภาคเศรษฐกิจของรัฐในการกำหนดระดับค่าใช้จ่ายรวมของระบบเศรษฐกิจผ่านการใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการต่าง ๆ ซึ่งภาครัฐบาลมีอิทธิพลต่อการกำหนดค่าใช้จ่ายของภาคเศรษฐกิจอื่น ๆ เช่น ภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ และภาคต่างประเทศ เป็นต้น โดยการคลังสาธารณะมีบทบาททั้งทางด้านการจัดสรรทรัพยากรของรัฐ บทบาทด้านการกระจาย เช่น การกระจายความเจริญไปสู่ชนบท บทบาทด้านการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ เป็นต้น
โดยสรุปแล้ว ความสำคัญของการคลังสาธารณะ เป็นการควบคุมให้เกิดความสมดุลทางด้านการเงินในระบบเศรษฐกิจมิให้มีมากหรือต่ำเกินไป ให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมกับสถานการณ์
2.อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ รายรับของรัฐบาล สามารถจำแนกเป็น 3 ประเภท
1.รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร
ประกอบด้วย ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม ภาษีลักษณะอนุญาตเช่น ค่าใบอนุญาตอาวุธปืน
ค่าใบอนุญาตการพนัน (เป็นรายรับด้านนี้ส่วนใหญ่ของประเทศไทย)
2. รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี
คือ รายได้ที่มีจากการประกอบธุรกรรมอย่างอื่นของรัฐได้แก่
-รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ อันได้แก่ การขายหลักทรัพย์ และ ทรัพย์สิน เช่นการขายสินทรัพย์ที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ ค่าขายผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ค่าขาย หลักทรัพย์ ค่าขายบริการและค่าเช่า เป็นต้น
-รายได้จากรัฐพาณิชย์ คือผลก าไรขององค์การของรัฐบาลรัฐวิสาหกิจ รายได้จากโรงงานยาสูบ รายได้จากการขายสลากกินแบ่งรัฐบาล (ล็อตเตอรี่) เป็นต้น
-รายได้อื่นๆ เช่น ค่าแสตมป์ ฤชา ค่าปรับ เงินรับคืนและรายได้ เบ็ดเตล็ด
3. รายรับที่ไม่ใช่รายได้
คือ -รายรับที่มาจากการกู้เงิน จากธนาคารกลาง ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์
-การกู้จากประชาชน โดยการขายพันธบัตรรัฐบาล เป็นต้น
-การยืมเงินคงคลัง ที่รัฐบาลเก็บสะสมไว้และสามารถยืมมาใช้ในปีที่รายจ่ายสูงเกินกว่ารายได้
รายจ่ายของรัฐบาล แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลัก ๆ คือ
1.รายจ่ายประจำ
*เงินเดือน+ สวัสดิการต่าง ๆ
- ข้าราชการประจ า เช่น ครู ทหาร ต ารวจ พยาบาล
- ข้าราชการการเมือง(นักการเมือง) เช่น ส.ส. ส.ว. ส.อบต. ส.อบจ. นายก อบต. ฯลฯ
-ลูกจ้างของรัฐ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย ฯลฯ
*อื่นๆ เช่น เป็นค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าบริการต่างๆ ของทางราชการ
2.รายจ่ายเพื่อการลงทุน
เช่น
-การสร้าง ถนน สะพาน โรงพยาบาล เป็นต้น
-โครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ ตามนโยบายรัฐบาล
-การลงทุน ของรัฐที่เรียกว่า รัฐพาณิชย์ ต่าง ๆ เช่น รัฐวิสาหกิจ เป็นต้น
3.ชำระหนี้ เช่น
*ในกรณีที่มีพันธะในการช าระ
-หนี้จากการกู้ยืม
-ซื้อพันธบุตรรัฐบาล (Government Bond) คืนจากประชาชน
-คืนเงินคงคลัง
นางสาววาสนา ปราบบำรุง รหัสนักศึกษา 62423471010 รุ่นที่ 44 งานวันเสาร์ที่ 16/05/63
ช่วงบ่าย
1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายงบประมาณ คือการจัดการในส่วนของรายได้ (ภาษี) และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในประเทศหรือรัฐ นโยบายงบประมาณ ยังรวมถึงนโยบายภาษีในแต่ละปีเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจะลงคะแนนเสียงสำหรับงบประมาณตามรายได้และการคาดการณ์ค่าใช้จ่าย ซึ่งสามารถนำเสนอได้ 3 รูปแบบดังนี้
1.งบประมาณสมดุล หมายถึง การที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายเท่ากับรายได้พอดี งบประมาณสมดุลจะมีข้อขำกัด ในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ เกิดภาวะเงินฝืด อัตราการว่างงานสูง การดำเนินนโยบายงบประมาณสมดุลจะไม่ช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวได้ เพราะการใช้จ่ายของรัฐบาลถูกกำหนดโดยรายได้ ดังนั้นนโยบายงบประมาณสมดุล จึงเป็นนโยบายที่ไม่ยืดหยุ่นไม่สามารถปรับได้คล่องตัวเพื่อแก้ปัญหาเศรษฐกิจได้
2.งบประมาณขาดดุล หมายถึง การที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายมากกว่ารายได้ และจำเป็นต้องนำรายรับจากเงินกู้หรือเงินคงคลังมาชดเชยการขาดดุล ปัจจุบันนักเศรษฐศาสตร์มีแนวคิดว่า การที่รายจ่ายสูงกกว่ารายได้ และรัฐบาลก่อหนี้สาธารณะมาใช้จ่ายนั้นไม่ใช้สิ่งที่เสียหาย ถ้าเงินที่กู้มาถูกใช้ในทิศทางเพื่อการเพิ่มผลผลิต การเพิ่มการลงทุน และการจ้างงาน
3.งบประมาณเกินดุล หมายถึง การที่รัฐบาลใช้จ่ายน้อยกว่ารายได้ที่จัดเก็บได้ ทำให้มีเงินเหลือเข้าเป็นเงินคงคลังเพิ่มขึ้น
2.อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ 1.แบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้ สามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ
- หนี้ระยะสั้น หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนต้นเงินกู้คืนไม่เกิน 1 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งโดยปกติแล้วมักจะมีระยะเวลาในการชำระคืนเพียง 3 เดือนหรือ 91 วัน เหตุผลที่กู้ประเภทนี้คือรายได้ประเภทต่างๆยังเข้ามาไม่ทันจึงต้องก่อหนี้ระยะสั้นเพื่อมานำใช้ก่อนหรือเพื่อนำมาใช้หนี้ประเภทระยะสั้นเดิมที่กู้ไว้ก่อนหน้านี้เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยถูกลง
- หนี้ระยะกลาง หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 1 ปีถึง 5 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ในปัจจุบันไม่นิยมในการกู้หนี้ประเภทนี้เนื่องมาจากระยะเวลาในการชำระคืนไม่ตรงกับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องกู้และต้นทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มีการชำระหนี้คืนที่ถี่เกินไป
- หนี้ระยะยาว หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 5 ปีเป็นต้นไปนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งระยะเวลาของการกู้จะยาวแค่ไหนก็จะขึ้นอยู่กับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องใช้กู้ สำหรับในประเทศที่กำลังพัฒนารวมถึงประเทศไทยด้วยหนี้ระยะยาวจะมีอายุระหว่าง 5-10 ปี แต่ในประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีอายุระหว่าง 10-30 ปี ทั้งนี้บางโครงการของประเทศที่กำลังพัฒนาอาจมีระยะเวลาในก่อหนี้นานถึง 50 ปีเนื่องจากผลตอบแทนช้ามาก

2.แบ่งตามแหล่งที่มาของหนี้ สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทคือ
- หนี้ภายในประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ที่อยู่ในประเทศโดยไม่คำนึงถึงสกุลของเงินตรา แต่โดยปกติก็มักจะกู้ตามสกุลเงินของประเทศนั้นๆ โดยอาจกู้จากเอกชน เช่น ห้างร้าน บริษัทต่างๆ ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินที่มิใช่ธนาคารพาณิชย์หรือกู้มาจากธนาคารกลางของประเทศนั้นๆเอง
- หนี้จากต่างประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ให้กู้ที่ที่มีถิ่นฐานในต่างประเทศ โดยไม่คำนึงถึงเงินตราเช่นกัน ทั้งนี้การกู้เงินในสกุลต่างประเทศนั้นจะกู้ก็ต่อเมื่อมีความจำเป็นในการใช้เงินตราเพื่อต่างประเทศซื้อสินค้าและบริการจากต่างประเทศเท่านั้น โดยสามารถกู้ได้จากสถาบันการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ธนาคารโลก (World bank) ประเทศต่างๆและตลาดเงินระหว่างประเทศ
PATCHAREE said…
แบบฝึกหัดท้ายบทช่วงเช้า - บ่าย วันที่ 16 พ.ค. 2563
นางสาวพัชรี ปิ่นดอนไพร รหัสนักศึกษา 61823451008

1.) งบประมาณและการคลังสาธารณะ หมายถึงอะไร ?
ตอบ งบประมาณ คือ แผนการที่คาดไว้ว่าจะต้องจ่าย โดยการคิดล่วงหน้าและแสดงออกมาเป็นตัวเลขงบประมาณ อาจแสดงออกมาในรูปของตัวเงิน จำนวนชั่วโมงในการทำงาน จำนวนผลิตภัณฑ์ จำนวนชั่วโมงเครื่องจักร เป็นต้น
การคลังภาคสาธารณะว่า เป็นปัญหาทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยแบ่งปัญหาเป็น 4 ประการ ดังนี้

1.ปัญหาการจัดสรรทรัพยากร
2.ปัญหาการกระจายรายได้ของประชาชาติ
3.ปัญหาการทำให้คนมีงานทำ
4.ปัญหาเสถียรภาพของระดับราคาและการพัฒนาเศรษฐกิจ

2.)อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ รายรับ สามารถหารายได้โดยการจัดเก็บภาษีอากรจากผู้ผลิตและประชากรผู้มีรายได้ นอกจากนั้นยังหารายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร เช่น ค่าปรับ ค่าธรรมเนียมของรัฐวิสาหกิจต่างๆ ที่รัฐบาลเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นร่วมทุนกับเอกชน เช่น เงินนำส่งจากบริษัทการบินไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิต องค์การสุรา การท่าเรือแห่งประเทศไทย เป็นต้น ซึ่งเป็นรายได้ที่รัฐบาลได้มาใช้บริหารภายในประเทศ.
รายจ่าย มาจากการว่าจ้างแรงงาน​ข้าราชการและรายจ่ายที่รัฐบาลใช้เยียวยาให้กับประชาชนในสถานการณ์และความจำเป็นภายในประเทศ

3).อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายงบประมาณ คือ การจัดการใส่ส่วนของรายได้(ภาษี) ปละค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในประเทศหรือรัฐ
นโยบายงบประมาณ ยังรวมถึงนโยบายภาษีในแต่ละปี เจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจะลงคะแนนเสียงสำหรับงบประมาณตามรายได้ และการคาดการณ์ค่าใช้จ่ายซึ่งสามารถนำเสนอใน 3 รูปแบบ
- งบประมาณสมดุล
- งบประมาณขาดดุล
- งบประมานเกินดุล

4).อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ 1.แบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้ สามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ

- หนี้ระยะสั้น หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนต้นเงินกู้คืนไม่เกิน 1 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งโดยปกติแล้วมักจะมีระยะเวลาในการชำระคืนเพียง 3 เดือนหรือ 91 วัน เหตุผลที่กู้ประเภทนี้คือรายได้ประเภทต่างๆยังเข้ามาไม่ทันจึงต้องก่อหนี้ระยะสั้นเพื่อมานำใช้ก่อนหรือเพื่อนำมาใช้หนี้ประเภทระยะสั้นเดิมที่กู้ไว้ก่อนหน้านี้เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยถูกลง
- หนี้ระยะกลาง หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 1 ปีถึง 5 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ในปัจจุบันไม่นิยมในการกู้หนี้ประเภทนี้เนื่องมาจากระยะเวลาในการชำระคืนไม่ตรงกับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องกู้และต้นทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มีการชำระหนี้คืนที่ถี่เกินไป
- หนี้ระยะยาว หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 5 ปีเป็นต้นไปนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งระยะเวลาของการกู้จะยาวแค่ไหนก็จะขึ้นอยู่กับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องใช้กู้ สำหรับในประเทศที่กำลังพัฒนารวมถึงประเทศไทยด้วยหนี้ระยะยาวจะมีอายุระหว่าง 5-10 ปี แต่ในประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีอายุระหว่าง 10-30 ปี ทั้งนี้บางโครงการของประเทศที่กำลังพัฒนาอาจมีระยะเวลาในก่อหนี้นานถึง 50 ปีเนื่องจากผลตอบแทนช้ามาก

2.แบ่งตามแหล่งที่มาของหนี้ สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทคือ

- หนี้ภายในประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ที่อยู่ในประเทศโดยไม่คำนึงถึงสกุลของเงินตรา แต่โดยปกติก็มักจะกู้ตามสกุลเงินของประเทศนั้นๆ โดยอาจกู้จากเอกชน เช่น ห้างร้าน บริษัทต่างๆ ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินที่มิใช่ธนาคารพาณิชย์หรือกู้มาจากธนาคารกลางของประเทศนั้นๆเอง
- หนี้จากต่างประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ให้กู้ที่ที่มีถิ่นฐานในต่างประเทศ โดยไม่คำนึงถึงเงินตราเช่นกัน ทั้งนี้การกู้เงินในสกุลต่างประเทศนั้นจะกู้ก็ต่อเมื่อมีความจำเป็นในการใช้เงินตราเพื่อต่างประเทศซื้อสินค้าและบริการจากต่างประเทศเท่านั้น โดยสามารถกู้ได้จากสถาบันการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ธนาคารโลก (World bank) ประเทศต่างๆและตลาดเงินระหว่างประเทศ
ส่งงานช่วงเช้า - บ่าย วันที่ 16 พ.ค. 2563
นาย จิตรภานุ ศรีวายะมา 61823451018
คำถามช่วงเช้า
1) งบประมาณและการคลังสาธารณะ หมายถึงอะไร ?
ตอบ นโยบายงบประมาณ คือการจัดการในส่วนของรายได้ (ภาษี) และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในประเทศหรือรัฐ นโยบายงบประมาณ ยังรวมถึงนโยบายภาษีในแต่ละปีเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจะลงคะแนนเสียงสำหรับงบประมาณตามรายได้และการคาดการณ์ค่าใช้จ่าย ซึ่งสามารถนำเสนอได้ 3 รูปแบบดังนี้
1.งบประมาณสมดุล หมายถึง การที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายเท่ากับรายได้พอดี งบประมาณสมดุลจะมีข้อขำกัด ในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ เกิดภาวะเงินฝืด อัตราการว่างงานสูง การดำเนินนโยบายงบประมาณสมดุลจะไม่ช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวได้ เพราะการใช้จ่ายของรัฐบาลถูกกำหนดโดยรายได้ ดังนั้นนโยบายงบประมาณสมดุล จึงเป็นนโยบายที่ไม่ยืดหยุ่นไม่สามารถปรับได้คล่องตัวเพื่อแก้ปัญหาเศรษฐกิจได้
2.งบประมาณขาดดุล หมายถึง การที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายมากกว่ารายได้ และจำเป็นต้องนำรายรับจากเงินกู้หรือเงินคงคลังมาชดเชยการขาดดุล ปัจจุบันนักเศรษฐศาสตร์มีแนวคิดว่า การที่รายจ่ายสูงกกว่ารายได้ และรัฐบาลก่อหนี้สาธารณะมาใช้จ่ายนั้นไม่ใช้สิ่งที่เสียหาย ถ้าเงินที่กู้มาถูกใช้ในทิศทางเพื่อการเพิ่มผลผลิต การเพิ่มการลงทุน และการจ้างงาน
3.งบประมาณเกินดุล หมายถึง การที่รัฐบาลใช้จ่ายน้อยกว่ารายได้ที่จัดเก็บได้ ทำให้มีเงินเหลือเข้าเป็นเงินคงคลังเพิ่มขึ้น
2.อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
2)อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ. โครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย มีโครงสร้างรายรับและรายจ่ายจากหลายภาคส่วนดังนี้คือ
รายรับ สามารถหารายได้โดยการจัดเก็บภาษีอากรจากผู้ผลิตและประชากรผู้มีรายได้ นอกจากนั้นยังหารายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร เช่น ค่าปรับ ค่าธรรมเนียมของรัฐวิสาหกิจต่างๆ ที่รัฐบาลเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นร่วมทุนกับเอกชน เช่น เงินนำส่งจากบริษัทการบินไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิต องค์การสุรา การท่าเรือแห่งประเทศไทย เป็นต้น ซึ่งเป็นรายได้ที่รัฐบาลได้มาใช้บริหารภายในประเทศ.
รายจ่าย มาจากการว่าจ้างแรงงานข้าราชการและรายจ่ายที่รัฐบาลใช้เยียวยาให้กับประชาชนในสถานการณ์และความจำเป็นภายในประเทศ.
คำถามแบบฝึกหัดช่วงบ่าย
1)อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายงบประมาณ คือนโยบายเกี่ยวกับการใช้จ่ายและรายได้ของรัฐบาล ทั้งทางด้านรายได้และการคาดการณ์การใช้จ่ายเงิน ซึ่งสามารถนำเสนอได้ 3 รูปแบบ คือ
-งบประมาณสมดุล คือการประเมินผลของนโยบายที่ดำเนินการระหว่างปี ซึ่งความสมดุลนั้นขึ้นอยู่กับสภาพทางเศรษฐกิจ
-งบประมาณขาดดุล คือรัฐบาลใช้จ่ายเงินในการกระตุ้นเศรษฐกิจมากเกินทำให้เกิดเงินเฟ้อ
-งบประมาณเกินดุล คือสภาพทางเศรษฐกิจเจริญเติบโตแบบก้าวกระโดดทำให้รัฐบาลมีรายได้มากกว่ารายจ่าย
ดังนั้นนโยบายงบประมาณมีส่วนสำคัญ ในการกำหนดทิศทางการกำหนดนโยบายและทิศทางการบริหารประเทศ รวมถึงคาดการณ์สถาณการ์รายรับรายจ่ายภายในประเทศได้เป็นอย่างมาก.

(คำถามช่วงบ่าย )
1)อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ. นโยบายที่จะเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของรัฐบาล ทางด้านการใช้จ่ายเงินเข้าไปในระบบเศรษฐกิจ เช่น การเพิ่มหรือลดภาษี และหนี้สิน การตัดสินใจของรัฐ เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ที่จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อระดับอุปสงค์รวม เช่น ระดับราคาสินค้า อัตราดอกเบี้ย ระดับรายได้ประชาชาติ ส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ประชาชาติ ดุลการชำระเงิน และอัตราแลกเปลี่ยน ที่มีลักษณะของการพัฒนาเป็นหลัก งบประมาณที่ดีควรจะดําเนินการจัดสรรโดยยึดหลักการพัฒนาเพื่อให้เกิดความก้าวหน้าเป็นหลัก ทั้งนี้เนื่องจากมีงบประมาณจำกัด จึงควรมีการพิจารณาจัดสรรงบประมาณตามหลักการพัฒนาที่ดีว่าด้านไหนควรมาก่อนหลัง ตามสถานการณ์และความจำเป็น
2)อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ หนี้สาธารณะ(Public debt)หรือหนี้ของรัฐบาล คือหนี้ที่ถือโดยรัฐบาลกลาง,หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่น,องค์กรของรัฐรวมไปถึง รัฐวิสาหกิจตลอดจนการค้ำประกันหนี้สินโดยรัฐบาล ซึ่งการเกิดขึ้นของหนี้สาธารณะส่วนใหญ่ของรัฐบาลทั่วโลกมาจากการดำเนินนโยบายของรัฐแบบขาดดุลหรือรายได้ของรัฐน้อยกว่ารายจ่ายของรัฐ ทำให้ต้องมีการกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลในแต่ละรอบปีงบประมาณ การกู้เงินของรัฐบาลมีได้หลายช่องทาง รัฐอาจกู้จากสถาบันการเงินภายในประเทศเช่น ธนาคารพาณิชย์ และ ธนาคารกลาง,สถาบันการเงินต่างประเทศ,เอกชน,รัฐบาลต่างประเทศ หรือ องค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ อาทิเช่น กองทุนการเงินระหว่างประเทศไอเอ็มเอฟ),องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น(ไจก้า)เป็นต้น
โดยประเภทของหนี้สาธารณะแบ่งเป็น2ประเภทใหญ่ๆคือ แบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้และแบ่งตามแหล่งที่มาของหนี้ แบ่งระยะเวลาการใช้หนี้สามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ หนี้ระยะสั้น หนี้ระยะกลาง และหนี้ระยะยาว.
นางสาวนิตย์รดี จิณะไชย รหัสนักศึกษา62423471015 รุ่นที่44
คำถามวันเสาร์ที่16พฤษภาคม2563
เช้า
1.งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ งบประมาณคือการวางแผนการเงินในช่วงเวลาที่กำหนดชัดเจนโดยมากแล้วคืนหนึ่งปีงบประมาณอาจรวมถึงปริมาณแผนการขายและรายได้, ปริมาณทรัพย์สิน, ค่าใช้จ่าย, สินทรัพย์, หนี้สินและกระแสเงินสดโดยที่บริษัทรัฐบาลครอบครัวและองค์กรต่าง ๆ จะใช้งบประมาณเพื่อแสดงแผนกลยุทธ์ของกิจกรรมหรือผลให้สามารถวัดได้
การคลังสาธารณะเป็นเรื่องของการเงินการเก็บรักษาและการใช้เงินเพื่อสนับสนุนการบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์การและดำรงค์ไว้ซึ่งเสถียรภาพความมั่นคงและความน่าเชื่อถือในทางการเงินขององค์การของรัฐ
2.อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ • รายรับรัฐบาลกลางสามารถแบ่งได้เป็นรายได้จากภาษีอากรและรายได้ท่ี ไม่ใช่ภาษีอากรรายได้ภาครัฐส่วนใหญ่จัดเก็บได้จากภาษีอากร ซึ่งประมาณร้อยละ 87.8 ของรายได้รัฐบาล
• ภาษีทางตรง (direct tax) ซึ่งเป็นภาษีที่สามารถผลักภาระภาษีให้ผู้อื่นได้ ค่อนข้างยาก ภาษเงินได้นิติบุคคลจัดเก็บได้มากเป็นอันดับ 1 คิดเป็นร้อย ละ 27.4 ในปี พ.ศ. 2556 ประกอบด้วย
–ภาษเงินได้นิติบุคคล –ภาษเงินได้บุคคลธรรมดา –ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม
• การวิเคราะห์โครงสร้างรายจ่ายภาครัฐ แบ่งเป็นรายจ่ายตามลักษณะ เศรษฐกิจและรายจ่ายตามลักษณะงาน
• รายจ่ายตามลักษณะเศรษฐกิจแบ่งเป็น
– รายจ่ายเพื่อการลงทุน (capital expenditures)
– รายจ่ายเพื่อการบริโภค (current expenditures) ในปี พ.ศ. 2556 รายจ่ายเพื่อการบริโภคคิดเป็นร้อยละ 80.8 ของรายจ่ายท้ังหมด รายจ่ายเพื่อการลงทุนคิดเป็นร้อยละ 19.2
• รายจ่ายเพื่อการลงทุนอาจให้ความหมายกว้างๆเป็น
– รายจ่ายเพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการผลิตในระบบเศรษฐกิจ ตัวอย่างเช่น การ
สร้างระบบชลประทาน การสร้างถนนหนทาง
• ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาและวิเคราะห์นโยบายการคลัง รายจ่าย ภาครัฐยังสามารถจาแนกตามกลุ่มลักษณะงาน 4 ประเภท ประกอบด้วย
• (1) การบริหารท่ัวไป
• (2) การบริการชุมชนและสังคม
• (3) การเศรษฐกิจ
• (4) ด้านอื่นๆ

• บ่าย
1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายงบประมาณ คือการจัดการใส่สวนของรายได้ (ภาษี) และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในประเทศหรือรัฐ
นโยบายงบประมาณ ยังรวมถึงนโยบายภาษี ในแต่ละปีเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจะลงคะแนนเสียงสำหรับงบประมาณตามรายได้และการคาดการณ์ค่าใช้จ่าย ซึ่งสามารถนำเสนอในสามรูปแบบ
- งบประมาณสมดุล
- งบประมาณขาดดุล
- งบประมาณเกินดุล
ดุลงบประมาณ (รายได้ – รายจ่าย) คือการประเมินผลของนโยบายงบประมาณที่ดำเนินการระหว่างปี ความสมดุลนี้จะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสภาพทางเศรษฐกิจ ระยะเวลาของการเจริญเติบโตจะมีผลในเชิงบวกต่องบประมาณสมดุล ในขณะที่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยจะมีผลในเชิงลบต่องบประมาณสมดุล
2.อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ ประเภทหนี้สาธารณะแบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้และแบ่งตามที่มาของห
1.แบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้ สามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ
- หนี้ระยะสั้น หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนต้นเงินกู้คืนไม่เกิน 1 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งโดยปกติแล้วมักจะมีระยะเวลาในการชำระคืนเพียง 3 เดือนหรือ 91 วัน เหตุผลที่กู้ประเภทนี้คือรายได้ประเภทต่างๆยังเข้ามาไม่ทันจึงต้องก่อหนี้ระยะสั้นเพื่อมานำใช้ก่อนหรือเพื่อนำมาใช้หนี้ประเภทระยะสั้นเดิมที่กู้ไว้ก่อนหน้านี้เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยถูกลง
- หนี้ระยะกลาง หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 1 ปีถึง 5 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ในปัจจุบันไม่นิยมในการกู้หนี้ประเภทนี้เนื่องมาจากระยะเวลาในการชำระคืนไม่ตรงกับความจำเป็น
- หนี้ระยะยาว หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 5 ปีเป็นต้นไปนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งระยะเวลาของการกู้จะยาวแค่ไหนก็จะขึ้นอยู่กับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องใช้กู้
2.แบ่งตามแหล่งที่มาของหนี้ สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทคือ
- หนี้ภายในประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ที่อยู่ในประเทศโดยไม่คำนึงถึงสกุลของเงินตรา แต่โดยปกติก็มักจะกู้ตามสกุลเงินของประเทศนั้นๆ โดยอาจกู้จากเอกชน เช่น ห้างร้าน บริษัทต่างๆ ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินที่มิใช่ธนาคารพาณิชย์หรือกู้มาจากธนาคารกลางของประเทศนั้นๆเอง
- หนี้จากต่างประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ให้กู้ที่ที่มีถิ่นฐานในต่างประเทศ โดยไม่คำนึงถึงเงินตราเช่นกัน ทั้งนี้การกู้เงินในสกุลต่างประเทศนั้นจะกู้ก็ต่อเมื่อมีความจำเป็นในการใช้เงินตราเพื่อต่างประเทศซื้อสินค้าและบริการจากต่างประเทศเท่านั้น โดยสามารถกู้ได้จากสถาบันการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ธนาคารโลก (World bank) ประเทศต่างๆและตลาดเงินระหว่างประเทศ


นายลัญจกร พวงศรี รหัสนักศึกษา62423471051
16/5/63
1.งบประมาณ​และการคลัง​สาธารณะ​หมายถึง​อะไร​
ตอบ.งบประมาณ ( Budget) หมายถึง การประมาณการทางการเงินหรือทรัพยากรอื่นที่กําหนดขึ้นอย่างมี
ระบบ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือควบคุมการดําเนินงานในอนาคต
งบประมาณจึงช่วยให้ทุกแผนกงานทํางานอย่างมี
เป้าหมาย ทั้งแผนกการตลาด แผนกการบริหารงานบุคคล แผนกการผลิต แผนกการจัดซื้อ แผนกการควบคุม
คุณภาพ แผนกการวิจัยและพัฒนา แผนกการจัดจําหน่าย แผนกกฎหมายและแผนกวิศวกรผู้จัดการแต่ละคนจะต้องจัดลําดับการใช้จ่ายงบประมาณ และศึกษาวิธีการที่จะจัดการงบประมาณให้รัดกุม ผู้จัดการจะต้องมีวิสัยทัศน์ในเป้าหมายโดยรวมทั้งหมดของกิจการ และค้นหาวิธีการที่จะทําให้บรรลุความสําเร็จเหล่านั้นงบประมาณนั้นมีประโยชน์ต่อการดําเนินงานขององค์กรหรือหน่วยงานทุกชนิด
การคลังสาธารณะ หมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายรับและร่ายจ่ายและการก่อหนี้ของรัฐบาลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ มีผลกระทบจากกิจกรรมการดำเนินการต่างๆ ทางการคลังของรัฐบาลที่มีต่อสังคมและประเทศชาติโดยรวม โดยมีขอบเขตเกี่ยวข้องกับงบประมาณแผ่นดิน การคลังด้านรายรับ การคลังด้านรายจ่าย และหนี้สาธารณะ


2.อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ.โครงสร้างรายรับของรัฐบาลไทย
1. ภาษีอากร หมายถึงสิ่งที่รัฐบาลบังคับเรียกเก็บจากผู้ที่มีรายได้ตามที่กำหนดไว้ เพื่อนำไปใช้ในการบริหาร
และการพัฒนาประเทศ ประกอบด้วย ภาษีทางตรง และภาษีทางอ้อม
2. การขายสิ่งของและบริการ
3. รายได้จากรัฐพาณิชย์ ประกอบด้วย ผลกาไรขององค์การรัฐบาล หน่วยงานธุรกิจที่รัฐบาลเป็นเจ้าของ
รายได้จากโรงงานยาสูบ รายได้จากส านักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล และเงินปันผลจากบริษัทที่รัฐบาลถือหุ้น
4. รายได้อื่น ประกอบด้วย ค่าแสตมป์ฤชากร และค่าปรับ เงินรับคืนและรายได้เบ็ดเตล็ด
โครงสร้างรายจ่ายของรัฐบาลไทย
1. การบริหารทั่วไป ดำเนินการตามลักษณะงานเช่นการบริหารทั่วไปของรัฐ เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับการดำเนินกิจกรรมขององค์กรนิติบัญญัติ การบริหารการเงิน การคลัง การบริหารงานบุคคลกลาง การจัดทำสถิติ การจัดการการเลือกตั้ง การบริหารงานต่างประเทศ การให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจแก่ประเทศต่าง ๆ ตลอดจนการวิจัยพื้นฐาน
2. การบริการชุมชนและสังคม ซึ่งรัฐบาลได้จัดสรรเงินงบประมาณเพื่อดำเนินงานตามลักษณะงาน
เช่นการสาธารณสุขเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดบริการสาธารณสุขทั้งการวางแผน การบริหารการดำเนินงานโรงพยาบาล สถานพยาบาลต่างๆ และการให้ความรู้และบริการด้านสุขภาพอนามัย ทั้งที่ดำเนินการโดยกระทรวงสาธารณสุขและส่วนราชการอื่น
3. การเศรษฐกิจ
การเชื้อเพลิงและพลังงาน เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการสำรวจ จัดหา พัฒนาและควบคุมทรัพยากรเชื้อเพลิงและการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานต่างๆ
4.อื่น ๆ
เช่นการชำระหนี้เงินกู้ เป็นการชำระคืนต้นเงินกู้ ค่าดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม


ช่วงบ่าย


1.อธิบาย​นโยบายงบประมาณ
ตอบ.งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามกระทรวงและหน่วยงาน
ได้จัดสรรให้แก่กระทรวงต่าง ๆ เพื่อดำเนินงาน/โครงการที่อยู่ในความรับผิดชอบ ตามภารกิจและยุทธศาสตรในการดำเนินงานของแต่ละส่วนราชการ
งบประมาณที่จัดสรรให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐธรรมนูญมีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการจัดสรรงบประมาณให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คือ
กำหนดให้มีการจัดสรรภาษีและอากร เงินอุดหนุนและรายได้อื่นให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อการดำเนินการในภารกิจที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ
ข้อมูลจาก สำนักงบประมาณ


2.อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ.ประเภทของหนี้สาธารณะ

1.ระยะสั้น(Short-Term Loan) หนี้ที่มีระยะเวลาการไถ่ถอนไม่เกิน 1 ปี
2.หนี้ระยะกลาง(Medium-Term Loan)หนี้ที่มีกำหนดระยะเวลาชำระคนตั้งแต่ 1ถึง 5 ปี
3.หนี้ระยะยาว(Long-Term Loan)หนี้ที่มีระยะเวลาการไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป

แหล่งที่มาของเงินกู้มี 2 แหล่ง

1.หนี้ภายในประเทศ(InternalDebt)เป็นการกู้ยืมจากแหล่งเงินกู้ภายในประเทศ ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารกลาง สถาบันการเงินอื่นๆ เช่น การขายพันธบัตรแก่นักลงทุนในประเทศ
2.หนี้ภายนอกประเทศ(External Debt)เป็นการกู้ยืมเงินจากต่างประเทศ ได้แก่ เอกชนต่างประเทศ รัฐบาลต่างประเทศ และสถาบันการเงินระหว่างประเทศอื่นๆ เช่น การกู้ยืมจากธนาคารระหว่างประเทศและการการขายพันธบัตรแก่นักลงทุนต่างประเทศ
งานช่วงเช้า - บ่าย วันเสาร์ที่ 16 พ.ค. 2563
น.ส.ธิญาภรณ์ เคนคูณ รหัสนักศึกษา 61423451006 รุ่น 41
คำถามช่วงเช้า
1) งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร?
ตอบ งบประมาณแผ่นดิน หมายถึง แผนเบ็ดเสร็จ ซึ่งแสดงออกในรูปตัวเงินแสดงโครงการดำเนินงานทั้งหมดในระยะหนึ่ง รวมถึงการกะประมาณการบริหารกิจกรรม โครงการและค่าใช้จ่าย ตลอดจนทรัพยากรที่จำเป็นในการสนับสนุน การดำเนินงานให้บรรลุตามแผนนี้ย่อมประกอบ ด้วยการทำงาน 3 ขั้นตอน คือ (1) การจัดเตรียม (2) การอนุมัติและ (3) การบริหาร
การคลังภาคสาธารณะ หมายถึง การคลังสาธารณะเป็นการศึกษาลักษณะทางด้านเศรษฐกิจในการทำหน้าที่และกิจกรรมของรัฐบาล และผลกระทบต่อปัจเจกชน ตลอดจนผลกระทบที่ได้รับจากปัจเจกชน ในทางปฏิบัติการคลังสาธารณะเป็นการดำเนินการจัดหารายได้และใช้จ่ายของรัฐบาล รวมทั้งก่อหนี้สาธารณะและนำเงินคงคลังที่มีอยู่ออกมาใช้ในระยะสั้นและระยะยาว เช่น การวางแผนงบประมาณ 1 ปี หรือ 5 ปี ซึ่งปกติการจัดหารายได้ของรัฐบาลมาจากภาษีอากรและรายได้อื่น ด้านการใช้จ่ายของรัฐบาลแสดงออกในรูปของงบประมาณของรัฐบาล สำหรับการจัดการการคลังเป็นหัวใจของการปฏิบัติงานของรัฐบาล เนื่องจากกิจกรรมเกือบทุกอย่างของรัฐบาลต้องใช้เงินงบประมาณ กิจกรรมของรัฐมีน้อยมากที่ไม่อาศัยเงินภาษีอากรและไม่ได้ทำเพื่อวัตถุประสงค์ของส่วนรวม นอกจากนี้ความสามารถในการใช้เงินงบประมาณยังเป็นตัวกำหนดการทำงานของรัฐบาล รวมไปถึงชัยชนะหรือความพ่ายแพ้ทางการเมือง
2) อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ รายได้หรือรายรับของรัฐบาล รัฐบาลสามารถหารายได้โดยการจัดเก็บภาษีอากรจากผู้ผลิตและประชากรผู้มีรายได้ นอกจากนั้นยังหารายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร ได้แก่ ค่าปรับ ค่าธรรมเนียม และเงินนำส่ง (รายได้) ของรัฐวิสาหกิจต่างๆ ที่รัฐบาลเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นร่วมทุนกับเอกชน เช่น เงินนำส่งจากบริษัทการบินไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิต องค์การสุรา การท่าเรือแห่งประเทศไทย เป็นต้น นอกเหนือจากการหารายได้แล้วรัฐบาลอาจมีรายรับจากการกู้ยืมจากภาคเอกชนภายในประเทศ หรือกู้ยืมจากต่างประเทศ เพื่อนำมาใช้จ่ายในการพัฒนาประเทศ
โดยสรุปโครงสร้างรายได้ของรัฐบาลมาจาก 3 ส่วน คือ
- รายได้จากภาษีอากร รายได้จากรัฐวิสาหกิจต่างๆ รวมทั้งรายได้อื่นๆ เช่น รายได้จาก ค่าปรับ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต
- เงินกู้ของรัฐบาลจากภายในและต่างประเทศ
- เงินคงคลัง ซิ่งได้แก่ เงินที่รัฐบาลสะสมไว้จากการที่มีรายรับสูงกว่ารายจ่ายในอดีต เงินคงคลังเป็นเงินสำรองที่จะนำมาใช้ในกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น
(คำถามช่วงบ่าย)
1) อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายงบประมาณ คือ การจัดการใส่สวนของรายได้ (ภาษี) และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในประเทศหรือรัฐ นโยบายที่จะเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของรัฐบาล ทางด้านการใช้จ่ายเงินเข้าไปในระบบเศรษฐกิจ เช่น การเพิ่มหรือลดภาษี และหนี้สิน การตัดสินใจของรัฐ เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ดังกล่าว จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อระดับอุปสงค์รวม เช่น ระดับราคาสินค้า อัตราดอกเบี้ย ระดับรายได้ประชาชาติ ส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ประชาชาติ ดุลการชำระเงิน และอัตราแลกเปลี่ยน นโยบายงบประมาณ ยังรวมถึงนโยบายภาษี ในแต่ละปี... นโยบายงบประมาณ คือการจัดการใส่สวนของรายได้ (ภาษี) และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในประเทศหรือรัฐ สำหรับงบประมานตามรายได้และการคาดการการณ์ใช้จ่าย ซึ่งสามารถนำเสนอใน 3 รูปแบบ
1.งบประมาณสมดุล(Balanced Budget) 2.งบประมาณขาดดุล(Deficit Budget)
3.งบประมาณเกินดุล(Surplus Budget)
ดุลงบประมาณ (รายได้-รายจ่าย) คือ การประเมินผลของนโยบายงบประมาณที่ดำเนินการระหว่างปี ความสมดุลนี้แตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับสภาพเศรษฐกิจ ระยะเวลาของการเจริญเติบโตจะมีผลเชิงบวกต่องบประมานสมดุล ในขณะที่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยจะมีผลในเชิงลบต่องบประมาณดุล
2) อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ ประเภทของหนี้สาธารณะ
1.ระยะสั้น(Short-Term Loan) หนี้ที่มีระยะเวลาการไถ่ถอนไม่เกิน 1 ปี
2.หนี้ระยะกลาง(Medium-Term Loan) หนี้ที่มีกำหนดระยะเวลาชำระคนตั้งแต่ 1ถึง 5 ปี
3.หนี้ระยะยาว(Long-Term Loan) หนี้ที่มีระยะเวลาการไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป
แหล่งที่มาของเงินกู้มี 2 แหล่ง
1.หนี้ภายในประเทศ(Internal Debt)เป็นการกู้ยืมจากแหล่งเงินกู้ภายในประเทศ ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารกลาง สถาบันการเงินอื่นๆ เช่น การขายพันธบัตรแก่นักลงทุนในประเทศ
2.หนี้ภายนอกประเทศ(External Debt) เป็นการกู้ยืมเงินจากต่างประเทศ ได้แก่ เอกชนต่างประเทศ รัฐบาลต่างประเทศ และสถาบันการเงินระหว่างประเทศอื่นๆ เช่น การกู้ยืมจากธนาคารระหว่างประเทศและการการขายพันธบัตรแก่นักลงทุนต่างประเทศ


แบบฝึกหัดท้ายบทช่วงเช้า - บ่าย วันที่ 16 พ.ค. 2563
นายะงษเทพ สมเนตร 61823451022
1.งบประมาณและการคลังสาธารณะ หมายถึงอะไร
ตอบ งบประมาณ คือการวางแผนการเงินในช่วงเวลาที่กำหนดชัดเจน โดยมากแล้วคือหนึ่งปี งบประมาณอาจรวมถึง ปริมาณแผนการขาย และรายได้, ปริมาณทรัพย์สิน, ค่าใช้จ่าย, สินทรัพย์, หนี้สินและกระแสเงินสด โดยที่บริษัท รัฐบาล ครอบครัว และองค์กรต่าง ๆ จะใช้งบประมาณเพื่อแสดงแผนกลยุทธ์ของกิจกรรมหรือผลให้สามารถวัดได้
การคลังสาธารณะ เป็นบทบาทและหน้าที่ของรัฐในการจัดการกำหนดหน้าที่ว่ารัฐควรทำอะไรบ้างและมีค่าใช้จ่ายในการทำกิจกรรมนั้น ๆ เท่าใด จะหารายได้เพื่อนำมาใช้ในการจัดกิจกรรมนั้นจากไหน เป็นจำนวนเท่าใด และอย่างไร นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการออมด้วย และเนื่องจากรัฐมีองค์กรในการปกครองหลายระดับ ยังหมายความรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางการคลังระหว่างองค์กรปกครองในแต่ละระดับด้วย ทั้งนี้การคลังสาธารณะที่ดีจะต้องดำเนินการไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
2. อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ รายรับของรัฐบาล สามารถจำแนกเป็น 3 ประเภท
1. รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร ประกอบด้วย ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม ภาษีลักษณะ อนุญาตเช่น ค่าใบอนุญาตอาวุธปืน ค่า ใบอนุญาตการพนัน
2. รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ อันได้แก่ การขายหลักทรัพย์ และ ทรัพย์สิน เช่นการขายสินทรัพย์ที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ ค่าขาย ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ค่าขาย หลักทรัพย์ ค่าขายบริการและค่าเช่า
3. รายรับที่ไม่ใช่รายได้รายรับที่มาจากการกู้เงิน จากธนาคารกลาง ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์
รายจ่าย ของรัฐ มีอยู่ 3 ประเภท
1.รายจ่ายประจำ เงินเดือน+ สวัสดิการต่าง ๆข้าราชการประจ า เช่น ครู ทหาร ตำรวจ พยาบาล >> ข้าราชการการเมือง (นักการเมือง) เช่น ส.ส. ส.ว. ส.อบต. ส.อบจ. นายก อบต. ฯลฯ >> ลูกจ้างของรัฐ พนักงานราชการ
2. จ่ายเพื่อ การลงทุน ใช้ พัฒนา ประเทศ เช่น >> การสร้าง ถนน สะพาน โรงพยาบาล เป็นต้น >> โครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ ตามนโยบายรัฐบาล >> การลงทุน ของรัฐที่เรียกว่า รัฐพาณิชย์ ต่าง ๆ เช่น รัฐวิสาหกิจ เป็นต้น
3. จ่ายในการช าระคืนเงินกู้ เช่น >> ในกรณีที่มีพันธะในการช าระ - หนี้ จากการกู้ ยืม – ซื้อพันธบัตรรัฐบาล (Government Bond) คืนจากประชาชน - คืนเงินคงคลัง
คำถามแบบฝึกหัดช่วงบ่าย
1) อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายงบประมาณ คือนโยบายเกี่ยวกับการใช้จ่ายและรายได้ของรัฐบาล ทั้งทางด้านรายได้และการคาดการณ์การใช้จ่ายเงิน ซึ่งสามารถนำเสนอได้ 3 รูปแบบ คือ
1.งบประมาณสมดุล คืองบประมาณที่รายได้ของรัฐบาลรวมกันแล้วเท่ากับรายจ่ายของรัฐบาลพอดี ดังนั้น รัฐบาลไม่จำเป็นต้องกู้เงินมาใช้จ่ายหรือนำเงินคงคลังออกมาใช้
2.งบประมาณขาดดุล คือรัฐบาลใช้จ่ายเงินในการกระตุ้นเศรษฐกิจมากเกินทำให้เกิดเงินเฟ้อ
3.งบประมาณเกินดุล คืองบประมาณที่เป็นรายได้ ของรัฐรวมกันแล้วไม่เท่ากับรายจ่ายของรัฐ ถ้า รายได้ มากกว่า รายจ่าย เรียกว่า "งบประมาณเกินดุล"
2) อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ หนี้สาธารณะ หมายถึง หนี้ที่เกิดจากการกู้เงินของรัฐบาลเพื่อนำมาใช้จ่ายในนโยบายแบบขาดดุลหรือใช้ในกิจการของรัฐบาล ซึ่งการที่รัฐบาลต้องก่อหนี้สาธารณะมีหลายสาเหตุได้แก่
เพื่อแก้ไขภาวะเงินฝืดและช่วยฟื้นฟูภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำ
เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ
การกู้ยืมหนี้ใหม่เพื่อชำระหนี้เก่า
ทั้งนี้การวัดหนี้สาธารณะมักเทียบเป็นเปอร์เซ็น ของ GDP เนื่องจากจะได้สามารถวัดว่าประเทศที่ก่อหนี้สาธารณะมีความสามารถในการชำระหนี้ได้เพียงใด
ประเภทของหนี้สาธารณะ
ระยะสั้น(Short-Term Loan) หนี้ที่มีระยะเวลาการไถ่ถอนไม่เกิน 1 ปี
หนี้ระยะกลาง(Medium-Term Loan) หนี้ที่มีกำหนดระยะเวลาชำระคนตั้งแต่ 1ถึง 5 ปี
หนี้ระยะยาว(Long-Term Loan) หนี้ที่มีระยะเวลาการไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป
แบบฝึกหัดท้ายบทช่วงเช้า วันที่ 16 พ.ค. 2563
นายสิทธิพร เลาหพูนรังษี 61823451112

1)งบประมาณและการคลังสาธารณะ หมายถึงอะไร
ตอบ งบประมาณ คือการวางแผนการเงินในช่วงเวลาที่กำหนดชัดเจน โดยมากแล้วคือหนึ่งปี งบประมาณอาจรวมถึง ปริมาณแผนการขาย และรายได้, ปริมาณทรัพย์สิน, ค่าใช้จ่าย, สินทรัพย์, หนี้สินและกระแสเงินสด โดยที่บริษัท รัฐบาล ครอบครัว และองค์กรต่าง ๆ จะใช้งบประมาณเพื่อแสดงแผนกลยุทธ์ของกิจกรรมหรือผลให้สามารถวัดได้
การคลังสาธารณะ เป็นศาสตร์การคลังมุ่งเน้นศึกษาเนื้อหาสาระเกี่ยวกับหน้าที่ทางเศรษฐกิจของรัฐและมาตรการทางการคลังต่างๆ ทั้งด้านรายรับและรายจ่ายให้บรรลุผลตามเป้าหมายทางเศรษฐกิจ ส่วนความหมายทางศิลป์คือ การกำหนดนโยบายและการดำเนินการทางด้านการคลังและการเงิน การจัดหารายได้ เงินคงคลัง และการก่อหนี้ รวมถึง การใช้จ่ายของรัฐบาลซึ่งมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศเพื่อบรรลุเป้าหมายที่รัฐต้องการ

2)อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ รายรับของรัฐบาล สามารถจำแนกเป็น 3 ประเภท
1.รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร ประกอบด้วย ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม ภาษีลักษณะอนุญาตเช่น ค่าใบอนุญาตอาวุธปืน ค่าใบอนุญาตการพนัน
2. รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี
คือ รายได้ที่มีจากการประกอบธุรกรรมอย่างอื่นของรัฐได้แก่
1.รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ อันได้แก่ การขายหลักทรัพย์ และ ทรัพย์สิน เช่นการขายสินทรัพย์ที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ ค่าขายผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ค่าขาย หลักทรัพย์ ค่าขายบริการและค่าเช่า เป็นต้น
2.รายได้จากรัฐพาณิชย์ คือผลก าไรขององค์การของรัฐบาลรัฐวิสาหกิจ รายได้จากโรงงานยาสูบ รายได้จากการขายสลากกินแบ่งรัฐบาล (ล็อตเตอรี่) เป็นต้น
3.รายได้อื่นๆเบ็ดเตล็ด
3. รายรับที่ไม่ใช่รายได้
คือรายรับที่มาจากการกู้เงิน จากธนาคารกลาง ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์
1.การกู้จากประชาชน โดยการขายพันธบัตรรัฐบาล เป็นต้น
2.การยืมเงินคงคลัง ที่รัฐบาลเก็บสะสมไว้และสามารถยืมมาใช้ในปีที่รายจ่ายสูงเกินกว่ารายได้
*รายจ่ายของรัฐบาล แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลัก ๆ คือ
1.รายจ่ายประจำ
ได้แก่เงินเดือนและสวัสดิการต่าง ๆ
1.ข้าราชการประจำ เช่น ครู ทหาร ตำรวจ พยาบาล
2.ข้าราชการการเมือง เช่น ส.ส. ส.ว. ส.อบต. ส.อบจ. นายก อบต. ฯลฯ
3.ลูกจ้างของรัฐ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย ฯลฯ
4.อื่นๆ เช่น เป็นค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าบริการต่างๆ ของทางราชการ
2.รายจ่ายเพื่อการลงทุน
ได้แก่
1.การสร้าง ถนน สะพาน โรงพยาบาล เป็นต้น
2.โครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ ตามนโยบายรัฐบาล
3.การลงทุน ของรัฐที่เรียกว่า รัฐพาณิชย์ ต่าง ๆ เช่น รัฐวิสาหกิจ เป็นต้น
แบบฝึกหัดท้ายบทช่วงบ่าย วันที่ 16 พ.ค. 2563
นายสิทธิพร เลาหพูนรังษี 61823451112

คำถามแบบฝึกหัดช่วงบ่าย
1) อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายงบประมาณ คือการจัดการใส่สวนของรายได้ (ภาษี) และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในประเทศหรือรัฐ
นโยบายงบประมาณ ยังรวมถึงนโยบายภาษี ในแต่ละปีเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจะลงคะแนนเสียงสำหรับงบประมาณตามรายได้และการคาดการณ์ค่าใช้จ่าย ซึ่งสามารถนำเสนอในสามรูปแบบ
1.งบประมาณสมดุล
2.งบประมาณขาดดุล
3.งบประมาณเกินดุล
ดุลงบประมาณ (รายได้ – รายจ่าย) คือการประเมินผลของนโยบายงบประมาณที่ดำเนินการระหว่างปี ความสมดุลนี้จะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสภาพทางเศรษฐกิจ ระยะเวลาของการเจริญเติบโตจะมีผลในเชิงบวกต่องบประมาณสมดุล ในขณะที่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยจะมีผลในเชิงลบต่องบประมาณสมดุล
2) อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ 1.แบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้ สามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ
- หนี้ระยะสั้น หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนต้นเงินกู้คืนไม่เกิน 1 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งโดยปกติแล้วมักจะมีระยะเวลาในการชำระคืนเพียง 3 เดือนหรือ 91 วัน เหตุผลที่กู้ประเภทนี้คือรายได้ประเภทต่างๆยังเข้ามาไม่ทันจึงต้องก่อหนี้ระยะสั้นเพื่อมานำใช้ก่อนหรือเพื่อนำมาใช้หนี้ประเภทระยะสั้นเดิมที่กู้ไว้ก่อนหน้านี้เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยถูกลง
- หนี้ระยะกลาง หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 1 ปีถึง 5 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ในปัจจุบันไม่นิยมในการกู้หนี้ประเภทนี้เนื่องมาจากระยะเวลาในการชำระคืนไม่ตรงกับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องกู้และต้นทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มีการชำระหนี้คืนที่ถี่เกินไป
- หนี้ระยะยาว หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 5 ปีเป็นต้นไปนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งระยะเวลาของการกู้จะยาวแค่ไหนก็จะขึ้นอยู่กับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องใช้กู้ สำหรับในประเทศที่กำลังพัฒนารวมถึงประเทศไทยด้วยหนี้ระยะยาวจะมีอายุระหว่าง 5-10 ปี แต่ในประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีอายุระหว่าง 10-30 ปี ทั้งนี้บางโครงการของประเทศที่กำลังพัฒนาอาจมีระยะเวลาในก่อหนี้นานถึง 50 ปีเนื่องจากผลตอบแทนช้ามาก
2.แบ่งตามแหล่งที่มาของหนี้ สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทคือ
- หนี้ภายในประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ที่อยู่ในประเทศโดยไม่คำนึงถึงสกุลของเงินตรา แต่โดยปกติก็มักจะกู้ตามสกุลเงินของประเทศนั้นๆ โดยอาจกู้จากเอกชน เช่น ห้างร้าน บริษัทต่างๆ ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินที่มิใช่ธนาคารพาณิชย์หรือกู้มาจากธนาคารกลางของประเทศนั้นๆเอง
- หนี้จากต่างประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ให้กู้ที่ที่มีถิ่นฐานในต่างประเทศ โดยไม่คำนึงถึงเงินตราเช่นกัน ทั้งนี้การกู้เงินในสกุลต่างประเทศนั้นจะกู้ก็ต่อเมื่อมีความจำเป็นในการใช้เงินตราเพื่อต่างประเทศซื้อสินค้าและบริการจากต่างประเทศเท่านั้น โดยสามารถกู้ได้จากสถาบันการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ธนาคารโลก (World bank) ประเทศต่างๆและตลาดเงินระหว่างประเทศ
วันเสาร์ที่ 16/5/63 ช่วงเช้า
นาย อาทิตย์ ภูครองทุ่ง รหัส62423471003 ภาคพิเศษ รุ่นที่44
แบบฝึกหัดช่วงเช้า
1.งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ งบประมาณแผ่นดินหมายถึงแผนการใชเ้งินของรัฐบาลซึ่งแสดงวัตถุประสงค์แหล่งท่ีมาของ
รายรับรายจ่ายของรัฐบาลในระยะเวลาหน่ึง โดยปกติถือเอาระยะเวลา 1 ปี คือ เริ่มจาก 1 ตุลาคม จนถึง 30 กันยายนของปีถัดไ ป
สานกับงบประมาณเป็นหน่วยราชการท่ีรับผิดชอบจัดทางบประมาณประจาปี โดยจะรวบรวม โครงการและรายจ่ายด้านต่างๆ ของหน่วยราชการทุกหน่วย รวมทั้งรัฐวิสาหกิจ

ทั้งหมดเพื่อเสนอขออนุมัติจากรัฐสภา และประกาศใช้ต่อไป
ความสำคัญของงบประมาณแผ่นดิน คือ
1) เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการควบคุมการดำเนินงานของหน่วยงานราชการต่าง ๆ ให้เป็นไป ตามนโยบาลของรัฐบาล
2) เป็นเครื่องมือของรัฐสภาในการควบคุมการใช้จ่ายเงินของรัฐบาลให้ถูกต้องเหมาะสม
3) เป็นเครื่องมือท่ีช่วยวัดประสิทธิภาพในการดำเนินการของรัฐบาล
การคลังสาธารณะ หมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายรับและร่ายจ่ายและการก่อหนี้ของรัฐบาลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ มีผลกระทบจากกิจกรรมการดำเนินการต่างๆ ทางการคลังของรัฐบาลที่มีต่อสังคมและประเทศชาติโดยรวม โดยมีขอบเขตเกี่ยวข้องกับงบประมาณแผ่นดิน การคลังด้านรายรับ การคลังด้านรายจ่าย และหนี้สาธารณะ

2.อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ รายรับและรายจ่ายของรัฐบาล รายรับของรัฐบาลหมายถึงยอดเงินรวมที่รัฐบาลจะไดร้ับจากแหล่งต่างๆประกอรายได้ รัฐบาลมีรายได้ที่สำคัญจาก ที่ต่าง ๆ ดังนี้
-รายได้จากภาษีอากรเป็นรายได้ส่วนใหญ่ของรัฐบาลโดยได้จากภาษีทั้งทางตรงและทางอ้อม
- จากการขายสิ่งของและบริการของรัฐบาล เช่น ค่าเช่า ค่าธรรมเนียม ค่าใบอนุญาต ค่าขาย หนังสือราชการค่าขายผลิตภัณฑ์ธรรมชาติค่าขายของกลางท่ียึดในคดีเป็นต้น
- รายได้จากรัฐพาณิชย์ ได้แก่ กำไรขององค์กรรัฐบาล เช่น โรงงานยาสูบ สลากกินแบ่งรัฐบาล เงินปันผลจากบริษัทท่ีรัฐบาลถือหุ้นรายได้พิเศษจากรัฐวิสาหกิจส่วนแบ่งจากธนาคารแห่งประเทศไทย
-รายได้อื่นๆเช่นค่าปรับค่าแสตมป์ฤชากรรายได้จากการผลิตรายจ่ายของรัฐบาล
รายจ่ายของรัฐบาล หมายถึง ยอดเงินรวมท่ีรัฐบาลมีอยู่ยังไม่ได้จ่ายออกไป เพื่อพัฒนาประเทศ ซึ่งรัฐบาลจะจัดทำเป็ นแผนประมาณการรายจ่าย ประจำปี รายได้ของรัฐบาล(Public Revenue) ประกอบด้วยรายได้จากภาษีอากร รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ รายได้จากรัฐพาณิชย์ และรายได้ อื่น ๆ ถ้ารายได้ของรัฐเหล่าน้ีมารวมกับเงินกู้และเงินคงคลังแล้วจะเป็นรายรับของรัฐบาล (Public Receipt) การคลังสาธารณะหรือการคลังรัฐบาล (Public Finance) หมายถึง นโยบายที่รัฐบาลกำหนดระดับและโครงสร้างของรายได้ การใช้จ่าย การเก็บภาษี และการก่อหน้ีสาธารณะ ทั้งน้ีเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ทางด้านเศรษฐกิจ
วันเสาร์ที่ 16/5/63 ช่วงบ่าย
นาย อาทิตย์ ภูครองทุ่ง รหัส62423471003 ภาคพิเศษ รุ่นที่44

แบบฝึกหัดช่วงบ่าย
1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ งบประมาณของรัฐบาล มีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ ทั้งด้านรายรับและรายจ่าย ผลกระทบจะมากน้อยขึ้นอยู่ลักษณะการใช้งบประมาณของรัฐบาลซึ่งมี3ลักษณะคือ
1) งบประมาณสมดุล หมายถึง การท่ีรัฐบาลมีการใช้จ่ายเท่ากับรายได้พอดี งบประมาณสมดุลจะมีข้อจำกัดในสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำเกิดภาวะเงินฝืดอตัราการว่างงานสูงการดำเนินนโยบายงบประมาณ สมดุลจะไม่ช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวได้ เพราะการใช้จ่ายของรัฐบาลถูกกำหนดโดยรายได้
2) งบประมาณขาดุล หมายถึง การที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายมากกว่า รายได้ และจำเป็นต้องนำรายรับ จากเงินกู้ หรือเงินคงคลังมาชดเชยการขาดดุลปัจจัย นักเศรษฐศาสตร์มีแนวคิดว่าการที่รายจ่ายสูงกว่ารายได้ และรัฐบาลก่อหน้ีสาธารณะมาใช้จ่ายนั้นไม่ใช่สิ่งที่เสียหาย ถ้าเงินที่กู้มาใช้ในการเพิ่มผลผลิต การเพิ่มการลงทุน และการจ้างงาน
3) งบประมาณเงินดุล หมายถึง การที่รัฐบาลใช้จ่ายน้อยกว่ารายได้ที่จัดเก็บได้ ทำให้มีเงินเหลือเข้าไปเป็นเงินในคงคลังเพิ่ม

2.อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ หนี้สาธารณะ หมายถึง หนี้ที่เกิดจากการกู้เงินของรัฐบาลเพื่อนำมาใช้จ่ายในนโยบายแบบขาดดุลหรือใช้ในกิจการของรัฐบาล ซึ่งการที่รัฐบาลต้องก่อหนี้สาธารณะมีหลายสาเหตุได้แก่
1.เพื่อแก้ไขภาวะเงินฝืดและช่วยฟื้นฟูภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำ
2.เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ
3.การกู้ยืมหนี้ใหม่เพื่อชำระหนี้เก่า
ทั้งนี้การวัดหนี้สาธารณะมักเทียบเป็นเปอร์เซ็น(%) ของ GDP เนื่องจากจะได้สามารถวัดว่าประเทศที่ก่อหนี้สาธารณะมีความสามารถในการชำระหนี้ได้เพียงใด
ประเภทของหนี้สาธารณะ
1.ระยะสั้น(Short-Term Loan) หนี้ที่มีระยะเวลาการไถ่ถอนไม่เกิน 1 ปี
2หนี้ระยะกลาง(Medium-Term Loan) หนี้ที่มีกำหนดระยะเวลาชำระคนตั้งแต่ 1ถึง 5 ปี
3.หนี้ระยะยาว(Long-Term Loan) หนี้ที่มีระยะเวลาการไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป
แหล่งที่มาของเงินกู้มี 2 แหล่ง
1.หนี้ภายในประเทศ(Internal Debt)เป็นการกู้ยืมจากแหล่งเงินกู้ภายในประเทศ ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารกลาง สถาบันการเงินอื่นๆ เช่น การขายพันธบัตรแก่นักลงทุนในประเทศ
2.หนี้ภายนอกประเทศ(External Debt) เป็นการกู้ยืมเงินจากต่างประเทศ ได้แก่ เอกชนต่างประเทศ รัฐบาลต่างประเทศ และสถาบันการเงินระหว่างประเทศอื่นๆ เช่น การกู้ยืมจากธนาคารระหว่างประเทศและการการขายพันธบัตรแก่นักลงทุนต่างประเทศ
แบบฝึกหัดช่วงเช้า-บ่าย วันเสาร์ที่ 16 พ.ค. 2563
นายดุษฎี ราชา รหัสนักศึกษา 61423451002 รุ่น 41

เช้า
1. งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ งบประมาณ หมายถึง แผนเบ็ดเสร็จ ซึ่งแสดงออกในรูปตัวเงินแสดงโครงการดำเนินงานทั้งหมดในระยะหนึ่ง รวมถึงการกะประมาณการบริหารกิจกรรม โครงการและค่าใช้จ่าย ตลอดจนทรัพยากรที่จำ เป็นในการสนับสนุน การดำ เนินงานให้บรรลุตามแผนนี้ย่อมประกอบด้วยการทำงาน
3 ขั้นตอน คือ (1) การจัดเตรียม (2) การอนุมัติและ (3) การบริหาร
การคลังสาธารณะ หมายถึง กระบวนการภาคเศรษฐกิจของรัฐในการกำหนดระดับค่าใช้จ่ายรวมของระบบเศรษฐกิจผ่านการใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการต่าง ๆ ซึ่งภาครัฐบาลมีอิทธิพลต่อการกำหนดค่าใช้จ่ายของภาคเศรษฐกิจอื่น ๆ เช่น ภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ และภาคต่างประเทศ
เป็นต้น


2. อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ โครงสร้างรายรับของไทย เป็นรายรับจากภาษีอากรและรายรับที่ไม่ใช่ภาษีอากร
1. ภาษีทางตรง เป็นภาษีที่สามารถผลักภาระภาษีให้ผู้อื่นได้ค่อนข้างยาก ได้แก่ ภาษีเงินได้นิติบุคคล, ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา, ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม
2. ภาษีทางอ้อม เป็นภาษีที่สามารถผลักภาระไปให้ผู้อื่นได้ง่าย ได้แก่ ภาษีสรรพสามิต และภาษีขายทั่วไป
3. ภาษีศุลกากร ประกอบด้วยภาษีนำเข้าและส่งออก เนื่องจากประเทศไทยได้ใช้นโยบายกระตุ้นการส่งออกและส่งเสริมการเคลื่อนย้ายสินค้าและทุนอย่างเสรี
4. ภาษีสรรพสามิต เป็นการจัดเก็บภาษีการขายเฉพาะอย่างส่วนใหญ่จะรู้กันในรูปภาษีบาป
เช่น ภาษีบุหรี่ และ ภาษีเหล้า
5. ภาษีสรรพสามิตอื่นๆ ที่จัดเก็บได้ค่อนข้างน้อย ประกอบด้วย เครื่องไฟฟ้า รถจักรยานยนตร์ และอื่นๆ

โครงสร้างรายจ่ายของไทย เป็นรายจ่ายตามลักษณะของเศรษฐกิจ
1. รายจ่ายเพื่อการลงทุน เป็นรายจ่ายเพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการผลิตในระบบเศรษฐกิจ เช่น การสร้างระบบชลประทาน การสร้างถนน โครงการต่างๆของภาครัฐ
2. รายจ่ายในการชำระคืนเงินกู้ เป็นรายจ่ายจากการกู้ยืมเงินจากประเทศ คืนเงินคงคลัง
3. รายจ่ายประจำ เป็นรายจ่ายเงินเดือนและสวัสดิการต่างๆ สำหรับข้าราชการประจำ, ข้าราชการการเมือง และลูกจ้างของรัฐ


บ่าย
1. อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายงบประมาณ คือ การจัดการในส่วนของรายได้ (ภาษี) และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในประเทศหรือภาครัฐ ยังรวมถึงนโยบายภาษีในแต่ละปี สำหรับงบประมาณตามรายได้และการคาดการณ์ค่าใช้จ่าย นำเสนอได้ 3 รูปแบบ ได้แก่
1. งบประมาณสมดุล คือ การที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายเท่ากับรายได้พอดี งบประมาณสมดุลจะมีข้อจำกัด ในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ เกิดภาวะเงินฝืด อัตราการว่างงานสูง
2. งบประมาณขาดดุล คือ การที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายมากกว่ารายได้ และจำเป็นต้องนำรายรับจากเงินกู้หรือเงินคงคลังมาชดเชยการขาดดุล
3. งบประมาณเกินดุล คือ การที่รัฐบาลใช้จ่ายน้อยกว่ารายได้ที่จัดเก็บได้ ทำให้มีเงินเหลือเข้าเป็นเงินคงคลังเพิ่มขึ้น


2. อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ หนี้สาธารณะ คือ หนี้ที่มาจากการดำเนินนโยบายของรัฐแบบขาดดุล หรือรายได้ของรัฐน้อยกว่ารายจ่ายของรัฐ ทำให้ต้องมีการกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลในแต่ละรอบปีงบประมาณ หนี้สาธารณะอาจจำแนกตามแหล่งเงินกู้ได้ ดังนี้
1. หนี้ภายในประเทศ เป็นหนี้สาธารณะที่เกิดขึ้นจากการที่รัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายในประเทศ เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์ สถาบันทางการเงินประเภทต่าง ๆ และประชาชน
2. หนี้ต่างประเทศหนี้ต่างประเทศ หมายถึง หนี้สาธารณะที่เกิดจากรัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายนอกประเทศ เพื่อนำมาสนับสนุนการลงทุนในโครงการต่าง ๆ ของรัฐบาล หรือค้ำประกันเงินก็ของรัฐวิสาหกิจ แหล่งเงินกู้ต่างประเทศที่สำคัญ คือ ธนาคารโลก กองทุนความร่วมมือทางเศรษฐกิจโพ้นทะเลแห่งประเทศญี่ปุ่น ธนาคารพัฒนาเอเชีย และตลาดการเงิน เป็นต้น
Nancy said…
งานวันที่ 16/5/63 ช่วงเช้า
นางสาวชฎาวัลย์ คำพันธ์ รหัส 62423471026 นักศึกษาภาคพิเศษ รุ่นที่ 44

1.งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ งบประมาณ หมายถึง แผนการที่แสดงออกเป็นตัวเลขในรูปตัวเงินที่คาดว่าจะต้องจ่าย แสดงรายละเอียดการดำเนินงานทั้งหมดในระยะเวลาหนึ่ง และการบริหารค่าใช้จ่าย งบประมาณเป็นแผนการใช้ทรัพยากรของกิจการที่จำเป็นในการสนับสนุนให้เกิดประสิทธิผลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้

การคลังสาธารณะหมายถึง การกำหนดนโยบายและการดำเนินการด้านการคลัง การเงิน การจัดหารายได้ การก่อหนี้และรายจ่ายของรัฐบาล เพื่อวางแผนควบคุมให้สอดคล้องกับนโยบาย เพื่อสร้างผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศให้บรรลุเป้าหมายผ่านนโยบายรัฐ โดยรัฐมีอิทธิพลต่อการกำหนดค่าใช้จ่ายของภาคเศรษฐกิจอื่นๆ การกำหนดระดับค่าใช้จ่ายรวมของเศรษฐกิจ ผ่านการใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการต่างๆ การจัดสรรทรัพยากรและงบประมาณ เพื่อตอบสนองความต้องการทางสังคม การกระจายรายได้และความเจริญไปสู่ชนบท การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ
ความสำคัญของการคลังสาธารณะ คือ เป็นการควบคุมให้เกิดความสมดุลทางด้านการเงินในระบบเศรษฐกิจมิให้มีมากหรือต่ำเกินไป การรักษาให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมกับสถานการณ์

2.อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ รายรับของรัฐบาล สามารถจำแนกเป็น 3 ประเภท
1.รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร ได้แก่ ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม ภาษีลักษณะอนุญาต เช่น ค่าใบอนุญาตอาวุธปืน ค่าใบอนุญาตการพนัน
2.รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี เป็นรายได้ที่มาจากการประกอบธุรกรรมอย่างอื่นของรัฐ ได้แก่
2.1 รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ เช่น การขายหลักทรัพย์และทรัพย์สิน การขายอสังหาริมทรัพย์ บริการ ค่าเช่า
2.2 รายได้จากรัฐพาณิชย์ จากผลกำไรขององค์การของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ โรงงานยาสูบ การขายสลากกินแบ่งรัฐบาล
2.3 รายได้อื่น เช่น ค่าแสตมป์ ค่าปรับ เงินรับคืนและรายได้เบ็ดเตล็ด
3.รายรับที่ไม่ใช่รายได้ รายรับที่มาจากการกู้เงินจากธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์ การกู้จากประชาชนโดยการขายพันธบัตร การยืมเงินคงคลัง

รายจ่ายของรัฐ รัฐบาลเป็นผู้บริหารงบประมาณของรัฐ รายจ่ายหลักของรัฐบาลแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
1.รายจ่ายประจำ เงินเดือนสวัสดิการต่างๆของข้าราชการ นักการเมือง ลูกจ้างของรัฐ ค่าน้ำค่าไฟ ค่าบริการต่างๆของทางราชการ
2.รายจ่ายเพื่อการลงทุนในการพัฒนาประเทศ โครงการต่างๆตามนโยบายของรัฐ การสร้างถนน การสร้างโรงพยาบาล การลงทุนรัฐพาณิชย์ต่างๆ เช่น รัฐวิสาหกิจ
3.รายจ่ายในการชำระหนี้เงินกู้ กรณีที่มีพันธะในการชำระหนี้จากการกู้เงิน การซื้อพันธบัตรรัฐบาลคืนจากประชาชน การคืนเงินคงคลัง

งานวันที่ 16/5/63 ช่วงบ่าย
1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ งบประมาณเป็นแผนการใช้จ่ายเงินของรัฐบาล แสดงวัตถุประสงค์ แหล่งที่มารายรับ รายจ่ายโครงการด้านต่างๆ ของรัฐบาลหน่วยราชการและรัฐวิสาหกิจทั้งหมดในระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติถือเอาระยะเวลา 1 ปี เริ่มจาก 1 ตุลาคม สิ้นสุดที่ 30 กันยายนของปีถัดไป
การใช้งบประมาณของรัฐบาลส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจด้านรายรับและรายจ่ายขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้งบประมาณของรัฐบาล มี 3 ลักษณะ
1.งบประมาณสมดุล คือการที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายเท่ากับรายได้พอดี งบประมาณสมดุลจะมีข้อขำกัด ในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ เกิดภาวะเงินฝืด อัตราการว่างงานสูง นโยบายงบประมาณสมดุลเป็นนโยบายที่ไม่ยืดหยุ่นไม่ช่วยแก้ปัญหาเศรษฐกิจได้ เพราะการใช้จ่ายของรัฐบาลถูกกำหนดโดยรายได้
2.งบประมาณขาดดุล คือการที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายมากกว่ารายได้ เป็นต้องกู้เงินกู้หรือเงินคงคลังมาชดเชยการขาดดุล ปัจจุบันนักเศรษฐศาสตร์มีแนวคิดว่า การที่รายจ่ายสูงกกว่ารายได้ และรัฐบาลก่อหนี้สาธารณะไม่ใช่สิ่งที่เสียหาย ถ้าเงินที่กู้มาถูกใช้เพื่อการเพิ่มผลผลิต การเพิ่มการลงทุน และการจ้างงาน
3.งบประมาณเกินดุล คือการที่รัฐบาลใช้จ่ายน้อยกว่ารายได้ที่จัดเก็บได้ ทำให้มีเงินเหลือเป็นเงินคงคลังเพิ่มขึ้น
2.อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ หนี้สาธารณะในประเทศกำลังพัฒนารัฐบาลพยายามเร่งพัฒนาเศรษฐกิจ ทำให้รายจ่ายด้านสาธารณูปโภคเพิ่มและมีแนวโน้มที่งบประมาณของรัฐบาลจะขาดดุล เพราะรายได้ของประชาชนต่ำ รัฐบาลจัดเก็บภาษีอากรได้น้อยเนื่องจากมีการเลี่ยงภาษี รัฐบาลจึงจำเป็นต้องก่อหนี้สาธารณะ ประเภทของหนี้สาธารณะ
1. หนี้ภายในประเทศ เกิดจากการที่รัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายในประเทศ เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์และจำหน่ายพันธบัตรประชาชนทั่วไปเป็นเงินกู้ระยะยาว หรือจำหน่ายตั๋วคลังซึ่งเป็นการกู้ระยะสั้น
2. หนี้ต่างประเทศ เกิดจากรัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายนอกประเทศ เช่น ธนาคารโลก ตลาดการเงิน เพื่อนำมาสนับสนุนการลงทุนของรัฐบาล หรือค้ำประกันเงินก็ของรัฐวิสาหกิจ
งานวันอาทิตย์​ ​ที่​ 17/พ.ค./63
นายพิช​ชา​ ​ดา​ระ​สวัสดิ์​ รหัส​62423471046​ รุ่น44
จงกล่าวถึง​ 1.พฤติกรรม​การบริหาร
2.บทบาททางการบริหาร​และ
3ความรับผิดชอบ​ทางการบริหาร
1.: พฤติกรรม​การบริหาร​ การบริหารต้องเป็​นไปตามหลักประชาธิปไตย​ มุ่งเน้นผลประโยชน์​ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน​ มีความเท่าเเทียมในการจัดสรรทรัพยากร​
1.2ประชาชน​มี​สิทธิ​หรือมีอิทธิพล​ในการสนับสนุนหรือไม่สนับสนุน​นโยบาย​มากขึ้น​ หรือมอบอำนาจในการตัดสินใจส่วนหนึ่งให้กับประชาชนเพื่อ​ผลประโยชน์​ส่วนรวม และให้เกิดประโยชน์​สูงสุด​
1.3​ต้อง​การบุคลากร​ที่มีความรู้, ทักษะ, ความสามารถ​ในการทำงานมากขึ้น​เพื่อพัฒนา​งานสาธารณะ​ให้เกิดประโยชน์​และครอบครุุมมากขึ้น
2.บทบาททางการบริหาร:​ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ​ในการบริหารควรคำนึงถึง
2.1 การสร้าง​ทัศนคติที่ดีต่อบุคลากร​หรือรับบุคลากร​ที่มีทัศนะคติที่ดีมาร่วมงานเพื่อให้การทำงานเป็นไปในเชิงบวก​ และบรรลุเป้หมายที่วางไว้
2.2 เปลี่ยน​แปลงมาตรฐาน​ในการตรวจสอบ​ สร้างวัฒนธรรม​ใหม่ๆโดยคำนึงถึงผลประโยชน์​ของผู้รับบริการสาธารณสุข​เป็น​หลัก
2.3 มอบหมายถ่ายโอนหน้าที่และความรับผิดชอบมากขึ้น​ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงมาตราฐานเกิดขึ้นจึงทำให้มีงาน​ หรือ​ หน้าที่ใหม่ๆเกิดขึ้น​จึงต้องมีการมอบอำนาจหน้าที่เหล่านั้นให้บุคคลากร​นำไปปฏิบัติ​ เพื่อให้บรรลุ​เป้าหมายที่วางไว้
2.4 มีความยืดหยุ่น​ในการทำงาน​ เพื่อให้การทำงานเป็นได้วยคามราบรื่น​ และไม่ส่งผลต่อทัศนคติของบุคลากร​ ระบบในการทำำ​งาน​จึงต้องมีความยืดหยุ่น​เพื่อรักษา​ คุณภาพ​และ​ประสิทธิภาพ​ในการทำงาน
2.5​ การนำเทคโนโลยี​มาใช้ให้มากขึ้น​ เพื่อให้การบริการมีความสะดวก​,รวดเร็ว​​ และทันสมัยขึ้นหน่วยงานจึงควรนำเทคโนโลยี​ต่างๆมาปรับใช้กับการให้บริการสาธารณะ
3.​:ความรับผิดชอบ​ของการบริหาร
3.1 ควบคุม​ตนเอง
3.2 บุคลากร​แต่ละคนจะต้องรู้ว่าตนทำหน้าที่และมีความรับผิดชอบ​ด้านไหน
3.3 บุคลากร​จะต้องได้รับทรัพยากร​ หรืออุปกรณ์​,เครื่องมือในการทำงานอย่างเพียงพอ​ เพื่อให้การทำงานเป็นไปอย่างราบรื่นและบรรลุเป้าหมาย
3.4 องค์การ​จะต้องเรียนรู้​ เเละปรับ
ตัวตามการเปลี่ยนแปลง​ เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อองค์กร
แบบฝึกหัดท้ายบท วันอาทิตย์ที่ 17 พ.ค. 2563
นายนธี พรมจันทร์ รหัสนักศึกษา 61423451015
1.จงกล่าวถึง​พฤติกรรม​การบริหาร?
ตอบ ​พฤติกรรม​การบริหาร คือการบริหารจัดการโดยนำหลักการเพิ่มประสิทธิภาพและการแสวงหาประสิทธิภาพเพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ ซึ่งพฤติกรรมการบริหารต้องคำนึงถึงหลักที่สำคัญคือ
1.ความเป็นประชาธิปไตย เน้นผลประโยชน์สาธารณะมากกว่าผลประโยชน์ตน
2.ภาคประชาชนทีอิทธิพลต่อการผลักดันนโยบายมากขึ้น
3.ต้องการทักษะของบุคลากรในการทำงานสู่ภาคสาธารณะมากขึ้น
อาจสรุปได้ว่าพฤติกรรม​การบริหารเป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาเพื่อเตรียมความพร้อมในการรองรับการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียในอนาคต.
2.จงกล่าวถึง​บทบาททางการบริหาร​?
ตอบ บทบาททางการบริหารมีบทบาทที่สำคัญ
1.การคำนึงถึงการบริการที่มีประสิทธิภาพจึงสร้างแนวทางในการบริหารเพื่อความสอดคล้องต่อการบริการประชาชน
2.การสร้างทัศนคติที่ดีต่อบุคลากรในการทำงานด้านการบริการภาคสาธารณะหรือชุมชน
3.เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการตรวจสอบ สร้างวัฒนธรรมใหม่เน้นผู้รับบริการเป็นหลัก
4.ถ่ายโอนหน้าที่ความรับผิดชอบมากขึ้น
5.มีมอบหมายความยืดหยุ่นในการทำงาน
6.เพิ่มทางเลือกให้ผู้รับบริการหรือภาคประชาฃนมากขึ้น
7.นำเทคโนโลยีมาใช้ในการให้บริการมากขึ้น
ดังนั้นอาจกล่าวสรุปได้ว่า บทบาทการบริหารมีส่วนสำคัญอย่างมากในการพัฒนายกระดับคุณภาพมาตรฐานและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหน่วยงานมุ่งเน้นการให้บริการแก่ประชาชนและความเจริญผาสุกของสังคม.
3.จงกล่าวถึง​ความรับผิดชอบ​ทางการบริหาร?
ตอบ ​ความรับผิดชอบ​ทางการบริหารมีปัจจัยที่สำคัญ อยู่ 2 ส่วนคือ
การควบคุมตนเอง
การควบคุมภายใน ได้แก่
  1. แต่ละคนจะต้องทำอะไร
  2. ผูกพันและยึดมั่นต่อสิ่งที่ตนเองเคยทำ
  3. แต่ละคนต้องได้รับทรัพยากรอย่างเพียงพอต่อการดำเนินงาน
  4. องค์การจะต้องเรียนรู้และปรับตัวตามสภาพการเปลี่ยนแปลงและระยะสุดท้าย  
การควบคุมภายนอกซึ่งเป็นการถ่วงดุลอำนาจของฝ่ายบริหารราชการแผ่นดิน คือบทบาทหน้าที่ขององค์กรอิสระเพื่อเป็นปากเสียงให้แก่ประชาชนทุกคน
ดังนั้นอาจกล่าวสรุปได้คือ​ความรับผิดชอบ​ทางการบริหาเป็นปัจจัยที่สำคัญของการพัฒนาโดยมุ่งเน้นการให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ เพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน รวมทั้งประสานพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือกันในการส่งเสริมและยกระดับธรรมาภิบาลในภาครัฐของประเทศสมาชิกอาเซียน อันจะนำไปสู่ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางการเมือง และความเจริญผาสุกของสังคม.
(ส่งคำถามท้ายบทช่วงเช้า) วันที่ 17/05/63
น.ส.ธวิภรณ์ ธีรเกษตรรหัสนักศึกษา 61823451107
( จงกล่าวถึง )
- พฤติกรรมการบริหาร ?
ตอบ. พฤติกรรมการบริหาร
หมายถึง การกระทำหรือการแสดงออก รวมถึงท่าทีที่ผู้บังคับบัญชาปฏิบัติต่อผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งสามารถสังเกตได้จากการบริหารงานด้านต่างๆตามลักษณะองค์ประกอบของพฤติกรรมการบริหาร 8 ด้าน ดังนี้
1. ด้านการเป็นผู้นำ หมายถึง การที่ผู้บังคับบัญชาสามารถอธิบายการปฏิบัติงาน ได้ทุกขั้นตอน มีการเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นในการปฏิบัติงาน รวมทั้งมีความสามารถในการวางแผนการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ด้านการจูงใจ หมายถึง ผู้บังคับบัญชาสามารถทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีขวัญ และกำลังใจในการทำงานโดยมีการเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการทำงาน และมีการสนับสนุนให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน
3. ด้านการติดต่อสื่อสาร หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร ข้อมูลต่างๆให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบอย่างทั่วถึง และมีการเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเข้าพบเพื่อ ปรึกษาหารือในเรื่องการปฏิบัติงาน
4. ด้านการปฏิสัมพันธ์และการมีอิทธิพลต่อกัน หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีทั้งต่อผู้ใต้บังคับบัญชาและบุคคลภายนอกมีความเอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ช่วยเหลือ ผู้ใต้บังคับบัญชาทั้งเรื่องงานและเรื่องส่วนตัว
5. ด้านการตัดสินใจ หมายถึง ผู้บังคับบัญชาสามารถนำความรู้ประสบการณ์มาใช้ในการตัดสินใจและสามารถแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดีรวมทั้งยังเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้ตัดสินใจในงานที่ตนเองรับผิดชอบได้อย่างอิสระ
6. ด้านการกำหนดเป้าหมาย หมายถึง ผู้บังคับบัญชา สามารถกำหนดเป้าหมายและทิศทางในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม และมีการเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้มีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมายการปฏิบัติงาน
7. ด้านการควบคุมการปฏิบัติงาน หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีการควบคุมการปฏิบัติงานด้วยหลักเกณฑ์ที่เป็นมาตรฐานและมีความยุติธรรม เพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ
8. ด้านกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและการฝึกอบรม หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีการกำหนดมาตรฐานในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม และมีการส่งเสริมให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเข้ารับการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะ ความรู้ และประสบการณ์ในการปฎิบัติงาน

-บทบาททางการบริหาร ?
ตอบ .1. บทบาทด้านมนุษยสัมพันธ์
- ประธาน : ตัวแทนขององค์การ
- ผู้นำ : รับผิดชอบในการจูงใจและชี้นำผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทำงานอย่างเต็มความสามารถ
- ผู้ประสานงาน เชื่อมสัมพันธไมตรี : สร้างและรักษาความสัมพันธ์กับองค์การภายนอก สร้างเครือข่าย ผูกมิตรกับบุคคลหรือกลุ่มต่างๆที่มีความสำคัญต่อองค์การ
2. บทบาททางด้านข้อมูลข่าวสาร
- ผู้แสวงหาข้อมูล ข่าวสารที่ทันสมัย เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาองค์การ
- ผู้กระจายข้อมูล เผยแพร่ข่าวสารที่ได้มา ทั้งจากภายนอกและภายในให้แก่พนักงานในองค์การ
- ผู้แถลงข่าว ประชาสัมพันธ์ ในเรื่องที่เกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน การปฏิบัติงาน และผลการดำเนินงานขององค์การไปสู่ภายนอก
3. บทบาทในการตัดสินใจ
- ผู้ประกอบการ : ศึกษาสภาพแวดล้อมและโอกาสทางธุรกิจ มีความตั้งใจทำงาน มุ่งมั่นให้งานประสบความสำเร็จ
- ผู้ขจัดความขัดแย้ง : รับผิดชอบในการแก้ไขปัญหาต่างๆที่องค์การเผชิญอยู่
- ผู้จัดสรรทรัพยากร : รับผิดชอบในการจัดสรรทรัพยากรทุกชนิด ทั้งด้านบุคคล วัตถุ และการเงิน ซึ่งมีผลต่อการตัดสินใจขององค์การ
- ผู้เจรจาต่อรอง : เป็นตัวแทนในการเจรจาต่อรองเรื่องสำคัญ เพื่อรักษาผลประโยชน์ที่องค์การควรได้รับ

-ความรับผิดชอบทางการบริหาร ?
ตอบ. 1. วางแผนงานให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
2. กำหนดกลยุทธ์ในการบริหารโครงการทั้งหมด รายละเอียดในการปฏิบัติงานตลอดทั้งโครงการ
3. ระบุและเลือกสรรทรัพยากรที่จำเป็นให้แต่ละส่วนของโครงการ เพื่อให้โครงการสามารถดำเนินงานได้
4. ควบคุมการดำเนินโครงการให้เป็นไปตามเวลาและค่าใช้จ่ายที่กำหนดไว้
5. ประสานงานกับโครงการอื่นๆเพื่อให้การดำเนินโครงการทั้งหมดของหน่วยงานเป็นไปโดยราบรื่นและบรรลุ ถึงเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
6. ติดตามและประเมินผลความก้าวหน้าของโครงการและรายงานผลการดำเนินงานให้หน่วยงานต่างๆทั้งภายนอก และภายในองค์การได้ทราบถึงความก้าวหน้าและอุปสรรคในการดำเนินโครงการ
7. นำการวิเคราะห์เวลา ค่าใช้จ่าย ผลประโยชน์ของการดำเนินโครงการและเทคนิควิธีการมาใช้ในการดำเนินงานโครงการ
8. สร้างทักษะและความเป็นผู้นำให้กับผู้บริหารโครงการทุกระดับทั้งนั้นพอให้โครงการทุกส่วนดำเนินไปด้วยดีภายใต้ความรับผิดชอบของผู้นำแต่ละระดับ
nuengpolamat said…
แบบฝึกหัดท้ายบทช่วงเช้า - บ่าย วันที่ 17 พ.ค. 2563
นายหนึ่ง พลอามาตย์ รหัสนักศึกษา 61823451109 รุ่น41
1.จงกล่าวถึง​พฤติกรรม​การบริหาร?
ตอบ ​ พฤติกรรมการบริหาร (Administrative Behavior) นักวิชาการได้ให้ความหมายของพฤติ
กรรมการบริหารไว้ดังนี้
Northcraft and Neale (1999 อ้างถึงในวันชัย มีชาติ,2548: 6) ให้ความหมายพฤติ
กรรมการบริหารว่า เป็นการศึกษาพฤติกรรมในองค์การซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการพฤติกรรม เพื่อ
ก่อให้เกิดประโยชน์จากผลงานของกลุ่มมากว่าบุคคล
Good (1973: 14) ได้ให้ความหมายของพฤติกรรมการบริหารไว้ว่าการบริหารโรงเรียน
เป็นการวินิจฉัยสั่งการควบคุม แนะนํา จัดการเกี่ยวกับกิจการของโรงเรียนให้บรรลุจุดมุ่งหมาย
ปลายทางของการศึกษาที่ตั้งไว้ภารกิจดังกล่าวจะต้องเกี่ยวกับครูนักเรียนและบุคลากรในโรงเรยนี
โปรแกรมการสอน หลักสูตรวัสดุอุปกรณและการแนะแนว
Hoy and Miskel (1982: 116) กล่าวว่า พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารที่มีความสําคัญ
และส่งผลโดยตรงต่อความสําเร็จในงานของผู้บริหาร คือ พฤติกรรมการตัดสินใจ การ
ติดต่อสื่อสาร ภาวะผู้นําและความพึงพอใจในงาน
Knezevich (1975: 5) กล่าวไว้ว่า พฤติกรรมการบริหารตามแนวคิดของนักวิชาการแต่ละ
คนต่างกันไปตามหน้าที่ความรับผิดชอบ (Responsibility) ของผูบริหารทุกคน คือ ต้องมีพฤติ
กรรมการบริหารที่เหมาะสมเพื่อนําไปสู่ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์การ
Stuat and Roskin (1983 อ้างถึงใน ปราณี เพ็ชร์น่วม, 2548: 9) กล่าวไว้ว่า พฤติ
กรรมการบริหารที่สําคัญและมีอิทธิพลต่อความสําเร็จทางการศึกษามีอยู่ 4 ประการคือ พฤติ
กรรมการบริหารด้านผู้นํา ด้านการตัดสินใจ การจูงใจและการติดต่อสื่อสาร

2.จงกล่าวถึง​บทบาททางการบริหาร​?
ตอบ ผู้บริหารเป็นผู้ที่มีบทบาทที่สำคัญต่อการบรรลุเป้าหมายขององค์กร ดังนั้นผู้บริหารจะต้องดำเนินการในบทบาทของการเป็นผู้วางแผนและการตัดสินใจ ซึ่งผู้บริหารจะต้องพิจารณาถึงปัจจัยที่จะเข้ามากระทบที่จะทำให้วัตถุประสงค์ และเป้าหมายขององค์กรโดยรวมเบี่ยงเบนไปจากที่กำหนด สำหรับบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารที่ต้องดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอนมีดังนี้
1. มีการวางแผน (Planning)
2. มีการจัดองค์กร (Organization)
3. มีการจัดคนเข้าทำงาน (Staffing)
4. มีการสั่งการ (Directing)
5. มีการควบคุม (Controlling)
ดังนั้นอาจกล่าวสรุปได้ว่า บทบาทการบริหารมีส่วนสำคัญอย่างมากในการพัฒนายกระดับคุณภาพมาตรฐานและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหน่วยงานมุ่งเน้นการให้บริการแก่ประชาชนและความเจริญผาสุกของสังคม.

3.จงกล่าวถึง​ความรับผิดชอบ​ทางการบริหาร?
ตอบ หลักความรับผิดชอบ (Accourtability)ประกอบด้วยบุคคล 2 ฝ่าย
ผู้รับมอบอำนาจ ย่อมต้องยอมรับผลพวงที่จะตามมาทั้งเชิงบวกและเชิงลบพอเกิดความผิดพลาดโยนกันไปโยนกันมาไม่ได้ ถ้าหากเป็นการบริหารราชการแผ่นดินนั้น เรามองได้จากประชาชนและรัฐบาลต้องมีศักยภาพรับผิดชอบต่อพลเมืองทุกคนในสังคมอย่างเท่าเทียมกัน
มิติของการรับผิดชอบต้องเป็นไปใน
1.มิติเชิงวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมาย คือจะให้ใครรับผิดชอบเรื่องใดมุ่งเน้น Input และ Process
2.มิติเชิงสถาบัน คือ ใครรับผิดชอบต่อใคร
ภาระรับรับผิดชอบมีลักษณะเป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างน้อย 2 ฝ่าย
ฝ่ายแรก = เป็นบุคคลผู้มอบหมายอำนาจของตนให้แก่บุคคลสักฝ่ายหนึ่ง Accountability Rolder หรือผู้ว่าจ้างหรือต้องการ Principle
ฝ่ายที่สอง = เป็นบุคคลผู้รับมอบอำนาจหน้าที่ให้กระทำการบางอย่างแทนฝ่ายแรก Accountability Rolder หรือผู้รับจ้าง/ตัวแทน (Aqent)
สรุปได้คือ​ความรับผิดชอบ​ทางการบริหาเป็นปัจจัยที่สำคัญของการพัฒนาโดยมุ่งเน้นการให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ เพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน รวมทั้งประสานพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือกันในการส่งเสริมและยกระดับธรรมาภิบาลในภาครัฐของประเทศสมาชิกอาเซียน อันจะนำไปสู่ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางการเมือง และความเจริญผาสุกของสังคม.
งานวันเสาร์ 16 พฤษภาคม 2563
นางสาว อภิญญา สืบเหล่างิ้ว รหัสนักศึกษา 61823451003 รุ่น 41
ช่วงเช้า - ช่วงบ่าย
•คำถามช่วงเช้า
1.) งบประมาณและการคลังสาธารณะ หมายถึงอะไร?
ตอบ. งบประมาณ หมายถึง แผนเบ็ดเสร็จ ซึ่งแสดงออกในรูปตัวเงินแสดงโครงการดำเนินงานทั้งหมดในระยะหนึ่ง รวมถึงการกะประมาณการบริหารกิจกรรม โครงการและค่าใช้จ่าย ตลอดจนทรัพยากรที่จำเป็นในการสนับสนุน การดำเนินงานให้บรรลุตามแผนนี้ย่อมประกอบ ด้วยการทำงาน 3 ขั้นตอน คือ (1) การจัดเตรียม (2) การอนุมัติและ (3) การบริหาร
การคลังสาธารณะ หมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายรับและร่ายจ่ายและการก่อหนี้ของรัฐบาลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ มีผลกระทบจากกิจกรรมการดำเนินการต่างๆ ทางการคลังของรัฐบาลที่มีต่อสังคมและประเทศชาติโดยรวม โดยมีขอบเขตเกี่ยวข้องกับงบประมาณแผ่นดิน การคลังด้านรายรับ การคลังด้านรายจ่าย และหนี้สาธารณะ

2) อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ. โครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย มีโครงสร้างรายรับและรายจ่ายจากหลายภาคส่วนดังนี้คือ
รายรับ สามารถหารายได้โดยการจัดเก็บภาษีอากรจากผู้ผลิตและประชากรผู้มีรายได้ นอกจากนั้นยังหารายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร เช่น ค่าปรับ ค่าธรรมเนียมของรัฐวิสาหกิจต่างๆ ที่รัฐบาลเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นร่วมทุนกับเอกชน เช่น เงินนำส่งจากบริษัทการบินไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิต องค์การสุรา การท่าเรือแห่งประเทศไทย เป็นต้น ซึ่งเป็นรายได้ที่รัฐบาลได้มาใช้บริหารภายในประเทศ.สามารถจำแนกเป็น 3 ประเภท
1. รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร
2. รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี
3. รายรับที่ไม่ใช่รายได้
รายจ่าย มาจากการว่าจ้างแรงงานข้าราชการและรายจ่ายที่รัฐบาลใช้เยียวยาให้กับประชาชนในสถานการณ์และความจำเป็นภายในประเทศ.
รายจ่ายของรัฐบาล แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลัก ๆ คือ
1. รายจ่ายประจำ
2. รายจ่ายเพื่อการลงทนุ
3. ชำระหนี้


•คำถามช่วงบ่าย
1) อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายงบประมาณ คือนโยบายเกี่ยวกับการใช้จ่ายและรายได้ของรัฐบาล ทั้งทางด้านรายได้และการคาดการณ์การใช้จ่ายเงิน ซึ่งสามารถนำเสนอได้ 3 รูปแบบ งบประมาณของรัฐบาลมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ ทั้งด้านรายรับและรายจ่าย ผลกระทบจะมากน้อยและอยู่ในลักษณะใดขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้งบประมาณของรัฐบาล ซึ่งมี3 ลักษณะ คือ
1. งบประมาณสมดุล หมายถึง การที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายเท่ากับรายได้พอดี งบประมาณสมดุลจะมีข้อ
2. งบประมาณขาดดุล หมายถึง การที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายมากกว่ารายได้ และจำเป็นต้องนำรายรับจากเงินกู้หรือเงินคงคลังมาชดเชยการขาดดุล
3. งบประมาณเกินดุล หมายถึง การที่รัฐบาลใช้จ่ายน้อยกว่ารายได้ที่จัดเก็บได้ ทำให้มีเงินเหลือเข้าเป็นเงินคงคลัง เพิ่มขึ้น

2) อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ หนี้สาธารณะ หมายถึง (Public Debt) ซึ่งเป็นความผูกพันของรัฐบาล ซึ่งเกิดจากการกู้ยืมโดยตรงและหรือเกิดจากการค้ำประกันเงินกู้ โดยรัฐบาล ปัจจุบันประเทศต่าง ๆ ก่อหนี้สาธารณะเพื่อพัฒนาและแก้ไขภาวะเศรษฐกิจมากขึ้น
การจําแนกประเภทหนี้สาธารณะ
1. จําแนกตามประเภทเครื่องมือทางการเงิน ( Financial Instrument ) ได แก การมีหนี้สาธารณะในรูปของเงินเบิกเกินบัญชี การออกหลักทรัพย  หรือตราสารทางการเงิน ไดแก การออกพันธบัตรตั๋วสัญญาใช เงิน และตั๋วเงินคลัง รวมทั้งการทําสัญญากู ยืมเงิน สินเชื่อทางการค้า และการจายเงินลวงหน้า
2. จําแนกตามภาคเศรษฐกิจ ( Sector ) ตามระบบ SNA ซึ่งเปนการจําแนก ประเภทเจ าหนี้ ไดแก นิติบุคคลที่ไมใชสถาบันการเงิน ธนาคารกลาง สถาบันการเงิน สถาบันที่ ไมหวังผลกําไรและครัวเรือน
3. จําแนกตามถิ่นที่พักอาศัย ( Residence ) ได แก หนี้ในประเทศ คือ หนี้ซึ่งมีเจ าหนี้ที่มีถิ่นพํานักอาศัยอยูในประเทศ - หนี้ตางประเทศ คือ หนี้ซึ่งมีเจ้าหนี้ที่มีถิ่นพํานักอาศัยอยูตางประเทศ


Unknown said…
แบบฝึกหัดท้ายบทวันที่16 พ.ค. 63 (ช่วงเช้า-บ่าย)
นางสาวฐานิดา จันทร์ธิ รหัส 62423471006 รุ่น 44

1.งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ งบประมาณ หมายถึง การวางแผนการเงินในช่วงเวลาที่กำหนดชัดเจนโดยมากแล้วคือหนึ่งปีงบประมาณอาจรวมถึงปริมาณแผนการขายและรายได้ ปริมาณทรัพย์สิน ค่าใช้จ่าย สินทรัพย์ หนี้สินและกระแสเงินสดโที่บริษัท รัฐบาล ครอบครัว และองค์กรต่างๆ จะได้ใช้งบประมาณเพื่อแสดงแผนกลยุทธ์ของกิจกรรมม
การคลังสาธารณะหมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายรับรายจ่ายและการก่อหนี้ของรัฐบาลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ มีผลกระทบจากกิจกรรมดำเนินการต่างๆ ทางการคลังของรัฐบาลที่มีต่อสังคมและประเทศชาติโดยรวมโดยมีขอบเขตเกี่ยวข้องกับงบประมาณแผ่นดิน การคลังด้านรายรับ-รายจ่าย และหนี้สาธารณะ

2.อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ รายรับของรัฐบาลสามารถจำแนกออกเป็น3ปะรเภท คือ
1.รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร ประกอบด้วย ภาษีทางตรง ทางอ้อม ภาษีลักษณะอนุญาตเช่น ค่าใบอนุญาตอาวุธปืน ค่าใบอนุญาตการพนัน
2.รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี คือรายได้ที่มีจากการประกอบธุรกรรมอย่างอื่นของรัฐได้แก่
2.1)รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ อันได้แก่ การขายหลักทรัพย์และทรัพย์สิน เช่นการขายสินทรัพย์ ค่าขายผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ค่าขาย หลักทรัพย์ ค่าขายบริการและค่าเช่า เป็นต้น
2.2)รายได้จการัฐพาณิชย์คือผลกำไรขององค์การของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ รายได้จากโรงงานยาสูบ รายได้จากการขายสลากกินแบ่ง(ล็อตเตอรี่)เป็นต้น
2.3)รายได้อื่น เช่น ค่าแสตมปฺ ฤชา ค่าปรับ เงินรับคืนและรายได้เบ็ดเตล็ด
3.รายรับที่ไม่ใช่รายได้ คือ รายรับที่มาจากการกู้เงิน จากธนาคารกลาง ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์
การกู้จากประชาชน โดยการขายพันธบัตรรัฐบาล เป็นต้น
การยืมเงินคงคลังที่รัฐบาลเก็บสะสมไว้และสามารถยืมมาใช้ในปีที่รายจ่ายสูงเกินกว่ารายได้


ช่วงบ่ายวันเสาร์ ที่16 พ.ค. 63

1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของรัฐบาลทางด้านใช้จ่ายเงินเข้าไปในระบบเศรษฐกิจ เช่น การเพิ่มหรือลดภาษี และหนี้สินการตัดสินใจของรัฐ เกี่ยวกับเรื่องต่างๆที่จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อระดับอุปสงค์รวม เช่น ระดับราคา สินค้า อัตราดอกเบี้ย ระดับรายได้ประชาชาติ ส่วนนประกอบของผลิตภัณฑ์ประชาชาติ ดุลการชำระเงินและอัตราแลกเปลี่ยนที่มีลักษณะของการพัฒนาเป็นหลัก งบประมาณที่ดีควรจะดำเนินการจัดสรรโดยยึดหลักการพัฒนาเพื่อให้เกิดความก้าวหน้าเป็นหลักตามสถานการณ์และความจำเป็น

2.อธิบายประเภทหนี้สาธารณะ
ตอบ หนี้สาธารณะ(public debt) คือหนี้ที่ถือโดยรัฐบาลกลาง หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรของรัฐ รวมไปถึงรัฐวิสาหกิจตลอดจนการค้ำประกันหนี้สินโดยรัฐบาลซึ่งการเกิดขึ้นของหนี้สาธารณะส่วนใหญ่ของรัฐบาลทั่วโลกมาจากการดำเนินนโยบายของรัฐแบบขาดดุลหรือก็คือรายได้ของรัฐน้อยกว่ารายจ่ายของรัฐจึงมีผลให้รัฐบาลจัดเก็บภาษีอากรได้น้อยในขณะเดียวกันรัฐบาลพยายามเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจโดยการปรับโครงสร้างพื้นฐานทำให้รายจ่ายด้านสาธารณูปโภคเพิ่มขึ้นขึ้นอย่างรวดเร็วรัฐบาลจึงจำเป็นต้องก่อหนี้สาธารณะ
Unknown said…
นส. บุตรียาภรณ์ พวงจันทร์
รหัสนักศึกษา 61423451033รุ่น41
งานช่วงเช้าวันเสาร์ที่16พฤษภาคม2563
เช้า
1. งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ งบประมาณ คือ การวางแผนการเงินในช่วงเวลาที่กำหนดชัดเจน โดยมากแล้วคือหนึ่งปี งบประมาณอาจรวมถึง ปริมาณแผนการขาย และรายได้, ปริมาณทรัพย์สิน, ค่าใช้จ่าย, สินทรัพย์, หนี้สินและกระแสเงินสด โดยที่บริษัท รัฐบาล ครอบครัว และองค์กรต่าง ๆ จะใช้งบประมาณเพื่อแสดงแผนกลยุทธ์ของกิจกรรมหรือผลให้สามารถวัดได้
การคลังสาธารณะ หมายถึง การจัดเก็บรายได้ การใช้จ่ายและการกู้ยืมของรัฐบาล เพื่อบรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจของสังคม และเป็นเรื่องของการจัดการทางเศรษฐกิจของรัฐบาลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับรายได้และรายจ่าย และหนี้สาธารณะ และเป็นนโยบายการคลังซึ่งเป็นการจัดการทางการคลังของรัฐบาลที่มีผลสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ การคลังสาธารณะมีความสำคัญในการเป็นเครื่องมือของรัฐบาล เป็นองค์ประกอบที่สำคัญยิ่งในการดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจของประเทศได้ เนื่องจากการจัดหารายได้และรายจ่ายของรัฐบาลก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจส่วนรวมด้านต่างๆ รัฐบาลที่จะประสบความสำเร็จในการบริหารประเทศจึงจำเป็นต้องมีความสามารถในการบริหารการคลังนี้ด้วย
 
2. อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
โครงสร้างรายรับและรายจ่าย
ตอบ รายรับ-รายจ่ายของรัฐ ถูกจัดสรรเพื่อการใช้จ่ายในรอบ 1 ปี คือ งบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณแผ่นดินของไทย แต่ละปีโดยรอบปีงบประมาณแผ่นดินในรอบ 1 ปี จะนับจาก 1 ต.ค.-30 ก.ย. ปีงบประมาณแผ่นดิน .......... ตัวอย่างเช่น งบประมาณแผ่นดิน ปี 2556 (1 ต.ค. 2555-30 ก.ย. 2556)
รายรับของรัฐบาล สามารถจำแนกเป็น 3 ประเภท คือ
1. รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร เช่น ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม ภาษีลักษณะ อนุญาตเช่น ค่าใบอนุญาตอาวุธปืน ค่า ใบอนุญาตการพนัน
ภาษีหมายถึง เงินที่รัฐเรียกเก็บจากบุคคลหรือนิติบุคคล เพื่อไปพัฒนาประเทศและคุณภาพชีวิตของ ประชาชนในประเทศให้เจริญและดีขึ้น ภาษีถือเป็นแหล่งรายได้สำคัญของรัฐ ซึ่งคณะผู้บริหารประเทศ ต้องนำมาจัดสรรและใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ ปรเทศ
2. รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี คือรายได้ที่มีจากการประกอบธุรกรรมอย่างอื่นของรัฐได้แก่
   2.1 รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ อันได้แก่ การขายหลักทรัพย์ และ ทรัพย์สิน เช่นการ
ขายสินทรัพย์ที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ ค่าขาย ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ค่าขาย หลักทรัพย์ ค่าขายบริการและค่าเช่า เป็นต้น
 
   2.2 รายได้จากรัฐพาณิชย์ คือผลกำไรขององค์การของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ รายได้จากโรงงาน
ยาสูบ รายได้จากการขายสลากกินแบ่งรัฐบาล (ล็อตเตอรี่) เป็นต้น
   2.3 รายได้อื่น เช่น ค่าแสตมป์ ฤชา ค่าปรับ เงินรับคืนและรายได้ เบ็ดเตล็ด
3. รายรับที่ไม่ใช่รายได้ คือ รายรับที่มาจากการกู้เงิน จากธนาคารกลาง ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์ การกู้จากประชาชน โดยการขายพันธบัตรรัฐบาล เป็นต้น การยืมเงินคงคลัง ที่รัฐบาลเก็บสะสมไว้และสามารถยืมมาใช้ในปีที่รายจ่ายสูงเกินกว่ารายได
รายจ่าย ผู้บริหารงบประมาณของรัฐ คือ รัฐบาล
รายจ่ายของรัฐบาล แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลัก ๆ คือ
1. รายจ่ายประจำ เงินเดือน+ สวัสดิการต่าง ๆ ข้าราชการประจำ เช่น ครู ทหาร ตำรวจ พยาบาล  ข้าราชการการเมือง (นักการเมือง) เช่น ส.ส. ส.ว. ส.อบต. ส.อบจ. นายก อบต. ฯลฯ ลูกจ้างของรัฐ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย ฯลฯ อื่น ๆ เช่น เป็นค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าบริการต่าง ๆ ของทางราชการ
2. รายจ่ายเพื่อการการลงทุน ใช้ในการพัฒนาประเทศ เช่น การสร้างถนน สะพาน โรงพยาบาล เป็นต้น โครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ ตามนโยบายรัฐบาล การลงทุน ของรัฐที่เรียกว่า รัฐพาณิชย์ ต่าง ๆ เช่น รัฐวิสาหกิจ เป็นต้น
3. จ่ายในการชำระคืนเงินกู้ เช่น ในกรณีที่มีพันธะในการชำระหนี้จากการกู้ยืม , ซื้อพันธบัตรรัฐบาล(Government Bond) คืนจากประชาชน และคืนเงินคงคลัง
 
Unknown said…
นส. บุตรียาภรณ์ พวงจันทร์
รหัสนักศึกษา 61423451033รุ่น41
งานช่วงบ่ายวันเสาร์ที่16พฤษภาคม2563
บ่าย
1. อธิบายนโยบายงบประมาณ
นโยบายงบประมาณ หมายถึง การจัดการในส่วนของรายได้ (ภาษี) และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในประเทศหรือรัฐ นโยบายงบประมาณยังรวมถึงนโยบายภาษีของรัฐในแต่ละปี
ลักษณะของงบประมาณ งบประมาณของรัฐบาลมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ ทั้งด้านรายรับและรายจ่าย ผลกระทบจะมากน้อยและอยู่ในลักษณะใดขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้งบประมาณของรัฐบาล ซึ่งมี 3 ลักษณะ คือ
1. งบประมาณสมดุล หมายถึง การที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายเท่ากับรายได้พอดี งบประมาณสมดุลจะมีข้อจำกัดในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ เกิดภาวะเงินฝืด อัตราการว่างงานสูง การดำเนินนโยบายงบประมาณสมดุลจะไม่ช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวได้ เพราะการใช้จ่ายของรัฐบาลถูกกำหนดโดยรายได้ ดังนั้นนโยบายงบประมาณสมดุล จึงเป็นนโยบายที่ไม่ยึดหยุ่นไม่สามารถปรับได้คล่องตัวเพื่อแก้ปัญหาเศรษฐกิจได้
2. งบประมาณขาดดุล หมายถึง การที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายมากกว่ารายได้ และจำเป็นต้องนำรายรับจากเงินกู้หรือเงินคงคลังมาชดเชยการขาดดุล ปัจจุบันนักเศรษฐศาสตร์มีแนวคิดว่า การที่รายจ่ายสูงกว่ารายได้ และรัฐบาลก่อหนี้สาธารณะมาใช้จ่ายนั้น ไม่ใช่สิ่งที่เสียหาย ถ้าเงินที่กู้มาถูกใช้ในทิศทางเพื่อการเพิ่มผลผลิต การเพิ่มการลงทุน และการจ้างงาน
3.งบประมาณเกินดุล หมายถึง การที่รัฐบาลใช้จ่ายน้อยกว่ารายได้ที่จัดเก็บได้ ทำให้มีเงินเหลือเข้าเป็นเงินคงคลังเพิ่มขึ้น
Unknown said…
นส. บุตรียาภรณ์ พวงจันทร์
รหัสนักศึกษา 61423451033รุ่น41
งานช่วงบ่ายวันเสาร์ที่16พฤษภาคม2563
ข้อ2.อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
        หนี้สาธารณะ (Public Debt) คือ หนี้ที่เกิดขึ้นจากการกู้ยืมของรัฐบาล กล่าวคือ เมื่อฐานะการเงินของรัฐบาลเกิดการขาดดุล คือ รายจ่ายมากกว่ารายรับ และรัฐบาลไม่สามารถจะหารายได้จากภาษีที่เก็บจากประชาชนมาเพื่อใช้จ่ายได้พอ ก็จะทำการกู้ยืมจากแหล่งเงินกู้ 2 แหล่ง คือ กู้ยืมจากภายในประเทศ และ กู้ยืมจากต่างประเทศ
การขาดดุลงบประมาณของรัฐบาล เกิดจากการที่มีรายจ่ายมากกว่ารายรับในปีงบประมาณนั้น เป็นเรื่องปกติที่รัฐบาลจะยอมตั้งงบประมาณแบบขาดดุลบ้าง แต่ต้องไม่มากเกินไป เมื่อขาดดุลรัฐบาลก็จะนำเงินทุนสำรองออกมาใช้ แต่ถ้านำมาใช้มากเกินไป ก็จะมีผลเสียต่อเสถียรภาพทางการคลัง และมีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนและความเชื่อมั่นของชาติต่อประเทศไทยได้ รัฐบาลมีทางแก้หลัก ๆ อยู่ 2 วิธี คือ การเพิ่มภาษี และการกู้ยืมเงิน การเพิ่มภาษีจะลดรายได้และกำลังซื้อของประชาชนและธุรกิจ และจะมีผลต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจได้ รัฐบาลจึงมักเลือกการก่อหนี้สาธารณะหรือการกู้ยืมเงิน อย่างไรก็ตามการมีหนี้สาธารณะมากเกินไปจะสร้างปัญหาในระยะยาวได้ เพราะหนี้เหล่านี้เป็นภาระที่รัฐบาลต้องชำระคืนทุกปี ถ้ามีมากเกินไปจะทำให้แต่ละปีประเทศต้องผ่อนชำระหนี้สูงและเบียดบังเงินงบประมาณที่จะนำมาพัฒนาประเทศ และการมีหนี้สาธารณะสูงเกินไปจะมีผลต่อความเชื่อมั่นต่อประเทศไทยได้
ประเภทของหนี้สาธารณะ
1.แบ่งตามระยะเวลาของเงินกู้
  1.1 หนี้ระยะสั้น (Short term) มีกำหนดเวลาใช้คือ 3 เดือน 6 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี ส่วนใหญ่จะเป็นการกู้ที่รัฐบาลมีความจำเป็นต้องใช้เงินในระยะสั้น ๆ จะออกเป็นตั๋วเงินคลัง (Treasury Bills)  หรือออกใบรับรองการเป็นหนี้ให้ การกู้ประเภทนี้จะมีอัตราดอกเบี้ยต่ำ ส่วนใหญ่รัฐบาลกู้จากธนาคารแห่งประเทศไทย
  1.2 หนี้ระยะปานกลาง (Intermediate term) คือ หนี้ที่มีกำหนดเวลาใช้คืนตั้งแต่ 1-5 ปี รัฐบาลจะออก Treasury note มาเป็นหลักฐานในการกู้
    1.3 หนี้ระยะยาว (Short term) คือ หนี้ที่มีกำหนดระยะเวลาใช้คืนตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป รัฐบาลจะออกตราสารประเภทพันธบัตรรัฐบาลออกมา โดยกำหนดจำนวนเงิน ระยะเวลาใช้คืน และดอกเบี้ย ส่วนใหญ่จะเป็นการกู้เพื่อนำไปใช้ในโครงการระยะยาว เช่น การลงทุนในโครงการสาธารณูปโภค เช่น สร้างถนน สร้างสะพานข้ามแม่น้ำ
 หนี้สาธารณะอาจจำแนกตามแหล่งเงินกู้ได้ดังนี้
1. หนี้ภายในประเทศ
หนี้ภายในประเทศ หมายถึง หนี้สาธารณะที่เกิดขึ้นจากการที่รัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายในประเทศ เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์ สถาบันทางการเงินประเภทต่าง ๆ และประชาชนทั่วไป วิธีการก่อหนี้สาธารณะภายในประเทศนั้น รัฐบาลจะจำหน่ายพันธบัตรซึ่งเป็นเงินกู้ระยะยาว หรือจำหน่ายตั๋วคลังซึ่งเป็นการกู้ระยะสั้น
2. หนี้ต่างประเทศ
หนี้ต่างประเทศ หมายถึง หนี้สาธารณะที่เกิดจากรัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายนอกประเทศ เพื่อนำมาสนับสนุนการลงทุนในโครงการต่าง ๆ ของรัฐบาล หรือค้ำประกันเงินก็ของรัฐวิสาหกิจ แหล่งเงินกู้ต่างประเทศที่สำคัญ คือ ธนาคารโลก กองทุนความร่วมมือทางเศรษฐกิจโพ้นทะเลแห่งประเทศญี่ปุ่น ธนาคารพัฒนาเอเชีย และตลาดการเงิน เป็นต้น
      การก่อหนี้สาธารณะอาจเกิดผลดีในด้าน การนำเงินไปใช้เพื่อเพิ่มผลผลิต จะทำให้อัตราการพัฒนาเศรษฐกิจรวดเร็วยิ่งขึ้น แต่ในขณะเดียวกันจะมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ กล่าวคือ ในกรณีหนี้ภายในประเทศ ถ้ารัฐบาลกู้ยืมเงินลงทุนของภาคเอกชน จะเกิดผลกระทบต่ออุปสงค์รวม ทำให้ระดับรายได้ประชาชาติและการว่าจ้างทำงานลดลง ส่วนหนี้ต่างประเทศจะส่งผลกระทบต่อเงินที่ไหลออกนอกประเทศ เนื่องจากการชำระหนี้เงินกู้และดอกเบี้ยเงินกู้แก่ต่างประเทศ
      กล่าวโดยสรุป รัฐบาลต้องใช้จ่ายรายได้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด และมีประสิทธิภาพสูงสุดในการแจกจ่ายรายได้ ต้องมีการวางแผน และดำเนินการอย่างเป็นระบบ ดังนั้นจึงมีการทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณจากหน่วยงานที่มีความจำเป็นและต้องการรายได้เพื่อนำไปใช้จ่ายตามแผนของรัฐบาลที่วางไว้
Unknown said…
งานวันอาทิตย์ที่ 17 พ.ค. 63
นางสาวฐานิดา จันทร์ธิ รหัส 62423471006 รุ่น 44

จงกล่าวถึง 1.พฤติกรรมการบริหาร
2.บทบาททางการบริหารและ
3.ความรับผิดชอบทางการบริหาร

1.)พฤติกรรมการบริหาร การบริหารต้องเป็นไปตามหลักประชาธิปไตยดดยมุ่งเน้นผลประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตนมีความเท่าเทียมในการจัดสรรทรัพยากร
1.2)ประชาชนมีสิทธิหรือมีอิทธิพลในการสนับสนุนหรอืไม่สนับสนุนนโยบายมากขึ้นฟรือมอบอำนาจในการตัดสินใจส่วนหนึ่งให้กับประชาชนเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวมและให้เกิดประโยชน์สูงสุด
1.3)ต้องการบุคลากรที่มีความรู้ ทักษะ ความสามารถในการทำงานมากขึ้นเพื่อพัฒนางานสาธารณะให้เกิดประโยชน์และครอบครุมมากขึ้น

2.บทบาททางการบริหาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารควรคำนึงถึง
2.1)การสร้างทัศนคติที่ดีต่อบุคลากรหรือรับบุคลากรที่มีทัศนคติที่ดีมาร่วมงานเพื่อให้การทำงานเป็นไปในเชิงบวกและบรรลุเป้าหมายที่วางไว้
2.2)เปลี่ยนแปลงมาตรฐานในการตรวจสอบสร้างวัฒนธรรมใหม่ๆโดยคำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้รับบริการสาธารณสุขเป็นหลัก
2.3)มอบหมายถ่ายโอนหน้าที่และความรับผิดชอบมากขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานเกิดขึ้นจึงทำให้มีงานหรือหน้าที่ใหม่ๆเกิดขึ้นจึงทำให้มีงานหรือหน้าที่ใหม่ๆเกิดขึ้นจึงต้องมีการมอบอำนาจหน้าที่เหล่านั้นให้บุคลากรนำไปปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้
2.4)มีความยืดหยุ่นในการทำงานเพื่อให้การทำงานเป็นได้ด้วยความราบรื่นและไม่ส่งผลต่อทัศนคติของบุคลากรระบบในการทำงานจึงต้องมีความยืดหยุ่นเพื่อรักษาคุณภาพและประสิทธิภาพในการทำงาน
2.5)การนำเทคโนโลยีมาใช้ให้มากขึ้นเพื่อให้การบริการมีความสะดวก รวดเร็ว และทันสมัยขึ้นหน่วยงานจึงควรนำเทคโนโลยีต่างๆมาปรับใช้กับการให้บริการสาธารณะ
3.ความรับผิดชอบของการบริหาร
3.1ควบคุมตนเอง
3.2บุคลากรแต่ละคนจะต้องรู้ว่าตนทำหน้าที่และมีความรับผิดชอบด้านไหน
3.3บุคลากรจะต้องได้รับทรัพยากรหรืออุปกรณ์ เครื่องมือ ในการทำงานอย่างเพียงพอ เพื่อให้การทำงานเป็นไปอย่างราบรื่นบรรลุเป้าหมาย
3.4องค์การจะต้องเรียนรู้และปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงเพื่อไม่ใให้เกิดผลกระทบต่อองค์กร
นางสาวเมวียา แก้วกัน
รหัสนักศึกษา 61423451152 รุ่นที่41

งานวันเสาร์ ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ.2563 (เช้า)
คำถาม 1.งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ งบประมาณ หมายถึง แผนเบ็ดเสร็จซึ่งแสดงออกในรูปตัวเงินแสดงโครงการดําเนินงานทั้งหมดในระยะหนึ่ง รวมถึงการกะประมาณการบริหารกิจกรรมโครงการ และค่าใช้จ่ายตลอดจนทรัพยากรที่จําเป็นในการสนับสนุน การดําเนินงานให้บรรลุตามแผนนี้ ประกอบด้ใวยการทํางาน 3 ขั้นตอน คือ
1.การจัดเตรียม
2.การอนุมัติ
3.การบริหาร
การคลังสาธารณะ หมายถึง เป็นการบริหารงานของรัฐบาลในลักษณะเป็นแนวทางในการจัดสรรการใช้ทรัพยากรของสังคม ตามท่ีแต่ละระบบเศรษฐกิจจะกำหนดขึ้นเพื่อปฏิบัติ การจัดการการคลังสาธารณะโดยทั่วไปจะเกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนงบประมาณ รายรับ รายจ่ายของรัฐบาล โดยอาศัยตัวแปรที่สำคัญ เช่น ภาษีอากร งบประมาณแผ่นดิน หนี้สาธารณะ

คำถาม 2.อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ รายได้หรือรายรับของรัฐบาล รัฐบาลสามารถหารายได้โดยการจัดเก็บภาษีอากรจากผู้ผลิตและประชากรผู้มีรายได้ นอกจากนั้นยังหารายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร ได้แก่ ค่าปรับ ค่าธรรมเนียม และเงินนำส่ง ของรัฐวิสาหกิจต่างๆ ที่รัฐบาลเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นร่วมทุนกับเอกชน เช่น เงินนำส่งจากบริษัทการบินไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิต องค์การสุรา การท่าเรือแห่งประเทศไทย เป็นต้น
นอกเหนือจากการหารายได้แล้ว รัฐบาลอาจมีรายรับจากการกู้ยืมจากภาคเอกชนภายในประเทศ หรือกู้ยืมจากต่างประเทศ เพื่อนำมาใช้จ่ายในการพัฒนาประเทศ
โครงสร้างรายได้ของรัฐบาลมาจาก 3 ส่วน คือ
-รายได้จากภาษีอากร รายได้จากรัฐวิสาหกิจต่างๆ รวมทั้งรายได้อื่นๆ เช่น รายได้จาก ค่าปรับ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต
-เงินกู้ของรัฐบาลจากภายในและต่างประเทศ
-เงินคงคลัง ซิ่งได้แก่ เงินที่รัฐบาลสะสมไว้จากการที่มีรายรับสูงกว่ารายจ่ายในอดีต เงินคงคลังเป็นเงินสำรองที่จะนำมาใช้ในกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น
นางสาวเมวียา แก้วกัน
รัหสนักศึกษา 61423451152 รุ่นที่41

งานวันเสาร์ ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ.2563 (บ่าย)
คำถาม 1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายงบประมาณ คือการจัดการใส่สวนของรายได้ (ภาษี) และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในประเทศหรือรัฐ
นโยบายงบประมาณ ยังรวมถึงนโยบายภาษี ในแต่ละปีเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจะลงคะแนนเสียงสำหรับงบประมาณตามรายได้และการคาดการณ์ค่าใช้จ่าย ซึ่งสามารถนำเสนอใน 3 รูปแบบ
1.งบประมาณสมดุล
2.งบประมาณขาดดุล
3.งบประมาณเกินดุล
ดุลงบประมาณ (รายได้ – รายจ่าย) คือการประเมินผลของนโยบายงบประมาณที่ดำเนินการระหว่างปี ความสมดุลนี้จะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสภาพทางเศรษฐกิจ ระยะเวลาของการเจริญเติบโตจะมีผลในเชิงบวกต่องบประมาณสมดุล ในขณะที่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยจะมีผลในเชิงลบต่องบประมาณสมดุล


คำถาม 2.อธิบายประเภทหนี้สาธารณะ
ตอบ หนี้สาธารณะประกอบด้วย
1.แบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้ สามารถแบ่ง 3 ประเภท ได้แก่
-หนี้ระยะสั้น หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนต้นเงินกู้คืนไม่เกิน 1 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งโดยปกติแล้วมักจะมีระยะเวลาในการชำระคืนเพียง 3 เดือนหรือ 91 วัน เหตุผลที่กู้ประเภทนี้คือรายได้ประเภทต่างๆยังเข้ามาไม่ทันจึงต้องก่อหนี้ระยะสั้นเพื่อมานำใช้ก่อนหรือเพื่อนำมาใช้หนี้ประเภทระยะสั้นเดิมที่กู้ไว้ก่อนหน้านี้เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยถูกลง
-หนี้ระยะกลาง หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 1 ปีถึง 5 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ในปัจจุบันไม่นิยมในการกู้หนี้ประเภทนี้เนื่องมาจากระยะเวลาในการชำระคืนไม่ตรงกับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องกู้และต้นทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มีการชำระหนี้คืนที่ถี่เกินไป
-หนี้ระยะยาว หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 5 ปีเป็นต้นไปนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งระยะเวลาของการกู้จะยาวแค่ไหนก็จะขึ้นอยู่กับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องใช้กู้ สำหรับในประเทศที่กำลังพัฒนารวมถึงประเทศไทยด้วยหนี้ระยะยาวจะมีอายุระหว่าง 5-10 ปี แต่ในประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีอายุระหว่าง 10-30 ปี ทั้งนี้บางโครงการของประเทศที่กำลังพัฒนาอาจมีระยะเวลาในก่อหนี้นานถึง 50 ปีเนื่องจากผลตอบแทนช้ามาก
2.แบ่งตามแหล่งที่มาของหนี้ สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท ได้แก่
- หนี้ภายในประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ที่อยู่ในประเทศโดยไม่คำนึงถึงสกุลของเงินตรา แต่โดยปกติก็มักจะกู้ตามสกุลเงินของประเทศนั้นๆ โดยอาจกู้จากเอกชน เช่น ห้างร้าน บริษัทต่างๆ ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินที่มิใช่ธนาคารพาณิชย์หรือกู้มาจากธนาคารกลางของประเทศนั้นๆเอง
- หนี้จากต่างประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ให้กู้ที่ที่มีถิ่นฐานในต่างประเทศ โดยไม่คำนึงถึงเงินตราเช่นกัน ทั้งนี้การกู้เงินในสกุลต่างประเทศนั้นจะกู้ก็ต่อเมื่อมีความจำเป็นในการใช้เงินตราเพื่อต่างประเทศซื้อ สินค้าและบริการจากต่างประเทศเท่านั้น โดยสามารถกู้ได้จากสถาบันการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ธนาคารโลก (World bank) ประเทศต่างๆและตลาดเงินระหว่างประเทศ
นางสาวเมวียา แก้วกัน
รหัสนักศึกษา 61423451152 รุ่นที่41

งานวันอาทิตย์ ที่17 พฤษภาคม พ.ศ.2563
คำถาม 1.จงกล่าวถึงพฤติกรรมการบริหาร
ตอบ พฤติกรรมการบริหาร หมายถึงการกระทำที่ผู้บริหารแสดงออกทั้งทางกายภาพและทางอารมณ์ต่อผู้ร่วมงานเพื่อให้การดำเนินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งต้องการจากองค์ประกอบสำคัญ 8 ประการ ได้แก่ ภาวะผู้นำ การจูงใจ การติดต่ดสื่อสาร การปฏิสัมพันธ์ การตัดสินใจ การกำหนดเป้าหมาย การควบคุมงาน การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและการฝึกอบรม
1.ภาวะผู้นำ
การเป็นผู้นำเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการบริหารงานเพราะผู้นำเป็นจุดรวมพลังร่วมของบุคลากร ผู้นำจึงเป็นเสมือนหลักชัยในการดำเนินงานโดยเฉพาะต่อผู้ใต้บังคับบัญชาและต่ผลงานในส่วนรวม ความสามารถและลักษณะของผู้นำจึงมีความสัมพันธ์กับคุณภาพขององค์กร
2.การจูงใจ
การบริหารเพื่อให้ได้ผลสำเร็จตามเป้าหมายและผู้ใต้บังคับบัญชาทำงานด้วยความเต็มใจผู้บริหารต้องเข้าใจพฤติกรรมของบุคคลซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้บริหารจะสามารถนำไปใช้ในการบริหารบุคคลให้มีประสิทธิภาพสูงสุด การจูงใจผู้ปฏิบัติงานต้องอาศัยความมีศิลปะของหัวหน้างานใช้ความสามารถของการเป็นผู้นำทำการจูงใจรวมทั้งส่งเสริมขวัญ กำลังใจให้เกิดความพยายาม ทุ่มเทตั้งใจทำงานให้สำเร็จลุล่วงอย่างดีที่สุด
3.การปฏิสัมพันธ์
การบริหารมืออาชีพจะต้องเป็นผู้ที่มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับทุกคนทั้งเจ้านาย ลูกน้อง เพื่อน และบุคคลทั่วไป
4.การติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารเป็นการแลกเปลี่ยนที่มีทั้งการให้และการรับข่าวสาร เป็นกระบวนการที่เป็นศูนย์กลางที่สำคัญที่สุดในการก่อให้เกิดความเข้าใจ ความร่วมมือและสร้างขวัญของบุคลากรในหน่วยงานให้งานก้าวหน้าและประสบความสำเร็จด้วยดี
5.การตัดสินใจ
การตัดสินใจเป็นกระบวนการที่สำคัญต่อภาวะการเป็นผู้นำในการบริหารงานถือเป็นหัวใจของการบริหาร และกิจวัตรประจำวันของผู้บริหารคือการเผชิญและแก้ไขปัญหาทั้งที่ไม่เห็นด้วยและเห็นด้วยกับปัญหาเหล่านั้น
6.การกำหนดเป้าหมาย
การปฏิบัติงานในสถานศึกษามีลักษณะเช่นเดียวกับการปฏิบัติงานในองค์กรทั่วไปคือต้องมีเป้าหมายในการดำเนินงาน ทุกหน่วยงานและทุกองค์กรจะมีการกำหนดเป้าหมายขึ้นเพื่อจะได้ทราบว่าองค์การหรือหน่วยงานต้องการความสำเร็จในเรื่องอะไร
7.การควบคุมงาน
การควบคุมงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้เป็นขั้นตอนจำเป็นและสำคัญในการบริหารงานตามที่วางแผ่นไว้ในระหว่างการดำเนินการถ้าปราศจากการควบคุมหรือการควบคุมไม่รัดกุมดีพอก็จะทำให้เกิดปัญหาในการบริหารงานได้
8. การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและการฝึกอบรม
ผู้บริหารมีการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานอย่างเหมาะสม และส่งเสริมผู้ใต้บังคับบัญชาเข้าฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะ ความรู้และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน

2.จงกล่าวถึงบทบาททางการบริหาร
ตอบ บทบาททางการบริหาร มี 3 ด้าน ดังนี้
1.ด้านผู้ประชาสัมพันธ์ มีบทบาทดังนี้
-เป็นผู้แถลงข่าว โดยประกาศประชาสัมพันธ์ หรือให้เนื้อหาเกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน และผลการดำเนินงานไปยังองค์การอื่นๆ
-เป็นผู้เผยแพร่ข้อมูล โดยให้ข้อมูล ข้อเท็จจริงต่างๆ ให้กับพนักงานและหน่วยงานต่างๆในองค์การ
-เป็นผู้รับข้อมูล ติดตาม เก็บข้อมูลทั้งภายในและภายนอกองค์การ
2. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
-เป็นผู้นำ ให้การส่งเสริม พัฒนา หรือจูงใจให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา
-เป็นหัวโขน ทำหน้าที่เป็นตัวแทนหน่วยงาน เช่น เป็นประธานเปิดงาน ปิดงาน ร่วมงานต่างๆ เป็นต้น
-ผู้ประสานงาน ทั้งภายในและภายนอก
3. ด้านการตัดสินใจ
-ผู้จัดทรัพยากร ให้แก่งานต่างๆภายในองค์การอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
-ผู้เจรจาต่อรอง กับพนกงาน หรือกับองค์การอื่นๆ
-ผู้ประกอบการ เริ่มงาน หรือแสวงหาโอกาสใหม่ๆ

3.จงกล่าวถึงความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ ความรับผิดชอบทางการบริหาร หมายถึง ภาระหรือพันธะผูกพันในการจะปฏิบัติหน้าที่การงานของผู้ร่วมงานให้เป็นไปตามเป้าหมายขององค์การ เนื่องจากบุคคลต้องอยู่ร่วมกันทำงานในองค์การ จำเป็นต้องปรับลักษณะนิสัย เจตคติของบุคคลเพื่อช่วยเป็นเครื่องผลักดันให้ปฏิบัติงานตามระเบียบรู้จักเคารพสิทธิของผู้อื่น ปฏิบัติงานในหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบและมีความซื่อสัตย์สุจริต คนที่มีความรับผิดชอบ จะทำให้การปฏิบัติงานไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ และช่วยให้การทำงานร่วมกันเป็นไปด้วยความราบรื่น ความรับผิดชอบจึงเป็นภาระผูกพันที่ผู้นำต้องสร้างขึ้นเพื่อให้องค์การสามารถบรรลุเป้าหมายได้อย่างดี


แบบฝึกหัด วันอาทิตย์ที่ 17 พ.ค. 2563
นายดุษฎี ราชา รหัสนักศึกษา 61423451002 รุ่น 41

1. พฤติกรรมการบริหาร
ตอบ พฤติกรรมการบริหาร คือ การประพฤติปฏิบัติของผู้บริหารที่แสดงออกในฐานะผู้นำ
เพื่อดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้บรรลุเป้าหมาย ผู้นำสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ เงื่อนไข หรือ สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยใช้กระบวนการจัดกิจกรรมการทำงานอย่างเป็นระบบ อย่างเหมาะสมเพื่อให้งานสำเร็จ และผู้ร่วมงานพึงพอใจในการทำงาน จึงจะสามารถทำงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้


2. บทบาททางการบริหาร
ตอบ บทบาททางการบริหาร มีดังนี้
1) ผู้บริหารจะต้องสรรสร้างสภาพแวดล้อมทุกด้าน คือ ด้านกายภาพ สังคม อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา
2) ผู้บริหารจะต้องทำความเข้าใจในบทบาทและภารกิจของแต่ละคนให้ชัดเจนในกระบวนการ รวมทั้งผู้บริหารจะต้องรู้ว่าจะต้องมีส่วนร่วมในกิจกรรมเมื่อไร และอย่างไร
3) ผู้บริหารจะต้องส่งเสริมกิจกรรมที่มุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องทางการเมือง สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ เคารพต่อกฎหมาย ฯลฯ
4) ผู้บริหารต้องปรับกระบวนทัศน์ในการทำงานใหม่ และต้องดำเนินการบริหารให้มีทรัพยากรเพื่อจัดการอย่างเพียงพอ
5) ผู้บริหารจะต้องพัฒนาตนเองให้เป็นผู้บริหารมืออาชีพให้สามารถบริหารจัดการให้เป็นไปตามนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานกลาง
6) ผู้บริหารจะต้องพัฒนามาตรฐานและคุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐาน
7) ผู้บริหารจะต้องมีคุณธรรมและจริยธรรมเป็นแบบอย่างที่ดี
8) ผู้บริหารต้องมีภาวะผู้นำในการบริหารจัดการ มีวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ์


3. ความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ ความรับผิดชอบทางการบริหาร คือ การบริหารต้องมีจิตสำนึกความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปอย่างมีศีลธรรม คุณธรรม และตรงตามความคาดหวังของสังคม รวมทั้งยึดมั่นในค่านิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรม และมีคุณลักษณะดังนี้
1. ทำงานอย่างมีศักดิ์ศรี
2. ขยันตั้งใจทำงาน
3. มีศีลธรรม คุณธรรม โปร่งใส
4. รู้ทันโลก, ปรับตัวทันโลก, ตรงกับสังคม
5. มุ่งเน้นประสิทธิภาพ
6. รับผิดชอบต่อผลงาน และสังคม
7. มีใจ และการกระทำเป็นประชาธิปไตย
8. มีผลงาน มุ่งเน้นผลงาน
นางสาววรรษมล สังวรินทะ รุ่น 44 รหัสนักศึกษา 1075

เช้า
1 งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
งบประมาณ แผนเบ็ดเสร็จ ซึ่งแสดงออกในรูปตัวเงินแสดงโครงการดำเนินงานทั้งหมดในระยะหนึ่ง รวมถึงการกะประมาณการบริหารกิจกรรม โครงการและค่าใช้จ่าย ตลอดจนทรัพยากรที่จำเป็นในการสนับสนุน การดำเนินงานให้บรรลุตามแผนนี้ย่อมประกอบ ด้วยการทำงาน 3 ขั้นตอน คือ 1 การจัดเตรียม 2 การอนุมัติและ 3 การบริหาร

1) ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารหน่วยงาน ตามแผนงานและกำลังเงินที่มีอยู่โดยให้ มีการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับแผนงานที่วางไว้เพื่อป้องกันการรั่วไหลและการปฏิบัติงานที่ไม่จำเป็นของหน่วยงานลดลง
2) ให้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาหน่วยงาน ถ้าหน่วยงานจัดงบประมาณการใช้จ่ายอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ จะสามารถพัฒนาให้เกิดความเจริญก้าวหน้าแก่หน่วยงานและสังคมโดยหน่วยงานต้องพยายามใช้จ่ายและจัดสรรงบประมาณให้เกิดประสิทธิผลไปสู่โครงการที่จําเป็น เป็นโครงการลงทุนเพื่อก่อให้เกิดความก้าวหน้าของหน่วยงาน
3) เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดให้มีประสิทธิภาพ เนื่องจากทรัพยากรหรืองบประมาณของหน่วยงานมีจำกัด ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องใช้งบประมาณเป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรหรือใช้จ่ายเงินให้มีประสิทธิภาพ โดยมีการวางแผนในการใช้และจัดสรรเงินงบประมาณไปในแต่ละด้าน และมีการวางแผนการปฏิบัติงานในการใช้จ่ายทรัพยากรนั้น ๆ ด้วย เพื่อที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในเวลาที่เร็วที่สุด และใช้ทรัพยากรน้อยที่สุด
4) เป็นเครื่องมือกระจายทรัพยากร และเงินงบประมาณที่เป็นธรรม งบประมาณสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการจัดสรรงบประมาณที่เป็นธรรมไปสู่จุดที่มีความจําเป็นและทั่วถึงที่จะทําให้หน่วยงานนั้นสามารถดําเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5) เป็นเครื่องมือประชาสัมพันธ์ งานและผลงานของหน่วยงาน เนื่องจากงบประมาณเป็นที่รวมทั้งหมดของแผนงานและงานที่จะดำเนินการ ในแต่ละปีพร้อมทั้งผลที่จะเกิดขึ้น ดังนั้นหน่วยงานสามารถใช้งบประมาณหรือเอกสารงบประมาณที่แสดงถึงงานต่าง ๆ ที่ทำเพื่อเผยแพร่และประชา สัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ

การคลังสาธารณะ การคลังสาธารณะเป็นกระบวนการภาคเศรษฐกิจของรัฐในการกำหนดระดับค่าใช้จ่ายรวมของระบบเศรษฐกิจผ่านการใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการต่าง ๆ ซึ่งภาครัฐบาลมีอิทธิพลต่อการกำหนดค่าใช้จ่ายของภาคเศรษฐกิจอื่น ๆ เช่น ภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ และภาคต่างประเทศ เป็นต้น โดยการคลังสาธารณะมีบทบาททั้งทางด้านการจัดสรรทรัพยากรของรัฐ บทบาทด้านการกระจาย เช่น การกระจายความเจริญไปสู่ชนบท บทบาทด้านการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ เป็นต้น
โดยสรุปแล้ว ความสำคัญของการคลังสาธารณะ เป็นการควบคุมให้เกิดความสมดุลทางด้านการเงินในระบบเศรษฐกิจมิให้มีมากหรือต่ำเกินไป ให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมกับสถานการณ์

2 อธิบายโครงสร้างรายรับรายจ่ายของไทย

รายได้หรือรายรับของรัฐบาล รัฐบาลสามารถหารายได้โดยการจัดเก็บภาษีอากรจากผู้ผลิตและประชากรผู้มีรายได้ นอกจากนั้นยังหารายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร ได้แก่ ค่าปรับ ค่าธรรมเนียม และเงินนำส่ง (รายได้) ของรัฐวิสาหกิจต่างๆ ที่รัฐบาลเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นร่วมทุนกับเอกชน เช่น เงินนำส่งจากบริษัทการบินไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิต องค์การสุรา การท่าเรือแห่งประเทศไทย เป็นต้น
นอกเหนือจากการหารายได้แล้ว รัฐบาลอาจมีรายรับจากการกู้ยืมจากภาคเอกชนภายในประเทศ หรือกู้ยืมจากต่างประเทศ เพื่อนำมาใช้จ่ายในการพัฒนาประเทศ
โดยสรุปโครงสร้างรายได้ของรัฐบาลมาจาก 3 ส่วน คือ
- รายได้จากภาษีอากร รายได้จากรัฐวิสาหกิจต่างๆ รวมทั้งรายได้อื่นๆ เช่น รายได้จาก ค่าปรับ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต
- เงินกู้ของรัฐบาลจากภายในและต่างประเทศ
- เงินคงคลัง ซิ่งได้แก่ เงินที่รัฐบาลสะสมไว้จากการที่มีรายรับสูงกว่ารายจ่ายในอดีต เงินคงคลังเป็นเงินสำรองที่จะนำมาใช้ในกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น

รายจ่าย เพท่อให้ผู้ที่สนใจสามารถติดตามข้อมูลการเบิกจ่าย งบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องควรจัดทารายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณให้ สอดคล้องกับรายการท่ีระบุไว้ตามโครงสร้างงบประมาณ โดยรายการดังกล่าว ควรประกอบด้วย 1) รายจ่าย ประจา 2) รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 3) รายจ่ายลงทุน และ 4) รายจ่ายชาระคืนต้นเงินกู้ ท้ังนี้ เพื่อให้ทราบ ผลการเบิกจ่ายเพื่อชำระคืนต้นเงินกู้ที่เกิดขึ้นจริง โดยหากหน่วยรับงบประมาณ มีงบประมาณเพื่อชำระ ดอกเบี้ยเหลือจ่าย แล้วนามาชำระคืนต้นเงินกู้เพิ่ม จะทาให้ผลการชำระคืนต้นเงินกู้ที่เกิดข้ึนจริงสูงกว่าวงเงิน ที่อนุมัติไว้ตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ซึ่งข้อมูลดังกล่าว มีความสาคัญในการวิเคราะห์หน้ี สาธารณะและความยั่งยืนทางการคลัง
นางสาววรรษมล สังวรินทะ รุ่น 44 รหัสนักศึกษา 1075
บ่าย
1 อธิบายนโยบายงบประมาณ
การคลัง เป็นการกำหนดนโยบายและการดำเนินงานด้านการเงินของรัฐบาล ซึ่งในทางปฏิบัติจะเกี่ยวข้องกับรายได้ของรัฐบาล ที่ได้มาจากภาษีอากรและแหล่งรายได้อื่นๆ รายจ่ายรัฐบาล หนี้ของรัฐบาล หรือหนี้สาธารณะ และนโยบายการคลัง

การคลังภาครัฐ ที่ เรียกกันอยู่ทั่วไปนั้นเป็นคำที่ไม่ตรงกับความหมายตามตัวอักษรที่คำนี้ควร เป็นเรื่องเกี่ยวกับการเงินและโดยเหตุผลดังกล่าวผู้แต่งตำราบางคนจึงนิยมที่ จะเรียกคำนี้ว่า เศรษฐศาสตร์ในภาครัฐ หรือ เศรษฐศาสตร์ของรัฐ แทน โดยหมายถึงหน้าที่ทางเศรษฐศาสตร์จุลภาคของรัฐบาลในการจัดสรรทรัพยากรและการกระจายรายได้ รวมทั้งหน้าที่ทางเศรษฐศาสตร์มหภาคของรัฐบาลในการจัดเก็บภาษี การใช้จ่าย และการใช้นโยบายการเงินที่มีผลต่อภาพรวมการว่างงานในทุกระดับ และต่อระดับราคา

การคลังภาครัฐ เป็นการศึกษากิจกรรมการหารายได้และการใช้จ่ายของรัฐบาล การอธิบายเกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ภาษีอากร รายจ่ายสาธารณะ และหนี้สาธารณะ การคลังภาครัฐเป็นการศึกษาผลกระทบต่างๆ ของงบประมาณต่อระบบเศรษฐกิจ โดยเฉพาะผลกระทบต่อการบรรลุเป้าหมายสำคัญทางเศรษฐกิจในด้านความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ ตลอดจนประสิทธิภาพการบริหาร นอกจาหนี้ การคลังภาครัฐยังเป็นการศึกษาถึง สิ่งที่ควรจะเป็น การทำความเข้าใจการคลังภาครัฐจะทำให้สามารถอธิบายประเด็นสาธารณะต่างๆ ดังต่อไปนี้ได้ดีขึ้น

2 อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
หนี้สาธารณะ ความหมายของหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะ หมายถึง การกู้ยืมเงินของรัฐบาลเมื่อรัฐบาลมีรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย จึงจําเป็นต้องกู้เงินมาใช้จ่ายโดยเฉพาะอย่างยิ่งรัฐบาลของประเทศกําลังพัฒนา แต่เดิมเรามักมีความรู้สึกเกี่ยวกับการก่อหนี้ยืมสินไปในทางที่ไม่ดี ครัวเรือนใดมีหนี้สินล้นพ้นตัวแสดงว่าฐานะการเงินไม่ดี สังคมอาจไม่ยอมรับนับถือประเทศใดมีหนี้สินอยู่มากแสดงว่าฐานะทางเศรษฐกิจไม่มั่นคงและอาจจะล้มละลายได้ ปัจจุบันแนวความคิดเหล่านี้เริ่มเปลี่ยนไป ผู้ที่ดําเนินธุรกิจเพียงเท่าที่มีทุนธุรกิจอาจไม่เจริญก้าวหน้า แต่ถ้ากู้เงินธนาคารมาลงทุนขยายกิจการตามโครงการอย่างรอบคอบแล้ว กิจการก็อาจจะเจริญก้าวหน้าจนสามารถชําระหนี้คืนและขยายกิจการให้กว้างขวางยิ่งขึ้น ประเทศชาติก็ทํานองเดียวกัน รัฐบาลอาจมีความจําเป็นต้องใช้จ่ายเงิน เพื่อพัฒนาประเทศลงทุนสร้างถนนหนทางไฟฟ้า ประปา และพลังงานต่างๆ


ประเภทหนี้สาธารณะ
1.แบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้ สามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ
- หนี้ระยะสั้น หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนต้นเงินกู้คืนไม่เกิน 1 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งโดยปกติแล้วมักจะมีระยะเวลาในการชำระคืนเพียง 3 เดือนหรือ 91 วัน เหตุผลที่กู้ประเภทนี้คือรายได้ประเภทต่างๆยังเข้ามาไม่ทันจึงต้องก่อหนี้ระยะสั้นเพื่อมานำใช้ก่อนหรือเพื่อนำมาใช้หนี้ประเภทระยะสั้นเดิมที่กู้ไว้ก่อนหน้านี้เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยถูกลง
- หนี้ระยะกลาง หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 1 ปีถึง 5 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ในปัจจุบันไม่นิยมในการกู้หนี้ประเภทนี้เนื่องมาจากระยะเวลาในการชำระคืนไม่ตรงกับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องกู้และต้นทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มีการชำระหนี้คืนที่ถี่เกินไป
- หนี้ระยะยาว หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 5 ปีเป็นต้นไปนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งระยะเวลาของการกู้จะยาวแค่ไหนก็จะขึ้นอยู่กับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องใช้กู้ สำหรับในประเทศที่กำลังพัฒนารวมถึงประเทศไทยด้วยหนี้ระยะยาวจะมีอายุระหว่าง 5-10 ปี แต่ในประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีอายุระหว่าง 10-30 ปี ทั้งนี้บางโครงการของประเทศที่กำลังพัฒนาอาจมีระยะเวลาในก่อหนี้นานถึง 50 ปีเนื่องจากผลตอบแทนช้ามาก
2.แบ่งตามแหล่งที่มาของหนี้ สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทคือ
หนี้ภายในประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ที่อยู่ในประเทศโดยไม่คำนึงถึงสกุลของเงินตรา แต่โดยปกติก็มักจะกู้ตามสกุลเงินของประเทศนั้นๆ โดยอาจกู้จากเอกชน เช่น ห้างร้าน บริษัทต่างๆ ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินที่มิใช่ธนาคารพาณิชย์หรือกู้มาจากธนาคารกลางของประเทศนั้นๆเอง
หนี้จากต่างประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ให้กู้ที่ที่มีถิ่นฐานในต่างประเทศ โดยไม่คำนึงถึงเงินตราเช่นกัน ทั้งนี้การกู้เงินในสกุลต่างประเทศนั้นจะกู้ก็ต่อเมื่อมีความจำเป็นในการใช้เงินตราเพื่อต่างประเทศซื้อสินค้าและบริการจากต่างประเทศเท่านั้น โดยสามารถกู้ได้จากสถาบันการเงินระหว่างประเทศ ธนาคารโลก ประเทศต่างๆและตลาดเงินระหว่างประเทศ
นส. วนิดา ปัญชาติ
รหัสนักศึกษา 62423471014 รุ่น44
งานช่วงเช้าวันเสาร์ที่16พฤษภาคม2563

เช้า
1.งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ งบประมาณ เป็นแผนงานโดยละเอียดในรูปตัวเลข ทั้งจำนวนหน่วยและจำนวนเงินตามแผนการดำเนินงานของกิจการสำหรับระยะเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต
งบประมาณ (Budget) หมายถึง การประมาณทางการเงินหรือทรัพยากรอื่นที่กำหนดขึ้นอย่างมีระบบ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือควบคุมการดำเนินงานในอนาคต งบประมาณช่วยให้ทุกแผนกงานทำงานอย่างมีเป้าหมาย ผู้จัดการแต่ละคนจะต้องจัดลำดับการใช้จ่ายงบประมาณ และศึกษาวิธีการที่จะจัดการงบประมาณให้รัดกุม การงบประมาณเป็นเครื่องมือของฝ่ายบริหารที่มุ้งใช้ในการวางแผน การประสานงาน และการควบคุม เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมาย

การคลังสาธารณะ (public finance) หมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายรับและรายจ่ายของรัฐบาลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการกำหนดนโยบายและการดำเนินการทางด้านการคลังและการเงิน การจัหารายได้ และการก่อหนี้ รวมถึงการใช้จ่ายของรัฐบาล ซึ่งจะมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อบรรลุเป้าหมายที่รัฐบาลต้องการ

2. อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ —>โครงสร้างรายรับของไทย (public receipt)
รายรับของรัฐบาลไทย หมายถึง รายได้ของรัฐบาล รวมทั้งเงินกู้ยืม และเงินคงคลัง รายรับของรัฐบาล มีทั้งรายรับที่เป็นรายได้และรายรับที่ไม่เป็นรายได้
• รายรับที่เป็นรายได้ ประกอบด้วย
1. รายได้จากภาษีอากร ซึ่งมีทั้งทางตรงและทางอ้อม
- ภาษีทางตรง คือ ภาษีที่ผู้เสียภาษี รับภาระภาษีที่เสียไว้เอง เช่น ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นต้น
- ภาษีทางอ้อม คือ คือภาษีที่ผู้เสียภาษีสามารถผลักภาระให้ผู้อื่นได้ง่าย ซึงมักเป็นภาษีที่เก็บจากการบริโภคและการขาย เช่น ภาษีสรรพสามิต อากรแสตมส์ เป็นต้น
2. รายได้จาการขายสิ่งของและบริการ เช่น ค่าขายของที่อายัดได้ ค่าขายหนังสือราชการ ค่าบริการต่างๆ เป็นต้น
3. รายได้จากการรัฐพาณิชย์ คือ รายได้ที่ได้รับจากบริษัทที่รัฐถือหุ้นด้วยซึ่งมาจากการปันผล รวมทั้งรายได้ท่เกิดจากการประกอบการของรัฐวิสาหกิจ
4 .รายได้อื่นๆ เช่น รายได้จากค่าปรับ ค่าแสตมป์ เป็นต้น

• รายรับที่ไม่ใช่รายได้ ได้แก่
1. รายรับที่มาจากเงินกู้ คือ เงินที่รัฐบาลกู้มาใช้จ่ายจากแหล่งต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ
2. เงินคงคลัง คือ เงินที่เหลือจากการใช้จ่ายในปีก่อนๆ ซึ่งรัฐบาลเก็บสะสมไว้ ในปีที่รายจ่ายสูงเกินกว่ารายได้และรัฐบาล ไม่ต้องการก่อหนี้เพิ่มขึ้นสามารถนำออกมาใช้ได้

—>โครงสร้างรายจ่ายของไทย แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลักๆ คือ

1. รายจ่ายประจำ ได้แก่ เงินเดือนและสวัสดิการต่างๆ ของ ข้าราชการประจำ เช่น ครู ตำรวจ ทหาร เป็นต้น ข้าราชการการเมือง เช่น ส.ส. ส.ว. นายก อบต. เป็นต้น ลูกจ้างของรัฐ เช่น พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย เป็นต้น
2. จ่ายเพื่อการลงทุน ใช้พัฒนาประเทศ เช่น ใช้ในโครงการต่างๆ ของภาครัฐ ตามนโยบายของรัฐ การสร้างถนน สร้างสะพาน สร้างโรงพยาบาล เป็นต้น
3. จ่ายในการชำระคืนเงินกู้ เช่น คืนเงินคงคลัง หนี้จากการกู้ยืมเป็นต้น

นส. วนิดา ปัญชาติ
รหัสนักศึกษา 62423471014 รุ่น44
งานช่วงเช้าวันเสาร์ที่16พฤษภาคม2563

•••แบบฝึกหัดช่วงบ่าย

1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายงบประมาณ ( budget policy) คือ การจัดการใส่สวนของรายได้ (ภาษี) และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในประเทศหรือรัฐ
นโยบายงบประมาณ ยังรวมถึงนโยบายภาษี ในแต่ละปีเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจะลงคะแนนเสียงสำหรับงบประมาณตามรายได้และการคาดการณ์ค่าใช้จ่าย ซึ่งสามารถนำเสนอใน 3 รูปแบบ ได้แก่
1. งบประมาณสมดุล คือ งบประมาณที่รายรับและรายจ่ายเท่ากัน ใช้เพื่อการจัดสรรทรัพยากรและเพื่อการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม เป็นการที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายเท่ากับรายได้พอดี งบประมาณสมดุลจะมีข้อจำกัดในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ เกิดภาวะเงินฝืด อัตราการว่างงานสูง
2. งบประมาณเกินดุล คือ งบประมาณที่รายได้มากกว่ารายจ่าย ใช้ในช่วงที่เศรษฐกิจรุ่งเรื่อง รัฐบาลจะลดค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาลลงและเพิ่มภาษี เพื่อช่วยดึงเงินออจากระบบเศรษฐกิจ
3. งบประมาณขาดดุล คือ งบประมาณที่รายจ่ายมากกว่ารายได้ ได้ในช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำ รัฐบาลจะเพิ่มค่าใช้จ่ายในการซิอสินค้าและบริการของรัฐบาลลง และลดภาษี เพื่อช่วยดึงเงินออกจากระบบเศรษฐกิจ

2.อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ • หนี้สาธารณะ คือ หนี้ที่รัฐบาลก่อขึ้น ซึ่งรัฐต้องมีข้อผูกพันที่จะต้องชดใช้ ทั้งเงินต้นและดอกเบี้ย เป็นการกู้ยืมเงินของรัฐบาล เมื่อรัฐบาลมีรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย จึงจำเป็นต้องกู้เงินมาใช้จ่ายโดยเฉพาะ
ประเภทของหนี้สาธารณะ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ แบ่งตามแหล่งที่มาของหนี้ และ แบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้
- แบ่งตามแหล่งที่มาของหนี้ ได้แก่ หนี้ภายในประเทศ และหนี้ภายนอกประเทศ
1. หนี้ภายในประเทศ คือ หนี้ที่เกิดขึ้นภายในประเทศ เช่น การกู้จากธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินอื่นๆ เป็นต้น
2. หนี้ภายนอกประเทศ คือ หนี้ที่เกิดจากการกู้โดยตรงของรัฐบาลและการกู้ของรัฐวิสาหกิจ ซึ่งรัฐบาลเป็นผู้ค้ำประกัน เป็นการกู้เงินจากแหล่งเงินกู้. ภายนอกประเทศ

- แบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้ ได้แก่ หนี้ระยะสั้น หนี้ระยะกลาง หนี้ระยะยาว
1. หนี้ระยะสั้น (short term) มีระยะเวลาในการชำระใช้คืน 3 เดือน 6 เดือน แต่ไม่เกิน 1ปี ส่วนใหญ่จะเป็นการกู้ที่รัฐบาลจำเป็นใช้เงินในระยะสั้นๆ การกู้ประเภทนี้ จะมีอัตรดอกเบี้ยที่ต่ำ
2. หนี้ระยะกลาง (Intermediate term) มีระยะเวลาในการชำระคืน 1 - 5 ปี
3. หนี้ระยะยาว (long term) คือ หนี้ที่มีระยะเวลาในการชำระคืนตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป รัฐบาลจพออกตราสาร ประเภทพันธบัตรรัฐบาลออกมา ส่วนใหญ่จะเป็นการกู้นำไปใช้ในโครงการระยะยาว เช่น การสร้างถนน สร้างสะพาน เป็นต้น
งานช่วงเช้า - บ่าย วันเสาร์ที่ 17 พ.ค. 2563
น.ส.ธิญาภรณ์ เคนคูณ รหัสนักศึกษา 61423451006 รุ่น 41
จงกล่าวถึง ?
1. พฤติกรรมการบริหาร?
ตอบ = พฤติกรรม หมายถึง การกระทําของบุคคลที่ เกิดจากกระบวนการภายในของคนและ มีผลต่อการกระทําที่ ปรากฏออกมาให้เห็นภายนอกได้รับรู้สิ่งที่ได้กระทําทั้งทางกายภาพ และทางอารมณ์
การบริหาร หมายถึง กระบวนการทํางานของคนตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไป ที่ใช้ กระบวนการจัดกิจกรรมการทํางานอย่างเป็นระบบ มีจุดมุ่งหมายร่วมกันในการที่ จะทําให้งาน ประสบความสําเร็จโดยใช้ทรัพยากรมนุษย์เงินทุน วัสดุอุปกรณ์และระยะเวลาในการดําเนินงาน เพิ่ออให้งานบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
พฤติกรรมการบริหาร พฤติกรรมการบริหาร จึงสรุปได้ว่า หมายถึงการประพฤติปฏิบัติของผู้บริหารที่แสดงออกในฐานะผู้นํา เพื่อดําเนินกิจกรรมต่างๆ ให้บรรลุเป้าหมาย ผู้นําสามารถปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของคนให้เหมาะสมกับสถานการณ์เงื่อนไข หรือ สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปโดยใช้ กระบวนการจัดกิจกรรมการทํางานอย้างเป็นระบบ อย่างเหมาะสมเพื่อให้งานสําเร็จและผู้ร่วมงาน พึงพอใจในการทํางาน จึงจะสามารถทํางานบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้
2. บทบาททางการบริหาร?
ตอบ = ผู้บริหารเป็นผู้ที่มีบทบาทที่สำคัญต่อการบรรลุเป้าหมายขององค์กร ดังนั้นผู้บริหารจะต้องดำเนินการในบทบาทของการเป็นผู้วางแผนและการตัดสินใจ ซึ่งผู้บริหารจะต้องพิจารณาถึงปัจจัยที่จะเข้ามากระทบที่จะทำให้วัตถุประสงค์ และเป้าหมายขององค์กรโดยรวมเบี่ยงเบนไปจากที่กำหนด สำหรับบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารที่ต้องดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอนมีดังนี้
1. มีการวางแผน (Planning)
2. มีการจัดองค์กร (Organization)
3. มีการจัดคนเข้าทำงาน (Staffing)
4. มีการสั่งการ (Directing)
5. มีการควบคุม (Controlling)

3.ความรับผิดชอบทางการบริหาร?
ตอบ = หลักความรับผิดชอบ (Accourtability ซึ่งประกอบด้วยบุคคล 2 ฝ่าย
ผู้รับมอบอำนาจ ย่อมต้องยอมรับผลพวงที่จะตามมาทั้งเชิงบวกและเชิงลบพอเกิดความผิดพลาดโยนกันไปโยนกันมาไม่ได้ ถ้าหากเป็นการบริหารราชการแผ่นดินนั้น เรามองได้จากประชาชนและรัฐบาลต้องมีศักยภาพรับผิดชอบต่อพลเมืองทุกคนในสังคมอย่างเท่าเทียมกัน
มิติของการรับผิดชอบ ต้องเป็นไปใน
1.มิติเชิงวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมาย คือจะให้ใครรับผิดชอบเรื่องใดมุ่งเน้น Input และ Process
2. มิติเชิงสถาบัน คือ ใครรับผิดชอบต่อใคร
มิติเชิงสถาบัน คือ ความสัมพันธ์เป็นลักษณะอย่างไรต้องมีในเรื่องที่ทำ และต้องทำอย่างต่อเนื่องด้วย
หลักที่ 1 ภาระรับผิดชอบ ภาระรับผิดชอบ (Accountalrility) นับว่า
ธรรมาภิบาลไม่วาจะนำไปใช้ในภาครัฐหรือเอกชนก็ไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะทุกวันนี้เราอยู่ในโลก วัตถุนิยมและผู้บริโภคนิยม ซึ่งอาจทำให้ผู้ปฏิบัติมีปัญหาและลืมภาระรับผิดชอบของงาน หน้าที่ของตน และใช้อำนาจจากตำแหน่งหน้าที่หรือใช้เงินที่ไม่ใช่ของตนเองในทางที่ผิดได้อย่างง่ายดาย
ภาระรับรับผิดชอบมีลักษณะเป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างน้อย 2 ฝ่าย
ฝ่ายแรก = เป็นบุคคลผู้มอบหมายอำนาจของตนให้แก่บุคคลสักฝ่ายหนึ่ง Accountability Rolder หรือผู้ว่าจ้างหรือต้องการ Principle
ฝ่ายที่สอง = เป็นบุคคลผู้รับมอบอำนาจหน้าที่ให้กระทำการบางอย่างแทนฝ่ายแรก Accountability Rolder หรือ ผู้รับจ้าง/ตัวแทน (Aqent)
การที่บุคคลหนึ่งบุคคลใดมีภาระรับผิดชอบต่อบุคคลหนึ่งหือถูกผูกมัดให้ตอบคำถาม หรือคำอธิบายชี้แจงเหตุผล การกระทำ หรือไม่กระทำ กับอีกบุคคลหนึ่งและต้องยอมรับถึงผลพวงที่ได้ติดตามมาทั้งเชิงบวกและเชิงลบนั้น เป็นสภาพการณ์อันเกิดจากบุคคลดังกล่าวที่ได้รับหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่แทนอีกบุคคลหนึ่ง Act on Behalf of Another Person บุคคลซึ่งมีภาระรับผิดชอบต่ออีกบุคคลหนึ่งนั้น จะต้องพยายามเก็บบันทึกข้อมูลสารสนเทศที่มีความถูกต้องและมีความน่าเชื่อถือไว้ เพื่อสำหรับใช้เป็นประโยชน์ในการรายงานชี้แจงและอภิปรายให้เหตุผลประกอบในขณะเดียวกันภาระรับผิดชอบจากบุคคลหนึ่งมอบหมายให้อีกบุคคลหนึ่งดังกล่าวจึงจำเป็นต้องมีกลไกหรือเครื่องมือในการควบคุมที่เหมาะสม เพื่อให้ตนเองมั่นใจได้ว่าบุคคลซึ่งมีภาระรับผิดชอบนั้นจะดำเนินการตามที่ได้รับมอบหมายให้เกิดประโยชน์สูงสุด
นางสาววาสนา ปราบบำรุง รหัสนักศึกษา 62423471010 รุ่นที่ 44 งานวันอาทิตย์ที่ 17/05/63
1.พฤติกรรมการบริหาร
ตอบ.พฤติกรรมหมายถึงการกระทำหรือกิจกรรมของหน่วยงานหนึ่งได้แก่บางสิ่งบางอย่างที่หน่วยงานได้กระทำ ทั้งการกระทำที่ปรากฏออกมาให้เห็นได้ กระบวนการที่เกิดขึ้นภายในทางกายภาพและทางอารมณ์และกิจกรรมที่เกิดจากบุคคลที่มีจิตใจปกติ
ความหมายของคำว่าพฤติกรรมการบริหารหมายถึงการกระทำรวมทั้งท่าทีที่ผู้บริหารแสดงออกให้ผู้ร่วมงานสามารถสังเกตเห็นได้ในการบริหารงาน กิจกรรมหรือการกระทำที่เกิดจากผู้บริหารทั้งที่เกิดอยู่ภายในย และแสดงออกต่อผู้ร่วมงานเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
สรุปได้ว่าพฤติกรรมการบริหารหมายถึงการกระทำที่ผู้บริหารแสดงออกทั้งกายภาพและทางอารมณ์ต่อผู้ร่วมงานเพื่อให้การดำเนินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
2.บทบาททางการบริหาร
ตอบ. หน้าที่การบริหารคือเป็นการแสดงให้เห็นว่า ผู้บริหาร มีหน้าที่รับผิดชอบอะไรบ้าง มีงานอะไรบ้าง จะต้องทำและควรจะทำอะไรก่อนหลัง นับเป็นสิ่งสำคัญยิ่งสำหรับผู้บริหารที่จะได้ยึดเป็นหลักในการปฏิบัติงานเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามมีนักวิชาการด้านบริหารได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับหน้าที่การบริหาร ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปดังนี้
p= การวางแผน (planning) คือการศึกษาข้อมูลในปัจจุบันและคาดการณ์เป็นอนาคต แล้ววางเป้าหมายและแนวทางปฏิบัติไว้
o= การจัดองค์การ (organizing) คือ การจัดโครงสร้างของหน่วยงานหรือองค์การออกแบบเป็นหน่วยงานย่อยๆ กำหนดหน้าหน้าที่ความของหน่วยงาน การจัดสรรคนเข้าทำงานในตำแหน่งต่างๆ
c= การสั่งการบังคับบัญชา (commanding) คือ การสั่งให้คนทำงานตามที่หมอบหมายให้ทำบังคับบัญชาพนักงานให้ทำงานตามภารกิจของหน่วยงาน
c= การประสานงาน (coordinating) คือ การจัดทะเบียนการทำงานไม่ให้ก้าวก่ายกันติดต่อประสานงานให้หน่วยงานย่อยต่างๆ ขององค์การและประสานคนให้ทำงานโดยราบรื่นไม่ให้ขัดแย้งกัน
c= การควบคุม (controlling)คือ กรควบคุมให้พนักงานปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตรวจสอบให้ผลการปฏิบัติงานเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดไว้หรือควบคุมให้ทำงานตามระเบียบข้อบังคับที่วางไว้
3.ความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ.ความรับผิดชอบทางการบริหาร (Administrative Responsibility)ประกอบด้วย
คุณธรรม/จริยธรรม (Morality/Ethics) หมายถึง การปฏิบัติราชการต้องมีจิตสำนึกความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปอย่างมีศีลธรรม คุณธรรมและตรงตามความคาดหวังของสังคม รวมทั้งยึดมั่นในค่านิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรมสำหรับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือนและจรรยาบรรณวิชาชีพ ตลอดจน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของระบบราชการไทย 8 ประการ (I AM READY) ดังนี้
1.I-Integrity : ทำงานอย่างมีศักดิ์ศรี
2.A-Activeness : ขยันตั้งใจทำงาน เชิงรุก
3.M-Morality : มีศีลธรรม คุณธรรม
4.R-Relevancy : รู้ทันโลก, ปรับตัวทันโลก,ตรงกับสังคม
5.E-Efficiency : มุ่งเน้นประสิทธิภาพ
6.A-Accountability : รับผิดชอบต่อผลงานและสังคม
7.D-Democracy : มีใจและการกระทำเป็นประชาธิปไตย,มีส่วนและโปร่งใส
8.Y-Yield : มีผลงาน มุ่งเน้นผลงาน

ชื่อนางสาวนิตย์รดี จิณะไชย รหัสนักศึกษา62423471015 รุ่น44
งานวันอาทิตย์ที่ 17พฤษภาคม63
1.พฤติกรรมการบริหาร
ตอบ นักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของคำว่าพฤติกรรมการบริหารไว้ดังนี้
กู๊ด (Good 1973: 58) กล่าวว่าพฤติกรรมการกระทำหรือหน่วยงานหนึ่งได้แก่บางอย่างที่หน่วยงานได้กระทำทั้งการกระทำที่ปรากฏออกมาให้เห็นได้กระบวนการที่เกิดขึ้นภายในทางกายภาพและทางอารมณ์
วอลแมน (Wolman 1973: 41) ให้นิยามว่าพฤติกรรมหมายถึงผลรวมทั้งหมดของการกระทำโดยตรงและที่เกี่ยวข้องกับบุคคลที่อยู่ภายในแสดงออกต่อสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคม
สุลักษณ์ ดำรงค์ศิลป (2517: 14) ได้สรุปความหมายของพฤติกรรมการบริหารหมายถึงการกระทำรวมทั้งท่าทีที่ผู้บริหารแสดงออกให้ผู้ร่วมงานสามารถสังเกตเห็นได้ในการบริหาร
สมชาย ดำรงค์ศิลป (2537: 19) ได้สรุปความหมายของพฤติกรรมการบริหารหมายถึงกิจกรรมหรือการกระทำที่เกิดจากผู้บริหารทั้งที่เกิดภายในและแสดงออกต่อผู้ร่วมงานเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย
จากที่กล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่าพฤติกรรมการบริหารหมายถึงการกระทำที่ผู้บริหารแสดงออกทั้งทางกายภาพและอารมณ์ต่อผู้ร่วมงานเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
2.บทบาททางการบริหาร
ตอบ บทบาทของการบริหาร (Management Rotes) นักวิชาการด้านการจัดการชื่อ Henry Mintzbery ได้
ศึกษาการทำงานของการบริหารแต่ละวัน พบว่าบทบาทของการบริหาร มี 3 ด้าน ดังนี้
1. ด้านผู้ประชาสัมพันธ์ มีบทบาทดังนี้
1. เป็นผู้แถลงข่าว โดยประกาศประชาสัมพันธ์ หรือให้เนื้อหาเกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน
2. เป็นผู้เผยแพร่ข้อมูล โดยให้ข้อมูล ข้อเท็จจริงต่างๆ
3. เป็นผู้รับข้อมูล ติดตาม เก็บข้อมูลทั้งภายในและภายนอกองค์การ
2. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
1. เป็นผู้นำ ให้การส่งเสริม พัฒนา หรือจูงใจให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา
2. เป็นหัวโขน ทำหน้าที่เป็นตัวแทนหน่วยงาน
3. ผู้ประสานงาน ทั้งภายในและภายนอก
3. ด้านการตัดสินใจ
1. ผู้จัดทรัพยากร
2. ผู้เจรจาต่อรอง
3. ผู้ประกอบการ
3.ความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ หลักความรับผิดชอบ (Accourtability)คือการรับผิดชอบที่ผู้ปฏิบัติงานจะต้องถูกควบคุม ตรวจสอบ ชี้แจงต่อสาธารณะพร้อมรับผิดท่ีเป็นการรับถึงผลของการกระทํา
การดําเนินการและการรับผลท่ีจะตามมาที่เป็นได้ท้ังในทางบวกและในทางลบของการตัดสินใจและการกระทําของตน รวมความหมายถึง การ ตอบสนองตอความคาดหวังของสาธารณะ ความพร้อมที่จะถูกตรวจสอบจากประชาชนทั่วไปได้ ดังนั้น ภาระรับผิดชอบจึงมีขอบขายกว้างกว่าความรับผิดชอบ
ซึ่งประกอบด้วยบุคคล 2 ฝ่าย
1.มิติเชิงวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมาย คือจะให้ใครรับผิดชอบเรื่องใดมุ่งเน้น Input และ Process
2. มิติเชิงสถาบัน คือ ใครรับผิดชอบต่อใคร
มิติเชิงสถาบัน คือ ความสัมพันธ์เป็นลักษณะอย่างไรต้องมีในเรื่องที่ทำ และต้องทำอย่างต่อเนื่องด้วย
หลักที่ 1 ภาระรับผิดชอบ ภาระรับผิดชอบ (Accountalrility) นับว่า
ธรรมาภิบาลไม่วาจะนำไปใช้ในภาครัฐหรือเอกชนก็ไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะทุกวันนี้เราอยู่ในโลก วัตถุนิยมและผู้บริโภคนิยม ซึ่งอาจทำให้ผู้ปฏิบัติมีปัญหาและลืมภาระรับผิดชอบของงาน หน้าที่ของตน และใช้อำนาจจากตำแหน่งหน้าที่หรือใช้เงินที่ไม่ใช่ของตนเองในทางที่ผิดได้อย่างง่ายดาย

วันอาทิตย์ที่17/5/63 งานสัปดาห์ที่3
นาย อาทิตย์ ภูครองทุ่ง รหัส 62423471003 ภาคพิเศษ รุ่นที่ 44
จงกล่าวถึง
-พฤติกรรมการบริหาร
-บทบาทการบริหารและ
-ความรับผิดชอบทางการบริหาร
1.พฤติกรรมการบริหาร
ตอบ หมายถึง การประพฤติปฏิบัติของผู้บริหารที่แสดงออกในฐานะผู้นํา เพื่อดําเนินกิจกรรมต่างๆ ให้บรรลุเป้าหมาย ผู้นําสามารถปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของคนให้เหมาะสมกับสถานการณ์เงื่อนไข หรือ สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปโดยใช้กระบวนการจัดกิจกรรมการทํางานอย่างเป็นระบบ อย่างเหมาะสมเพื่อให้งานสําเร็จ และผู้ร่วมงาน พึงพอใจในการทํางาน จึงจะสามารถทํางานบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้
2.บทบาทการบริหาร
ตอบ บทบาทการบริหารมีดังต่อไปนี้
1.การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน
2.ลดการควบคุมจากส่วนกลางและเพิ่มอิสระในการบริหารให้แก่หน่วยงาน
3.การกำหนด การวัด และการให้รางวัลแก่ผลการดำเนินงานทั้งในระดับองค์กร และระดับบุคคล
4.การสร้างระบบสนับสนุนทั้งในด้านบุคลากร (เช่น การฝึกอบรม ระบบค่าตอบแทนและระบบคุณธรรม) เทคโนโลยี เพื่อช่วยให้หน่วยงานสามารถทำงานได้อย่างบรรลุวัตถุประสงค์
5.การเปิดกว้างต่อแนวคิดในเรื่องของการแข่งขัน ทั้งการแข่งขันระหว่างหน่วยงานของรัฐด้วยกัน และระหว่างหน่วยงานของรัฐกับหน่วยงานของภาคเอกชน ในขณะเดียวกันภาครัฐก็หันมาทบทวนตัวเองว่าสิ่งใดควรทำเองและสิ่งใดควรปล่อยให้เอกชนทำ
3.ความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ หลักการรับผิดรับชอบ เป็นองค์ประกอบของหลักธรรมาภิบาล คุณธรรมจริยธรรมและเป็นหลักที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการในระบบราชการ แต่เป็นหลักการที่จำเป็นและต้องพัฒนาการปฏิบัติใช้ให้เป็นรูปธรรมในสังคมไทย มีดังนี้
-ความรับผิดตามระบบบริหารงานภาครัฐ (bureaucratic or hierarchical accountability) เป็นการทำงานของเจ้าหน้าที่ตามระบบบริหารภาครัฐ ซึ่งขึ้นอยู่กับสายการบังคับบัญชาโดยมีระเบียบแบบแผนในการทำงาน มีมาตรฐานในการปฏิบัติงาน ดังน้ัน ในการทางานเป็นเรื่องของความสัมพันธ์ตามโครงสร้างของการบังคับบัญชาที่มีอยู่
-ความรับผิดตามกฎหมาย (legal accountability) เป็นการยึดรูปแบบที่เป็นทางการตามที่มี การกำหนดไว้ตามกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการบริหารองค์การภาครัฐ โดยต้องปฏิบัติให้ เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้อย่างเป็นทางการ
-ความรับผิดทางการเมือง (political accountability) เป็นความคาดหวังของประชาชนซึ่ง ผู้บริหารภาครัฐจะต้องตอบสนองความต้องการของประชาชน เก่ียวข้องกับความสัมพันธ์ ระหว่างนักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งจากประชาชนกับเจ้าหน้าท่ีขององค์การภาครัฐตาม ระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยในการตรวจสอบการทำงานขององค์การภาครัฐ
-ความรับผิดทางวิชาชีพ (professional accountability) เป็นเรื่องของความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีขององค์การภาครัฐท่ีจะต้องใช้ดุลยพินิจและความสามารถ อย่างเต็มท่ีในการปฏิบัติงาน สอดคล้องกับมาตรฐานของการทำงานในนเรื่องน้ันๆ
งานวันเสาร์ที่16/5/63 เช้า-บ่าย
นางสาวอุมาพร สุรวิทย์ รหัส1001 รุ่น44
1.งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ งบประมาณคือการวางแผนการเงินในช่วงเวลาที่กำหนดชัดเจนโดยมากแล้วคืนหนึ่งปีงบประมาณอาจรวมถึงปริมาณแผนการขายและรายได้, ปริมาณทรัพย์สิน, ค่าใช้จ่าย, สินทรัพย์, หนี้สินและกระแสเงินสดโดยที่บริษัทรัฐบาลครอบครัวและองค์กรต่าง ๆ จะใช้งบประมาณเพื่อแสดงแผนกลยุทธ์ของกิจกรรมหรือผลให้สามารถวัดได้
การคลังสาธารณะ หมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายรับและร่ายจ่ายและการก่อหนี้ของรัฐบาลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ มีผลกระทบจากกิจกรรมการดำเนินการต่างๆ ทางการคลังของรัฐบาลที่มีต่อสังคมและประเทศชาติโดยรวมโดยมีขอบเขตเกี่ยวข้องกับงบประมาณแผ่นดิน การคลังด้านรายรับ การคลังด้านรายจ่าย และหนี้สาธารณะ
2)อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ.รายได้หรือรายรับของรัฐบาล รัฐบาลสามารถหารายได้โดยการจัดเก็บภาษีอากรจากผู้ผลิตและประชากรผู้มีรายได้ นอกจากนั้นยังหารายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร ได้แก่ ค่าปรับ ค่าธรรมเนียม และเงินนำส่ง (รายได้) ของรัฐวิสาหกิจต่างๆ ที่รัฐบาลเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นร่วมทุนกับเอกชน เช่น เงินนำส่งจากบริษัทการบินไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิต การท่าเรือแห่งประเทศไทย เป็นต้น นอกเหนือจากการหารายได้แล้วรัฐบาลอาจมีรายรับจากการกู้ยืมจากภาคเอกชนภายในประเทศ หรือกู้ยืมจากต่างประเทศ เพื่อนำมาใช้จ่ายในการพัฒนาประเทศ
รายรับของรัฐบาล สามารถจำแนกเป็น 3 ประเภท
1.รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร ได้แก่ ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม ภาษีลักษณะอนุญาต
2.รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี เป็นรายได้ที่มาจากการประกอบธุรกรรมอย่างอื่นของรัฐ
3.รายรับที่ไม่ใช่รายได้ รายรับที่มาจากการกู้เงินจากธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์ การกู้จากประชาชนโดยการขายพันธบัตร การยืมเงินคงคลัง
รายจ่ายของรัฐ รัฐบาลเป็นผู้บริหารงบประมาณ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน
1.รายจ่ายประจำ เงินเดือนสวัสดิการต่างๆของข้าราชการ นักการเมือง ลูกจ้างของรัฐ ค่าน้ำค่าไฟ ค่าบริการต่างๆของทางราชการ
2.รายจ่ายเพื่อการลงทุนในการพัฒนาประเทศ โครงการต่างๆตามนโยบายของรัฐ การสร้างถนน การสร้างโรงพยาบาล การลงทุนรัฐพาณิชย์ต่างๆ เช่น รัฐวิสาหกิจ
3.รายจ่ายในการชำระหนี้เงินกู้ กรณีที่มีพันธะในการชำระหนี้จากการกู้เงิน การซื้อพันธบัตรรัฐบาลคืนจากประชาชน การคืนเงินคงคลัง
1)อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ. นโยบายที่จะเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของรัฐบาล ทางด้านการใช้จ่ายเงินเข้าไปในระบบเศรษฐกิจ เช่น การเพิ่มหรือลดภาษี และหนี้สิน การตัดสินใจของรัฐ เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ที่จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อระดับอุปสงค์รวม เช่น ระดับราคาสินค้า อัตราดอกเบี้ย ระดับรายได้ประชาชาติ ดุลการชำระเงิน และอัตราแลกเปลี่ยน ที่มีลักษณะของการพัฒนาเป็นหลัก งบประมาณที่ดีควรจะดําเนินการจัดสรรโดยยึดหลักการพัฒนาเพื่อให้เกิดความก้าวหน้าเป็นหลัก ทั้งนี้เนื่องจากมีงบประมาณจำกัด จึงควรมีการพิจารณาจัดสรรงบประมาณตามหลักการพัฒนาที่ดีว่าด้านไหนควรมาก่อนหลัง ตามสถานการณ์และความจำเป็น
นโยบายงบประมาณ ยังรวมถึงนโยบายภาษี ในแต่ละปีเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจะลงคะแนนเสียงสำหรับงบประมาณตามรายได้และการคาดการณ์ค่าใช้จ่าย ซึ่งสามารถนำเสนอใน3รูปแบบ
- งบประมาณสมดุล
- งบประมาณขาดดุล
- งบประมาณเกินดุล
2)อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ.หนี้สาธารณะ (Public debt) คือ หนี้ที่ถือโดยรัฐบาลกลาง, หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่น, องค์กรของรัฐ รวมไปถึง รัฐวิสาหกิจ ตลอดจนการค้ำประกันหนี้สินโดยรัฐบาล ซึ่งการเกิดขึ้นของหนี้สาธารณะส่วนใหญ่ของรัฐบาลทั่วโลก มาจากการดำเนินนโยบายของรัฐแบบขาดดุล หรือก็คือรายได้ของรัฐน้อยกว่ารายจ่ายของรัฐ ทำให้ต้องมีการกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลในแต่ละรอบปีงบประมาณการกู้เงินของรัฐบาล มีได้หลายช่องทาง รัฐอาจกู้จากสถาบันการเงินภายในประเทศ เช่น ธนาคารพาณิชย์ และ ธนาคารกลาง, สถาบันการเงินต่างประเทศ, เอกชน เป็นต้น ในประเทศกำลังพัฒนามีแนวโน้มที่งบประมาณของรัฐบาลจะขาดดุลเนื่องจากระดับรายได้ของประชาชนต่ำ มีการหลีกเลี่ยงภาษีอากร จึงมีผลให้รัฐบาลจัดเก็บภาษีอากรได้น้อย ในขณะเดียวกันรัฐบาลพยายามเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการปรับโครงสร้างพื้นฐาน ทำให้รายจ่ายด้านสาธารณูปโภคเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว รัฐบาลจึงจำเป็นต้องก่อหนี้สาธารณะ ประเภทของหนี้สาธารณะ
1. หนี้ภายในประเทศ เกิดจากการที่รัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายในประเทศ เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์และจำหน่ายพันธบัตรประชาชนทั่วไปเป็นเงินกู้ระยะยาว หรือจำหน่ายตั๋วคลังซึ่งเป็นการกู้ระยะสั้น
2. หนี้ต่างประเทศ เกิดจากรัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายนอกประเทศ เช่น ธนาคารโลก ตลาดการเงิน เพื่อนำมาสนับสนุนการลงทุนของรัฐบาล หรือค้ำประกันเงินก็ของรัฐวิสาหกิจ
Kapook said…
นางสาวอริศรา แสงรัศมี วันเสาร์ รุ่น 44 รหัส 1099 เช้า

1. งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ งบประมาณ
ความหมายของงบประมาณจะแตกต่างกันออกไปตามกาลเวลาและลักษณะการให้ความหมายของนักวิชาการแต่ละด่าน ซึ่งมองงบประมาณแต่ละด่านไม่เหมือนกัน เช่น นักเศรษฐ ศาสตร์มองงบประมาณในลักษณะของการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จํากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด นักบริหาร จะมองงงบประมาณในลักษณะของกระบวนการหรือการบริหารงบประมาณให้เกิดประสิทธิภาพสูง สดุ โดยบรรลุเป้าหมายของแผนงานที่วางไว้นักการเมืองจะมองงบประมาณในลักษณะของการมุ่งให้รัฐสภาใช้อํานาจควบคุมการปฏิบัติงานของรัฐบาล
ความหมายดั้งเดิม งบประมาณหรือ Budget ในความหมายภาษาอังกฤษแต่เดิม หมายถึงกระเป๋าหนังสือใบใหญ่ที่เสนนาบดีคลังใช้บรรจุเอกสารต่างๆที่แสดงถึงความต้องการของประเทศ และทรัพยากรที่มีอยู่ในการแถลงต่อรัฐสภา ต่อมาความหมายของ Budget ก็ค่อย ๆ เปลี่ยนจากตัว กระเป๋าเป็นเอกสารต่าง ๆ ที่บรรจุในกระเป๋านั้น
สรุปความหมายของงบประมาณ หมายถึง แผนเบ็ดเสร็จ ซึ่งแสดงออกในรูปตัวเงิน แสดงโครงการดําเนินงานทั้งหมดในระยะหนึ่ง รวมถึงการกะประมาณการบริหารกิจกรรม โครงการ และค่าใช้จ่าย ตลอดจนทรัพยากรที่จําเป็นในการสนับสนุน การดําเนินงานให้บรรลุตามแผนนี้ย่อม ประกอบด้วยการทํางาน 3 ขั้นตอน คือ (1) การจัดเตรียม (2) การอนุมัติและ (3) การบริหาร
การคลังสาธารณะ (publicfinance) หมายถึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจท่ีเกี่ยวขอ้งกบัรายรับ และรายจ่ายของรัฐบาลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ

2. อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ รายจ่าย•
1 รายจ่ายประจำ เงินเดือน+สวัสดิการต่างๆ
>>ข้าราชการประจำ
>>ข้าราชการการเมือง
>>ลูกจ้างของรัฐ
และค่าน้ำ ค่าไฟ ต่างๆ
2 จ่ายเพื่อการลุงทุน พัฒนาประเทศ
เช่น
>>การสร้างถนน
>>โครงการต่างๆ
>>การลงทุน
3 จ่ายในการชำระเงินกู้ ในการที่มีพันธะในการชำระ
>>หนี้จากการกู้ยืม
>>ซื้อพันธบัตรรัฐบาล
>>คืนเงินคงคลัง

รายรับ•การจัดเก็บรายได้ของรัฐบาลประกอบด้วยรายรับที่มาจาก 2 ส่วน คือรายรับที่เป็นรายได้ และ รายรับ ที่ไม่เป็นรายได้ รายรับที่เป็นรายได้ได้แก่ รายได้จากภาษีอากร รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ รายได้ จากรัฐพาณิชย์ และรายได้อื่น ๆ ซึ่งรายได้มากกว่าร้อยละ 90 นั้นได้มาจากรายได้จากภาษีอากร
Kapook said…
นางสาวอริศรา แสงรัศมี วันเสาร์ รุ่น 44 รหัส 1099 บ่าย

ช่วงบ่าย
1. อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายงบประมาณ คือการจัดการใส่สวนของรายได้ (ภาษี) และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในประเทศหรือรัฐ
นโยบายงบประมาณ ยังรวมถึงนโยบายภาษี ในแต่ละปีเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจะลงคะแนนเสียงสำหรับงบประมาณตามรายได้และการคาดการณ์ค่าใช้จ่าย ซึ่งสามารถนำเสนอในสามรูปแบบ
1. งบประมาณสมดุล คือ งบประมาณที่รายรับและรายจ่ายเท่ากัน ใช้เพื่อการจัดสรรทรัพยากรและเพื่อการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม
2.งบประมาณเกินดุล คือ งบประมาณที่รายได้มากกว่ารายจ่าย ใช้ในช่วงที่เศรษฐกิจรุ่งเรือง รัฐบาลจะลดค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาลลงและเพิ่มภาษี เพื่อช่วยดึงเงินออกจากระบบเศรษฐกิจ
3.งบประมาณขาดดุล คือ งบประมาณที่รายจ่ายมากกว่ารายได้ ใช้ในช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำ รัฐบาลจะเพิ่มค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาลลงและลดภาษี เพื่อเพิ่มปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ

2. อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ. หนี้สาธารณะ (Public Debt) คือ หนี้ที่เกิดขึ้นจากการกู้ยืมของรัฐบาล กล่าวคือ เมื่อฐานะการเงินของรัฐบาลเกิดการขาดดุล คือ รายจ่ายมากกว่ารายรับ และรัฐบาลไม่สามารถจะหารายได้จากภาษีที่เก็บจากประชาชนมาเพื่อใช้จ่ายได้พอ ก็จะทำการกู้ยืมจากแหล่งเงินกู้ 2 แหล่ง คือ กู้ยืมจากภายในประเทศ และ กู้ยืมจากต่างประเทศ

ประเภทของหนี้สาธารณะ
1. แบ่งตามระยะเวลาของเงินกู้
1.1. หนี้ระยะสั้น (Short term) มีกำหนดเวลาใช้คืน 3 เดือน 6 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี ส่วนใหญ่จะเป็นการกู้ที่รัฐบาลมีความจำเป็นต้องใช้เงินในระยะสั้นๆ จะออกเป็นตั๋วเงินคลัง (Treasury Bills) หรือออกใบรับรองการเป็นหนี้ให้ การกู้ประเภทนี้จะมีอัตราดอกเบี้ยต่ำ ส่วนใหญ่รัฐบาลกู้จากธนาคารแห่งประเทศไทย
โครงการจัดทำข้อมูลองค์ความรู้ งวดที่ 1 : นิยามธุรกิจ: เศรษฐศาสตร์ 1/3
1.2. หนี้ระยะปานกลาง (Intermediate term) คือ หนี้ที่มีกำหนดเวลาใช้คืนตั้งแต่ 1-5 ปี รัฐบาลจะออกTreasury note มาเป็นหลักฐานในการกู้
1.3. หนี้ระยะยาว (Long term) คือ หนี้ที่มีกำหนดระยะเวลาใช้คืนตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป รัฐบาลจะออกตราสารประเภทพันธบัตรรัฐบาลออกมา โดยกำหนดจำนวนเงิน ระยะเวลาใช้คืน และดอกเบี้ย ส่วนใหญ่จะเป็นการกู้เพื่อนำไปใช้ในโครงการระยะยาว เช่น การลงทุนในโครงการสาธารณูปโภค เช่น สร้างถนน สร้างสะพานข้ามแม่น้ำ
2. แบ่งตามแหล่งของเงินกู้
2.1. หนี้ภายในประเทศ รัฐบาลจะกู้เงินจากประชาชนทั่วไป ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารกลาง และสถาบันการเงินอื่นๆ ภายในประเทศ เงินที่กู้ยืมอาจจะเป็นเงินตราของประเทศหรือเงินตราต่างประเทศก็ได้
2.2. หนี้ภายนอกประเทศ รัฐบาลจะกู้เงินจากแหล่งเงินกู้ภายนอกประเทศ ทั้งเอกชน รัฐบาล หรือสถาบันการเงินระหว่างประเทศ เช่น ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (The Asian Development Bank) หรือกู้จากธนาคารโลก (World Bank) หรือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund) เป็นต้น
Kapook said…
นางสาวอริศรา แสงรัศมี รุ่น 44 รหัส 1099 วันอาทิตย์

พฤติกรรมการบริหาร การดำเนินการและ/หรือการปกครอง(การควบคุม การแนะนำ/การส่งเสริม การบังคับ) การบริหาร หมายถึง การให้คำแนะนำ การเป็นผู้นำและการควบคุมงานของกลุ่มต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน หรือการบริหาร คือ การจัดการกับปัญหาต่าง ๆ ซึ่งหมายถึงการแก้ไขปัญหา การบริหาร คือ กระบวนการของการวางแผน การจัดองค์การ การสั่งการ และการควบคุมกำลังความพยายามของสมาชิกขององค์การ และการใช้ทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อความสำเร็จในเป้าหมายขององค์การกำหนดไว้ดังนั้น การประยุกต์ความหมายดังกล่าวข้างต้นต่อการบริหารตนเอง จึงหมายถึง ศิลปะการดำเนินการโดยการประยุกต์ใช้หลักการบริหารมาใช้ในการวางแผน ควบคุมแผนการบริหารตนเองเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของชีวิตที่ตั้งไว้

บทบาททางการบริหาร กระบวนการบริหารจัดการ เป็นกลไกและตัวประสานที่สำคัญที่สุดในการประมวล ผลักดัน และกำกับให้ปัจจัยต่างๆที่เป็นทรัพยากรการจัดการประเภทต่างๆ สามารถดำเนินไปได้โดยมีประสิทธิภาพ จนบรรลุเป้าหมายตามที่ต้องการ การเข้าใจถึงกระบวนการบริหารจัดการและการฝึกฝนให้มีทักษะสูงขึ้น จะช่วยให้การบริหารงานมีประสิทธิ ภาพมากขึ้นได้ กิจกรรมพื้นฐาน 4 ประการที่ทำให้เกิดกระบวนการบริหารจัดการ มีดังนี้

1. การวางแผน (Planning) หมายถึง กระบวนการในการกำหนดเป้าหมาย แผนงาน และตัดสินใจหาวิธีการที่ดีที่สุดที่ทำให้เป้าหมายนั้นบรรลุผลสำเร็จ

2. การจัดองค์การ (Organizing) หมายถึง กระบวนการในการจัดตั้งและจัดวางทรัพยากรบุคคล และทรัพยากรที่ไม่ใช่บุคคล โดยวางแผนให้สามารถบรรลุผลสำเร็จขององค์การ

3. การนำและสั่งการ (Leading and Directing) หมายถึง กระบวนการของการมีอิทธิพล เหนือบุคคลอื่นในการที่จะให้บุคคลอื่นมีพฤติกรรมในการทำงานที่ต้องการ และทำให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ

4. การควบคุม (Controlling) หมายถึง กระบวนการในการกำหนดกิจกรรมต่างๆ ขององค์การให้เป็นไปตามมาตรฐาน และเป้าหมายที่องค์การคาดหวัง และกำหนดไว้

ความรับผิดขอบทางการบริหาร หลักการที่น่าสนใจอย่างมาก คือ
หลักการรับผิดชอบ (Accountability)
ซึ่งประกอบด้วยบุคคล 2 ฝ่าย
ผู้รับมอบอำนาจ ย่อมต้องยอมรับผลพวงที่จะตามมาทั้งเชิงบวกและเชิงลบ
พอเกิดความผิดพลาดโยนกันไปโยนกันมาไม่ได้
ถ้าหากเป็นการบริหารราชการแผ่นดินนั้น เรามองได้จากประชาชนและรัฐบาลต้องมีศักยภาพรับผิดชอบต่อพลเมืองทุกคนในสังคมอย่างเท่าเทียมกัน

มิติของการรับผิดชอบ
ต้องเป็นไปใน
1.มิติเชิงวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมาย คือจะให้ใครรับผิดชอบเรื่องใดมุ่งเน้น Input และ Process
2. มิติเชิงสถาบัน คือ ใครรับผิดชอบต่อใคร
มิติเชิงสถาบัน คือ ความสัมพันธ์เป็นลักษณะอย่างไรต้องมีในเรื่องที่ทำ และต้องทำอย่างต่อเนื่องด้วย
นายณัฐพล พงศ์แพทย์ รุ่น 41 รหัสนักศึกษา 6123451204 16/5/63
เช้า
1 งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ.งบประมาณ คือการวางแผนการเงินในช่วงเวลาที่กำหนดชัดเจน โดยมากแล้วคือหนึ่งปี งบประมาณอาจรวมถึง ปริมาณแผนการขาย และรายได้, ปริมาณทรัพย์สิน, ค่าใช้จ่าย, สินทรัพย์, หนี้สินและกระแสเงินสด โดยที่บริษัท รัฐบาล ครอบครัว และองค์กรต่าง ๆ จะใช้งบประมาณเพื่อแสดงแผนกลยุทธ์ของกิจกรรมหรือผลให้สามารถวัดได้
การคลังสาธารณะ คือบทบาทและหน้าที่ของรัฐในการวางนโยบายเกี่ยวกับการบริหารการเงินของรัฐบาล และเป็นภารกิจหนึ่งของรัฐในการกำหนดบทบาทและหน้าที่ของรัฐว่าจะมีการดำเนินงาน ในด้านใดบ้าง การบริหารการเงินของรัฐบาลในด้านรายได้และค่าใช้จ่าย รัฐจะกำหนดว่าควรทำอะไรบ้าง จะหารายได้มาจากที่ใด ในลักษณะใด รายได้นั้นมาจากไหน เป็นจำนวนเท่าใด และอย่างไรการคลังสาธารณะมีความสำคัญเนื่องจากมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับการเมือง การบริหาร เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศที่ยากจะแยกประเด็นออกจากกันได้ชัดเจน และเป็นสิ่งสำคัญที่จะรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสร้างความสงบสุขให้กับสังคม การดำเนินการทางการคลังแทบทุกด้านไม่ว่าจะเป็นการจ่ายเงิน การหารายได้ การกู้เงิน นอกจากต้องอาศัยหลักวิชาเศรษฐศาสตร์เข้าช่วยแล้วยังต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมทางการเมือง เพื่อให้เป็นแรงขับเคลื่อนให้องค์กรในภาครัฐ ในระดับต่าง ๆ มีแรงขับเคลื่อนให้ประสบความสำเร็จในด้านการเมือง โดยใช้การคลังเป็นทุนขับเคลื่อนเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ รวมทั้งเป็นการสร้างให้เกิดความมั่นคงทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคม และคำนึงถึงความเหมาะสมทางการเมือง เพื่อให้สิ่งที่เป็นอยู่และสิ่งที่ควรจะเป็นเกิดความสงบสุข
บ่าย
1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ.นโยบายงบประมาณ (budget policy)
-นโยบายงบประมาณแบบสมดุล (balanced budget policy)
-นโยบายงบประมาณแบบเกินดุล (surplus budget policy)
-นโยบายงบประมาณแบบขาดดุล (deficit budget policy)


2.อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ.ประเภทของหนี้สาธารณะ
1.ระยะเวลาชำระหนี้ 1.1หนี้ระยะสั้น 1.2หนี้ระยะกลาง 1.3หนี้ระยะยาว
2.แหล่งที่มาของหนี้ 2.1หนี้ภายใน 2.2หนี้ภายนอก
Nancy said…
งานวันอาทิตย์ที่ 17/5/63 งานสัปดาห์ที่ 3
นางสาวชฎาวัลย์ คำพันธ์ รหัส 62423471026 ภาคพิเศษ รุ่นที่ 44

1.พฤติกรรมการบริหาร
ตอบ พฤติกรรมการบริหาร หมายถึง การกระทำที่ผู้บริหารแสดงออกทางกายภาพ ทางอารมณ์ เป็นปฏิกิริยาจากคุณลักษณะส่วนบุคคลต่อผู้ร่วมงาน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่กำหนดไว้ เพื่อให้งานดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

2.บทบาททางการบริหาร
ตอบ บทบาททางการบริหาร คือ
1. บทบาทด้านมนุษย์สัมพันธ์
เป็นประธาน หัวโขน : ตัวแทนขององค์การ
ผู้นำ : รับผิดชอบในการจูงใจและชี้นำผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทำงานอย่างเต็มความสามารถ
ผู้ประสานงาน : สร้างและรักษาความสัมพันธ์กับองค์การภายนอก สร้างเครือข่าย ผูกมิตรกับบุคคลหรือกลุ่มต่างๆที่มีความสำคัญต่อองค์การ
2. บทบาททางด้านข้อมูลข่าวสาร
ผู้แสวงหาข้อมูล ข่าวสารที่ทันสมัย เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาองค์การ
ผู้กระจายข้อมูล เผยแพร่ข่าวสารที่ได้มา ทั้งจากภายนอกและภายในให้แก่พนักงานในองค์การ
ผู้แถลงข่าว ประชาสัมพันธ์ ในเรื่องที่เกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน การปฏิบัติงาน และผลการดำเนินงานขององค์การไปสู่ภายนอก
3. บทบาทในการตัดสินใจ
ผู้ประกอบการ : ศึกษาสภาพแวดล้อมและโอกาสทางธุรกิจ มีความตั้งใจทำงาน มุ่งมั่นให้งานประสบความสำเร็จ
ผู้ขจัดความขัดแย้ง : รับผิดชอบในการแก้ไขปัญหาต่างๆที่องค์การเผชิญอยู่
ผู้จัดสรรทรัพยากร : รับผิดชอบในการจัดสรรทรัพยากรทุกชนิด ทั้งด้านบุคคล วัตถุ และการเงิน ซึ่งมีผลต่อการตัดสินใจขององค์การ
ผู้เจรจาต่อรอง : เป็นตัวแทนในการเจรจาต่อรองเรื่องสำคัญ เพื่อรักษาผลประโยชน์ที่องค์การควรได้รับ

3.หลักความรับผิดชอบ
ตอบ หลักความรับผิดชอบ ประกอบด้วยบุคคล 2 ฝ่าย
1. ผู้รับมอบอำนาจ ต้องยอมรับผลพวงที่จะตามมาทั้งเชิงบวกและเชิงลบ พอเกิดความผิดพลาดโยนกันไปโยนกันมาไม่ได้ ถ้าหากเป็นการบริหารราชการแผ่นดินนั้น เรามองได้จากประชาชนและรัฐบาลต้องมีศักยภาพรับผิดชอบต่อพลเมืองทุกคนในสังคมอย่างเท่าเทียมกัน
2. มิติของการรับผิดชอบ
1. มิติเชิงวัตถุประสงค์ หรือจุดมุ่งหมาย คือ จะให้ใครรับผิดชอบเรื่องใดมุ่งเน้น Input และ Proces ให้เป็นไปตามแผน นโยบาย กฎเกณฑ์หรือข้อบังคับ Compliane Accountibility
- ภาระรับผิดชอบต่อการใช้อำนาจรัฐ ต่อการใช้จ่ายเชิงแผ่นดิน แสดงข้อมูล รายการสถานะทางการใช้จ่ายเงิน ต้องมีภาระรับผิดชอบต่อผลงาน มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงาน บริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ มุ่งเน้นความสำคัญต่อคุณภาพ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่าของเงิน
2.​ มิติเชิงสถาบัน คือ ใครรับผิดชอบต่อใคร ความสัมพันธ์เป็นลักษณะอย่างไร ต้องมีในเรื่องที่ทำ และต้องทำอย่างต่อเนื่อง
1. ความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการ​ ได้แก่ ภาระรับผิดชอบของการเมือง Politicul Accountability ประชาชนจะสามารถอาศัยกระบานการทางการเมือง เช่นการออกเสียงเลือกตั้ง ในวิธีทางในการควบคุมการทำงานของฝ่ายการเมือง
2. ภาระรับผิดชอบทางราชการ Bureaucratic Accountability เป็นเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างข้าราชการประจำและรัฐมนตรีเข้าสังกัด โดยเป็นการนำนโยบายบริหารราชการแผ่นดินฝ่ายการเมืองนำไปปฏิบัติให้บรรลุผล
3. ภาระรับผิดชอบของการบริหารจัดการ Managerial Accountability คือ เป็นเรื่องทางความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารสูงสุด กับองค์กรบริหารสูงสุดของหน่วยงานที่ผูกกับผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงาน เป็นไปตามข้อตกลงว่าด้วยผลงาน
4. ภาระรับผิดชอบทางกฎหมาย Legal Accountability เป็นเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการ ซึ่งเป็นผลจากการถ่วงดุลอำนาจทางการปกครอง โดยการวินิจฉัยหรือการตัดสิทธิขาดบางกรณีข้อพิพาทต่างๆ
5. ภาระรับผิดชอบทางการบริหารจัดการ Managerial Accountability ส่วนของการปกครองบ้านเมือง (ภาระรับผิดชอบของผู้บริหารราชการแผ่นดิน)
การับผิดชอบต่อสาธารณะ คำว่าสาธารณะในที่นี้หมายถึงประชาชน ชุมชน องค์กรประชาสังคม สื่อมวลชนและกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ ทำให้การบริหารราชการแผ่นดินจะต้องเป็นไปอย่างเปิดเผยและสามารถให้ประชาชน หรือกลุ่มบุคคลฝ่ายต่างๆมีโอกาสเข้ามาร่วมสังเกตการณ์ มีส่วนร่วมในการตัดสินใจร่วมดำเนินงาน หรือเป็นผู้ตรวจสอบและประเมินผลมากขึ้นอันเป็นไปตามกระแสแนวความคิดเกี่ยวกับ“ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม”
ภาระรับผิดชอบต่อตลาด คือเป็นความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลและระบบตลาด โดยเฉพาะการลดความผูกขาดของรัฐ หรืการปรับใช้ให้เข้าสู่สภาพการแข่งขันในระบบตลาด และการส่งเสริม สนับสนุนให้มารแข่งขันในการจัดบริหารสาธารณะเพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีทางเลือกมากขึ้น
ภาระรับผิดชอบต่อตนเอง Self – Accountability และภาระรับผิดชอบต่อวิชาชีพ Profesional Accountability คือ เป็นเรื่องเฉพาะของตนเอง เป็นความสัมพันธ์ต่อตนเองและผู้ร่วมวงการวิชาชีพเดียวกัน
นายณัฐพล พงศ์แพทย์ รุ่น 41 รหัสนักศึกษา 6123451204 17/5/63
1.พฤติกรรมการบริหาร
ตอบ.พฤติกรรมการบริหารในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ กระนั้น จำเป็นต้องมีการศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมเหล่านั้นใน สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองทั้งที่เหมือนกันและแตกต่างกัน และ การศึกษาการบริหารรัฐกิจ บริหารรัฐกิจเปรียบเทียบและการบริหารพัฒนา ต้อง อาศัยแนวทางนิเวศวิทยาด้วย รวมถึงการศึกษาการบริหารทุกประเภท ในแง่ที่ว่า สภาพแวดลอ้มมีอิทธิพลเหนืออินทรีย์ และองค์กร และอินทรีย์และองค์การเองก็มี อิทธิพล หรือมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ ยิ่งอินทรีย์และองค์กร ดังนั้นองค์การ ต้องสามารถควบคุมสภาพแวดล้อมให้โน้มน้าวไปในทิศทางที่ตนต้องการได้มาก เพียงใด ก็ยิ่งจะตรงกับการบริหารการพัฒนามากขึ้นเท่านั้น
2.บทบาททางการบริหาร
ตอบ.บทบาทของผู้บริหาร มี 3 ด้าน
1. ด้านผู้ประชาสัมพันธ์ มีบทบาทดังนี้
1. เป็นผู้แถลงข่าว โดยประกาศประชาสัมพันธ์ หรือให้เนื้อหาเกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน และผลการดำเนินงานไปยังองค์การอื่น ๆ
2. เป็นผู้เผยแพร่ข้อมูล โดยให้ข้อมูล ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ให้กับพนักงานและหน่วยงานต่าง ๆ ในองค์การ
3. เป็นผู้รับข้อมูล ติดตาม เก็บข้อมูลทั้งภายในและภายนอกองค์การ
2. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
1. เป็นผู้นำให้การส่งเสริมพัฒนาหรือจูงใจให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา
2. เป็นหัวโขน ทำหน้าที่เป็นตัวแทนหน่วยงานเช่น เป็นประธานเปิดงานปิดงานร่วมงานต่าง ๆ เป็นต้น
3. ผู้ประสานงานทั้งภายในและภายนอก
3. ด้านการตัดสินใจ
1. ผู้จัดทรัพยากรให้แก่งานต่าง ๆภายในองค์การอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
2. ผู้เจรจาต่อรองกับพนกงานหรือกับองค์การอื่น ๆ
3. ผู้ประกอบการเริ่มงานหรือแสวงหาโอกาสใหม่ๆ

3.ความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ.ความรับผิดชอบทางการบริหาร หมายถึง ภาระหรือพันธะผูกพันในการจะปฏิบัติหน้าที่การงานของผู้ร่วมงานให้เป็นไปตามเป้าหมายขององค์การ เนื่องจากบุคคลต้องอยู่ร่วมกันทำงานในองค์การ จำเป็นต้องปรับลักษณะนิสัย เจตคติของบุคคลเพื่อช่วยเป็นเครื่องผลักดันให้ปฏิบัติงานตามระเบียบรู้จักเคารพสิทธิของผู้อื่น ปฏิบัติงานในหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบและมีความซื่อสัตย์สุจริต คนที่มีความรับผิดชอบจะทำให้การปฏิบัติงานไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ และช่วยให้การทำงานร่วมกันเป็นไปด้วยความราบรื่น ความรับผิดชอบจึงเป็นภาระผูกพันที่ผู้นำต้องสร้างขึ้นเพื่อให้องค์การสามารถบรรลุเป้าหมายได้อย่างดี

นายธนกร แตงเนียม รหัสนักศึกษา 61423451090 รุ่น 41
คำถามวันเสาร์ ช่วงเช้า
1.งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ. การคลังสาธารณะคือเป็นปัญหาทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยแบ่งเป็น 4ประการดังนี้
1.ปัญหาการจัดสรรทรัพยากร
2.ปัญหาการกระจายรายได้ของประชาชาติ
3.ปัญหาการทำให้คนมีงานทำ
4.ปัญหาเสถียรภาพของระดับราคาและการพัฒนาเศรษฐกิจ
กล่าวโดยสรุปคือ การคลังสาธารณะหมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายรับรายจ่ายและการก่อหนี้สาธษรณะของรัฐบาลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ มีผลกระทบจากกิจกรรมการดำเนินการต่างๆ ทางการคลังของรัฐบาลที่มีต่อสังคมและประเทศชาติโดยรวม โดยมีขอบเขตเกี่ยวข้องกับงบประมาณแผ่นดิน การคลังดำเนินรายรับ การคลังด้านรายจ่าย และหนี้สาธารณะ
2.อธิบายโครงงสร้างรายรับรายจ่ายของไทย
ตอบ.รายรับ-รายจ่ายของรัฐ ถูกจัดสรรเพื่อใช้จ่ายในรอบ 1 ปี คือ งบประมาณแผ่นดิน
ปีงบประมาณแผ่นดินของไทยแต่ละปีโดยรอบปีงบประมาณแผ่นดินในรอบ 1 ปี นับจาก 1.ต.ค.-30 ก.ย.ของทุกๆปี
รายรับของรัฐบาลแบ่งเป็น3 ประเภท
1.รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร
2.รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็ยภาษี
3.รายรับที่ไม่ใช่รายได้
1.รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร - ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม
2.รายรับที่ไม่ได้มาจากการจัดเก็บภาษี - รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ รายได้จากพาณิชย์
3.รายรับที่ไม่ใช่รายได้ -รายรับที่มาจากการกู้เงิน การกู้จากประชาชน
ผู้บริหารงบประมาณของรัฐ คือ รัฐบาล
1.รายจ่ายประจำ
2.รายจ่ายเพื่อการลงทุน
3.ชำระหนี้
นายธนกร แตงเนียม รหัสนักศึกษา 61423451090 รุ่น 41
คำถามวันเสาร์ ช่วงบ่าย
1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ.นโยบายงบประมาณ คือการจัดสรรในส่วนของรายได้ และค่าใช้จ่ายรัฐบาลในประเทศหรือรัฐนโยบายงบประมาณ ยังรวมถึงนโยบายภาษี ในแต่ละปีเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจะลงคะแนนเสียงสำหรับงบประมาณตามรายได้การคาดการค่าใช้จ่ายงบประมาณ ซึ่งมี 3 รูปแบบคือ
1.งบประมาณสมดุล คือ งบประมาณที่รายรับรายจ่ายเท่ากัน ใช้เพื่อการจัดสรรทรัพยากรและเพื่อกระจายรายได้ที่เป็นธรรม
2.งบประมาณเกินดุล คือ งบประมาณที่รายได้มากกว่ารายจ่าย ใช้ในช่วงเศรษฐกิจที่รุ่งเรือง รัฐบาลขะลดค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้า
3.งบประมาณขาดดุล คือ งบประมาณที่รายจ่ายมากกว่ารายได้ ใช้ในช่วงเศรษฐกิจที่ตำตํ่า รัฐบาลจะเพิ่มค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้า
2.อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
หนี้สาธารณธสามารถแบ่งเป็น 3 ประเภทคือ
1.หนี้ระยะสั้น หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนต้นเงินกู้คืนไม่เกิน1 ปี นับจากวันที่กู้ซึ่งโดยปกติแล้วมักจะมีระยะเวลาในการชำระเงินคืนเพียง3เดือนหรือ91วัน เหตุผลที่ผู้กู้ประเภทนี้คือรายได้ประเภทต่างๆ ยังเข้ามาไม่ทันจึงต้องก่อหนี้ระยะสั้นเพื่อนำมาใช้ก่อนหรือเพื่อนำมาใช้หนี้
2.หนี้ระยะกลาง หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถ่อนคืนตั้งแต่ 1ปี หรือ 5ปี นับตั้งแต่วันที่กู้ ในปัจจุบัน ไม่นิยม ในการกู้หนี้ประเภทนี้เนื่องมาจากระยะเวลาในการชำระคืนไม่ตรงกับความจำเป็น ของโครงการหรือกิจการที่ต้องกู้และต้นทุน ที่อาจเกิดขากการที่มีการชำระหนี้
3.หนี้ระยะยาว หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่5 ปี เป็นต้นไปนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งระยะเวลา ของการกู้จะยาวแค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องใช้กู้ สำหรับในประเทศที่กำลังพัฒนารวมถึงประเทศไทยด้วยระยะยาวจะมีอายุระหว่าง5-10ปี แต่ในประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีอายุระหว่าง 10-30 ปี
นายธนกร แตงเนียม รหัสนักศึกษา 61423451090 รุ่น41
คำถามวันอาทิตย์ที่ 17 พ.ค. 63
จงกล่าวถึง
-พฤติกรรมการบริหาร
-บทบาททางการบริหาร
-ความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ.
1.พฤติกรรมการบริหารในสภาพแวดล้อมต่างๆ จำเป็นต้องมีการศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมเหล่านั้นในสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ทั้งที่เหมือนกันและต่างกัน การศึกษาการบริหารรัฐกิจ เปรียบเทียบ และบริหารการพัฒนา ต้องอาศัยแนวทางนิเวศด้วย รวมถึงการศึกษาค้นคว้า ในแง่ที่ว่า สภาพแวดล้อมมีอิทธิพลเหนืออินทรีย์ และองค์กร อิทธิพลมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ อินทรีย์องค์กร ดังนั้นองค์กร ต้องสามารถ ควลคุมสภาพแวดล้อมให้โน้มไปในทิศทางที่คนต้องการได้มาก
2.บทบาททางการบริหาร
บทบาทของผู้บริหารมี 3 ด้านคือ
1.ด้านผู้ประชาสัมพันธ์มีดังนี้
-เป็นผู้แถลงข่าว โดยประกาศประชาสัมพันธ์ หรือให้เนื้อหาเกี่ยวกับนโยบาย
-เป็นผู้เผยแพร่ข้อมูล โดยให้ข้อมูลเท็จจริงต่างๆ ให้กับพนักงานและในองค์กร
-เป็นผู้รับข้อมูล ติดตาม เก็บข้อมูล ภายในองค์กร
2.ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
-เป็นผู้ให้การส่งเสริมพัฒนาหรือจูงใจกับผู้ใต้บังคับบัญชา
-เป็นหัวโขน ทำหน้าที่เป็นตัวแทนหน่วยงานเช่น เป็นประธานเปิดงานต่างๆเป็นต้น
-เป็นผู้ประสานงานทั้งภายในและภายนอก
3.ด้านการตัดสินใจ
-ผู้จัดทรัพยากรให้แก่งานต่างๆภายในองค์กร
-ผู้เจรจาต่อรองกับพนักงานหรือองค์กรอื่นๆๆ
-ผู้ประกอบการเริ่มงานหรือแสวงหาโอกาศใหม่ๆ

3.ความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ.ความรับผิดชอบทางการบริหาร หมายถึง ภาระหรือพันธะผูกพันในการจะปฎิบัติหน้าที่การงานของผู้ร่วมงานให้เป็นไปตามเป้าหมายชององค์กร เนื่องจากบุคคลต้องอยู่ร่วมกันทำงานในองค์กร จำเป็นต้องปรับลักษณะนิสัย เจตคติของบุคคลเพื่อช่วยเป็นเครื่องผลักดันให้ปฎิบัติงานตามระเบียบรู้จักเคารพสิทธิของผู้อื่น ปฎิบัติงานในหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบและมีความซื่อสัตย์สุจริต
นางสาว เชษฐ์สุดา ตัญญวงษ์
รหัส 62423471007 รุ่นที่ 44
งานวันที่ 16/05/63
ช่วงเช้า

1.) งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ งบประมาณ หมายถึง แผนการที่คาดไว้ว่าจะต้องจ่าย โดยการคิดล่วงหน้าและแสดงออกมาเป็นตัวเลขงบประมาณ อาจแสดงออกมาในรูปของตัวเงิน จำนวนชั่วโมงในการทำงาน จำนวนผลิตภัณฑ์ จำนวนชั่วโมงเครื่องจักร เป็นต้น
ชนิดของงบประมาณ แบ่งตาชนิดของการวางแผนได้เป็น 2 ชนิด คือ
1.)งบประมาณดำเนินการ เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานในหน่วยงานทุกแผนก
2.)งบประมาณการเงิน ข้อมูลที่อยู่ในงบประมาณดำเนินการ สามารถนำมาคำนวณเป็นตัวเลขได้
การคลังสาธารณะ หมายถึง เป็นเรื่องของการจัดการทางเศรษฐกิจของรัฐบาลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับรายได้และรายจ่าย และหนี้สาธารณะ และเป็นนโยบายการคลังซึ่งเป็นการจัดการทางการคลังของรัฐบาลที่มีผลสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ การคลังสาธารณะมีความสำคัญในการเป็นเครื่องมือของรัฐบาล เป็นองค์ประกอบที่สำคัญยิ่งในการดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจของประเทศได้ เนื่องจากการจัดหารายได้และรายจ่ายของรัฐบาลก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจส่วนรวมด้านต่างๆ รัฐบาลที่จะประสบความสำเร็จในการบริหารประเทศจึงจำเป็นต้องมีความสามารถในการบริหารการคลังนี้ด้วย

2.) อธิบายโครงสร้างรายรับรายจ่ายของไทย
ตอบ รายได้ของรัฐบาล หมายถึง เงินภาษีอากร กำไรจากรัฐวิสาหกิจ ค่าธรรมเนียมและรายได้เบ็ดเตล็ดอื่นๆในรอบปี
รายได้ของรัฐบาลที่สำคัญ คือ รายได้จากภาษีอากรแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1.)รายได้จากภาษีอากร
2.)รายได้ที่มิใช่ภาษีอากร
รายได้จากภาษีอากร หมายถึง รายได้ที่รัฐบาลบังคับเก็บจากประชาชนผู้มีรายได้เพื่อใช้จ่ายในกิจกรรมของรัฐบาลเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม และไม่มีผลตอบแทนโดยตรงจากผู้เสียภาษีอากร
รายได้ที่มิใช่ภาษีอากร หมายถึง รายได้ที่รัฐบาลไปบังคับเก็บจากประชาชน เช่น รายได้เก็บ จากภาคหลวงป่าไม้ ภาคหลวงแร่ รายได้จากการรถไฟ การไฟฟ้า อุตสาหกรรมของรัฐ รายได้จากค่าธรรมเนียม จดทะเบียน การออกใบอนุญาตต่าง ๆ รายได้จากเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศและรายได้ค่าปรับดอกเบี้ย เงินกู้ รายได้จากสลากกินแบ่งรัฐบาล
ภาษีอากร
วัตถุประสงค์ของการจัดเก็บภาษีอากร
1. เพื่อเป็นรายได้ของรัฐบาล ส่วนใหญ่มาจากภาษีอากร
2. เพื่อจัดสรรและกระจายรายได้ โดยยึดหลักการเก็บภาษีจากผู้ที่มีรายได้มากในอัตราที่สูงและ ยกเว้นรายได้ในกรณีไม่ถึงเกณฑ์เสียภาษี
3. เพื่อเป็นการควบคุมการบริโภค การผลิต ตลอดจนการนำเข้าและส่งออก
4. เพื่อนำไปชำระหนี้ของรัฐบาลและพัฒนาประเทศ
5. เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ โดยการปรับอัตราภาษีให้เหมาะสมกับสภาพ
นางสาว เชษฐ์สุดา ตัญญวงษ์
รหัส 62423471007 รุ่นที่ 44
งานวันที่ 16/05/63
ช่วงบ่าย

1.) อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ งบประมาณ หมายถึง แผนการใช้จ่ายเงินของรัฐบาล ซึ่งแสดงวัตถุประสงค์ แหล่งที่มาของรายรับรายจ่ายของรัฐบาลในระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติถือเอาระยะเวลา 1 ปี คือ เริ่มจาก 1 ตุลาคม ไปสิ้นสุดที่ 30 กันยายนของปีถัดไป
ลักษณะของงบประมาณ
งบประมาณของรัฐบาลมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ ทั้งด้านรายรับและรายจ่าย ผลกระทบจะมากน้อยและอยู่ในลักษณะใดขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้งบประมาณของรัฐบาล ซึ่งมี3 ลักษณะ คือ
1.) งบประมาณสมดุล หมายถึง การที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายเท่ากับรายได้พอดี งบประมาณสมดุลจะมีข้อขำกัด ในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ เกิดภาวะเงินฝืด อัตราการว่างงานสูง การดำเนินนโยบายงบประมาณสมดุลจะไม่ช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวได้ เพราะการใช้จ่ายของรัฐบาลถูกกำหนดโดยรายได้ ดังนั้นนโยบายงบประมาณสมดุล จึงเป็นนโยบายที่ไม่ยืดหยุ่นไม่สามารถปรับได้คล่องตัวเพื่อแก้ปัญหาเศรษฐกิจได้
2.) งบประมาณขาดดุล หมายถึง การที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายมากกว่ารายได้ และจำเป็นต้องนำรายรับจากเงินกู้หรือเงินคงคลังมาชดเชยการขาดดุล ปัจจุบันนักเศรษฐศาสตร์มีแนวคิดว่า การที่รายจ่ายสูงกกว่ารายได้ และรัฐบาลก่อหนี้สาธารณะมาใช้จ่ายนั้นไม่ใช้สิ่งที่เสียหาย ถ้าเงินที่กู้มาถูกใช้ในทิศทางเพื่อการเพิ่มผลผลิต การเพิ่มการลงทุน และการจ้างงาน
3.) งบประมาณเกินดุล หมายถึง การที่รัฐบาลใช้จ่ายน้อยกว่ารายได้ที่จัดเก็บได้ ทำให้มีเงินเหลือเข้าเป็นเงินคงคลังเพิ่มขึ้น

2.) อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ ในประเทศกำลังพัฒนามีแนวโน้มที่งบประมาณของรัฐบาลจะขาดดุบ เนื่องจากระดับรายได้ของประชาชนต่ำ มีการหลีกเลี่ยงภาษีอากร จึงมีผลให้รัฐบาลจัดเก็บภาษีอากรได้น้อย ในขณะเดียวกันรัฐบาลพยายามเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการปรับโครงสร้างพื้นฐาน ทำให้รายจ่ายด้านสาธารณูปโภคเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว รัฐบาลจึงจำเป็นต้องก่อหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะอาจจำแนกตามแหล่งเงินกู้ได้ดังนี้
1. หนี้ภายในประเทศ
หนี้ภายในประเทศ หมายถึง หนี้สาธารณะที่เกิดขึ้นจากการที่รัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายในประเทศ เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์ สถาบันทางการเงินประเภทต่าง ๆ และประชาชนทั่วไป วิธีการก่อหนี้สาธารณะภายในประเทศนั้น รัฐบาลจะจำหน่ายพันธบัตรซึ่งเป็นเงินกู้ระยะยาว หรือจำหน่ายตั๋วคลังซึ่งเป็นการกู้ระยะสั้น
2. หนี้ต่างประเทศ
หนี้ต่างประเทศ หมายถึง หนี้สาธารณะที่เกิดจากรัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายนอกประเทศ เพื่อนำมาสนับสนุนการลงทุนในโครงการต่าง ๆ ของรัฐบาล หรือค้ำประกันเงินก็ของรัฐวิสาหกิจ แหล่งเงินกู้ต่างประเทศที่สำคัญ คือ ธนาคารโลก กองทุนความร่วมมือทางเศรษฐกิจโพ้นทะเลแห่งประเทศญี่ปุ่น ธนาคารพัฒนาเอเชีย และตลาดการเงิน
การก่อหนี้สาธารณะอาจเกิดผลดีในด้าน การนำเงินไปใช้เพื่อเพิ่มผลผลิต จะทำให้อัตราการพัฒนาเศรษฐกิจรวดเร็วยิ่งขึ้น แต่ในขณะเดียวกันจะมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ กล่าวคือ ในกรณีหนี้ภายในประเทศ ถ้ารัฐบาลกู้ยืมเงินลงทุนของภาคเอกชน จะเกิดผลกระทบต่ออุปสงค์รวม ทำให้ระดับรายได้ประชาชาติและการว่าจ้างทำงานลดลง ส่วนหนี้ต่างประเทศจะส่งผลกระทบต่อเงินที่ไหลออกนอกประเทศ เนื่องจากการชำระหนี้เงินกู้และดอกเบี้ยเงินกู้แก่ต่างประเทศ
นางสาว เชษฐ์สุดา ตัญญวงษ์
รหัส 62423471007 รุ่นที่ 44
งานวันที่ 17/05/63

1.) พฤติกรรมการบริหาร
ตอบ เป็นการนำเสนอกรอบความคิดในการบริหารจัดการการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตลอดจนได้ผลผลิตที่มีประสิทธิผลไปพร้อมกันด้วย ในยุคปัจจุบันนี้ไม่ว่าจะองค์กรเล็กหรือองค์กรใหญ่ต่างก็ต้องการการจัดการที่ดีทั้งนั้น เพื่อให้องค์กรสามารถก้าวหน้าได้ดีที่สุด
2.) บทบาททางการบริหาร
ตอบ แบ่งออกเป็น 3 บทบาท ดังนี้
1.)บทบาทระหว่างบุคคล เนื่องจากผู้บริหารมีอำนาจหน้าที่และต้องทำงานกับบุคคลอื่นๆ ทั้งในและนอกองค์การ จึงต้องมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในรูปแบบต่างๆ บทบาทที่จัดอยู่ในกลุ่มนี้ได้แก่ บทบาทการเป็นสัญลักษณ์ บทบาทการเป็นผู้นำ และบทบาทการเป็นผู้ประสานงาน
2.)บทบาทเกี่ยวกับข้อมูลดังที่ได้กล่าวไปแล้วว่า ข้อมูล คือทรัพยากรหนึ่งขององค์การ และเป็นสิ่งที่องค์การจะต้องใช้ในการบริหารจัดการ ดังนั้น ผู้บริหารจึงต้องมีบทบาทที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลในแง่ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นบทบาทของการเฝ้าสังเกต บทบาทการเผยแพร่ข้อมูล และบทบาทการเป็นผู้แถลงข่าว
3.)บทบาทเกี่ยวกับการตัดสินใจ ในบทบาทการตัดสินใจ คือ การที่ผู้บริหารจะต้องเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับองค์การ รวมทั้งความคิดและความกล้าที่จะรับความเสี่ยงจากการตัดสินใจ โดยบทบาทที่อยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่ บทบาทการเป็นผู้ประกอบการ บทบาทของการเป็นผู้รับมือกับความยุ่งยากบทบาทการเป็นผู้จัดสรรทรัพยากร และบทบาทการเป็นนักเจรจาต่อรอง
3.) หลักความรับผิดชอบ
ตอบ หลักการรับผิดชอบ (Accountability)
ซึ่งประกอบด้วยบุคคล 2 ฝ่าย
ผู้รับมอบอำนาจ ย่อมต้องยอมรับผลพวงที่จะตามมาทั้งเชิงบวกและเชิงลบพอเกิดความผิดพลาดโยนกันไปโยนกันมาไม่ได้
ถ้าหากเป็นการบริหารราชการแผ่นดินนั้น เรามองได้จากประชาชนและรัฐบาลต้องมีศักยภาพรับผิดชอบต่อพลเมืองทุกคนในสังคมอย่างเท่าเทียมกัน
มิติของการรับผิดชอบต้องเป็นไปใน
1.)มิติเชิงวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมาย คือจะให้ใครรับผิดชอบเรื่องใดมุ่งเน้น Input และ Process
2.)มิติเชิงสถาบัน คือ ใครรับผิดชอบต่อใคร
มิติเชิงสถาบัน คือ ความสัมพันธ์เป็นลักษณะอย่างไรต้องมีในเรื่องที่ทำ และต้องทำอย่างต่อเนื่องด้วย
งานวันอาทิตย์ที่17/5/63
นางสาว อุมาพร สุรวิทย์ รหัส1001 รุ่น11
1.พฤติกรรมการบริหาร
ตอบ พฤติกรรมการบริหาร หมายถึง การกระทำหรือกิจกรรมของหน่วยงาน หนึ่ง ได้แก่ บางสิ่งบางอย่างที่หน่วยงานได้กระทำ รวมทั้งการกระทำที่ปรากฏออกมาให้เห็นได้ กระบวนการที่เกิดขึ้นในทางกายภาพและทางอารมณ์ และกิจกรรมที่เกิดจากบุคคลที่มีจิตใจปกติ
2.บทบาททางการบริหาร
ตอบ บทบาทของการบริหาร (Management Rotes) นักวิชาการด้านการจัดการชื่อ Henry Mintzbery ได้
ศึกษาการทำงานของการบริหารแต่ละวัน พบว่าบทบาทของการบริหาร มี 3 ด้าน ดังนี้
1. บทบาทด้านมนุษย์สัมพันธ์
เป็นประธาน หัวโขน : ตัวแทนขององค์การ
ผู้นำ : รับผิดชอบในการจูงใจและชี้นำผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทำงานอย่างเต็มความสามารถ
ผู้ประสานงาน : สร้างและรักษาความสัมพันธ์กับองค์การภายนอก สร้างเครือข่าย ผูกมิตรกับบุคคลหรือกลุ่มต่างๆที่มีความสำคัญต่อองค์การ
2. บทบาททางด้านข้อมูลข่าวสาร
ผู้แสวงหาข้อมูล ข่าวสารที่ทันสมัย เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาองค์การ
ผู้กระจายข้อมูล เผยแพร่ข่าวสารที่ได้มา ทั้งจากภายนอกและภายในให้แก่พนักงานในองค์การ
ผู้แถลงข่าว ประชาสัมพันธ์ ในเรื่องที่เกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน การปฏิบัติงาน และผลการดำเนินงานขององค์การไปสู่ภายนอก
3. บทบาทในการตัดสินใจ
ผู้ประกอบการ : ศึกษาสภาพแวดล้อมและโอกาสทางธุรกิจ มีความตั้งใจทำงาน มุ่งมั่นให้งานประสบความสำเร็จ
ผู้ขจัดความขัดแย้ง : รับผิดชอบในการแก้ไขปัญหาต่างๆที่องค์การเผชิญอยู่
ผู้จัดสรรทรัพยากร : รับผิดชอบในการจัดสรรทรัพยากรทุกชนิด ทั้งด้านบุคคล วัตถุ และการเงิน ซึ่งมีผลต่อการตัดสินใจขององค์การ
ผู้เจรจาต่อรอง : เป็นตัวแทนในการเจรจาต่อรองเรื่องสำคัญ เพื่อรักษาผลประโยชน์ที่องค์การควรได้รับ
3.) หลักความรับผิดชอบ
ตอบ หลักการรับผิดชอบ (Accountability)
ซึ่งประกอบด้วยบุคคล 2 ฝ่าย ดังนี้
1.มิติเชิงวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมาย คือจะให้ใครรับผิดชอบเรื่องใดมุ่งเน้น Input และ Process
2. มิติเชิงสถาบัน คือ ใครรับผิดชอบต่อใคร
มิติเชิงสถาบัน คือ ความสัมพันธ์เป็นลักษณะอย่างไรต้องมีในเรื่องที่ทำ และต้องทำอย่างต่อเนื่องด้วย
นาย ภูสิรัช แก้วแพ รหัสนักศึกษา62423471119

ส่งงาน วันเสาร์ ที่16 พฤษภาคม 2563

ช่วงเช้า

คำถาม
1.งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ.งบประมาณ หมายถึงแผนเบ็ดเสร็จซึ่งแสดงออกในรูปตัวเงิน แสดงโครงการดําเนินงานทั้งหมดในระยะหนึ่งรวมถึงการกะประมาณการบริหารกิจกรรม โครงการ และค่าใช้จ่ายตลอดจนทรัพยากรที่จําเป็นในการสนับสนุน
คลังสาธารณะ หมายถึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายรับและร่ายจ่ายและการก่อหนี้ของรัฐบาลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ มีผลกระทบจากกิจกรรมการดำเนินการต่างๆ ทางการคลังของรัฐบาลที่มีต่อสังคมและประเทศชาติโดยรวม โดยมีขอบเขตเกี่ยวข้องกับงบประมาณแผ่นดิน การคลังด้านรายรับ การคลังด้านรายจ่าย และหนี้สาธารณะ

2.อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ.รายรับสามารถจำแนกเป็น 3 ประเภท
1.รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร
2.รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี
3.รายรับที่ไม่ใช่รายได้
1.รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร ประกอบด้วย
ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม ภาษีลักษณะอนุญาต เช่นค่าใบอนุญาตอาวุธปืน ค่าใบอนุญาตการพนัน
(เป็นรายรับด้านนี้ส่วนใหญ่ของประเทศไทย)
2.รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี คือ รายได้ที่มาจากการประกอบธุรกรรมอย่างอื่นของรัฐ ได้แก่
-รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ อันได้แก่ การขายหลักทรัพย์
และ ทรัพย์สิน เช่นการขายสินทรัพย์ที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ ค่าขาย
ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ค่าขาย หลักทรัพย์ ค่าขายบริการและค่าเช่า เป็นต้น
-รายได้จากรัฐพาณิชย์ คือผลกำไรขององค์การของรัฐบาล
รัฐวิสาหกิจ รายได้จากโรงงานยาสูบ รายได้จากการขายสลากกินแบ่งรัฐบาล(ล็อตเตอรี่)เป็นต้น
-รายได้อื่น เช่นค่าแสตมป์ ฤชา ค่าปรับ เงินรับคืนและรายได้เบ็ดเตล็ด
3.รายรับที่ไม่ใช่รายได้ คือ
-รายรับที่มาจากการกู้เงิน จากธนาคารกลาง ธนาคารออม
สิน ธนาคารพาณิชย์
-การกู้จากประชาชน โดยการขายพันธบัตรรัฐบาล เป็นต้น
-การยืมเงินคงคลัง ที่รัฐบาลเก็บสะสมไว้และสามารถยืมมา
ใช้ในปีที่รายจ่ายสูงเกินกว่ารายได้

รายจ่ายจำแนกได้3ประเภทหลักๆ
1. รายจ่ายประจำ
2. รายจ่ายเพื่อการลงทุน
3. ชำระหนี้

1.รายจ่ายประจำ
เงินเดือน+สวัสดิการต่างๆ
-ข้าราชการประจำ เช่น ครู ทหาร ตำรวจ พยาบาล
-ข้าราชการการเมือง(นักการเมือง)
เช่น ส.ส. ส.ว. ส.อบต. ส.อบจ. นายก อบต. ฯลฯ
-ลูกจ้างของรัฐ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย ฯลฯ
อื่นๆ เช่น เป็นค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าบริการต่างๆ ของทางราชการ
2.จ่ายเพื่อการลงทุนพัฒนาประเทศ เช่น
-การสร้าง ถนน สะพาน โรงพยาบาล เป็นต้น
-โครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ ตามนโยบายรัฐบาล
-การลงทุน ของรัฐที่เรียกว่า รัฐพาณิชย์ ต่างๆ เช่นรัฐวิสาหกิจ เป็นต้น
3. จ่ายในการชำระคืนเงินกู้ เช่น ในกรณีที่มีพันธะในการชำระ
-หนี้จากการกู้ยืม
-ซื้อพันธบัตรรัฐบาล(Government Bond) คืนจากประชาชน
-คืนเงินคงคลัง
นาย ภูสิรัช แก้วแพ รหัสนักศึกษา62423471119

ส่งงาน วันเสาร์ ที่16 พฤษภาคม 2563

ช่วงบ่าย

คำถาม
1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ. คือการจัดการใส่ส่วนของรายได้(ภาษี) และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในประเทศหรือรัฐ นโยบายงบประมาณ ยังรวมถึงนโยบายภาษี ในแต่ละปีเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจะลงคะแนนเสียง สำหรับงบประมาณตามรายได้ และการคาดการณ์ค่าใช้จ่าย ซึ่งสามารถเสนอได้ 3รูปแบบ
-งบประมาณสมดุล
-งบประมาณขาดดุล
-งบประมาณเกินดุล
ดุลงบประมาณคือ(รายได้-รายจ่าย) คือการประเมินผลของนโยบายงบประมาณที่ดำเนินการระหว่างปี ความสมดุลนี้จะแตกต่างกันกันไป ขึ้นอยู่กับสภาพทางเศรษฐกิจ ระยะเวลาของการเติบโตจะมีผลในเชิงบวกต่องบประมาณสมดุล ในขณะเศรษฐกิจถดถอย จะมีผลในเชิงลบต่องบประมาณสมดุล

2.อธิบายของประเภทหนี้สาธารณะ
ตอบ.คือหนี้ที่ถือโดยรัฐบาลกลาง หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรของรัฐ รวมไปถึง รัฐวิสาหกิจ ตลอดจนการค้ำประกันหนี้สินโดยรัฐบาล ซึ่งการเกิดขึ้นของหนี้สาธารณะส่วนใหญ่ของรัฐบาลทั่วโลก มาจากการดำเนินนโยบายของรัฐแบบขาดดุล หรือก็คือรายได้ของรัฐน้อยกว่ารายจ่ายของรัฐ ทำให้ต้องมีการกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลในแต่ละรอบปีงบประมาณ

แบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้ สามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ

-หนี้ระยะสั้น หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนต้นเงินกู้คืนไม่เกิน 1 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งโดยปกติแล้วมักจะมีระยะเวลาในการชำระคืนเพียง 3 เดือนหรือ 91 วัน เหตุผลที่กู้ประเภทนี้คือรายได้ประเภทต่างๆยังเข้ามาไม่ทันจึงต้องก่อหนี้ระยะสั้นเพื่อมานำใช้ก่อนหรือเพื่อนำมาใช้หนี้ประเภทระยะสั้นเดิมที่กู้ไว้ก่อนหน้านี้เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยถูกลง
-หนี้ระยะกลาง หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 1 ปีถึง 5 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ในปัจจุบันไม่นิยมในการกู้หนี้ประเภทนี้เนื่องมาจากระยะเวลาในการชำระคืนไม่ตรงกับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องกู้และต้นทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มีการชำระหนี้คืนที่ถี่เกินไป
-หนี้ระยะยาว หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 5 ปีเป็นต้นไปนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งระยะเวลาของการกู้จะยาวแค่ไหนก็จะขึ้นอยู่กับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องใช้กู้ สำหรับในประเทศที่กำลังพัฒนารวมถึงประเทศไทยด้วยหนี้ระยะยาวจะมีอายุระหว่าง 5-10 ปี แต่ในประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีอายุระหว่าง 10-30 ปี ทั้งนี้บางโครงการของประเทศที่กำลังพัฒนาอาจมีระยะเวลาในก่อหนี้นานถึง 50 ปีเนื่องจากผลตอบแทนช้ามาก

แบ่งตามแหล่งที่มาของหนี้ สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทคือ

-หนี้ภายในประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ที่อยู่ในประเทศโดยไม่คำนึงถึงสกุลของเงินตรา แต่โดยปกติก็มักจะกู้ตามสกุลเงินของประเทศนั้นๆ โดยอาจกู้จากเอกชน เช่น ห้างร้าน บริษัทต่างๆ ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินที่มิใช่ธนาคารพาณิชย์หรือกู้มาจากธนาคารกลางของประเทศนั้นๆเอง
-หนี้จากต่างประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ให้กู้ที่ที่มีถิ่นฐานในต่างประเทศ โดยไม่คำนึงถึงเงินตราเช่นกัน ทั้งนี้การกู้เงินในสกุลต่างประเทศนั้นจะกู้ก็ต่อเมื่อมีความจำเป็นในการใช้เงินตราเพื่อต่างประเทศซื้อสินค้าและบริการจากต่างประเทศเท่านั้น โดยสามารถกู้ได้จากสถาบันการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ธนาคารโลก (World bank) ประเทศต่างๆและตลาดเงินระหว่างประเทศ
Unknown said…
งานวันอาทิตย์ที่17พฤษภาคม
นางสาวบุตรียาภรณ์ พวงจันทร์ รหัส 61423451033รุ่น4 คำถาม

จงกล่าวถึง
- พฤติกรรมการบริหาร

หมายถึง กิจกรรมหรือการกระทำที่เกิดจากผู้บริหาร ทั้งที่เกิดอยู่ภายใน และแสดงออกต่อผู้ร่วมงาน เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ จากที่กล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่าพฤติกรรมการบริหารหมายถึงการกระทำที่ผู้บริหาร แสดงออกทั้งทางกายภาพและทางอารมณ์ต่อผู้ร่วมงานเพื่อให้การดำเนินเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล กระบวนการดำเนินงานอย่างมีศิลปะในการใช้คนและทรัพยากรต่างๆเพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ประโยชน์ของการบริหาร ทำให้ประหยัด มีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ เกิดความเป็นธรรมต่อทุกคนและมีเกียรติยศชื่อเสียง


- บทบาททางการบริหาร

บทบาทของทางการบริหารที่สำคัญ ได้แก่ ด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และด้านการตัดสินใจ ทักษะของผู้บริหารมี 3 อย่าง คือ ทักษะด้านการทำงาน ด้านมนุษย์สัมพันธ์ และทักษะด้านความคิด ทรัพยากรในการบริหาร ประกอบด้วย 8 ประการ หรือ 8M ได้แก่ คน เงิน วัสดุ สิ่งของ การจัดการ ตลาด เครื่องจักรกล วิธีการทำงาน และเวลา
บทบาทของผู้บริหาร (Management Rotes) นักวิชาการด้านการจัดการชื่อ Henry Mintzbery ได้
ศึกษาการทำงานของผู้บริหารแต่ละวัน พบว่าบทบาทของผู้บริหาร มี 3 ด้าน ดังนี้
1. ด้านผู้ประชาสัมพันธ์ มีบทบาทดังนี้
1. เป็นผู้แถลงข่าว โดยประกาศประชาสัมพันธ์ หรือให้เนื้อหาเกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน และผลการดำเนินงานไปยังองค์การอื่นๆ
2. เป็นผู้เผยแพร่ข้อมูล โดยให้ข้อมูล ข้อเท็จจริงต่างๆ ให้กับพนักงานและหน่วยงานต่างๆในองค์การ
3. เป็นผู้รับข้อมูล ติดตาม เก็บข้อมูลทั้งภายในและภายนอกองค์การ
2. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
1. เป็นผู้นำ ให้การส่งเสริม พัฒนา หรือจูงใจให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา
2. เป็นหัวโขน ทำหน้าที่เป็นตัวแทนหน่วยงาน เช่น เป็นประธานเปิดงาน ปิดงาน ร่วมงานต่างๆ เป็นต้น
3. ผู้ประสานงาน ทั้งภายในและภายนอก
3. ด้านการตัดสินใจ
1. ผู้จัดทรัพยากร ให้แก่งานต่างๆภายในองค์การอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
2. ผู้เจรจาต่อรอง กับพนกงาน หรือกับองคฺการอื่นๆ
3. ผู้ประกอบการ เริ่มงาน หรือแสวงหาโอกาสใหม่ๆ

- ความรับผิดชอบทางการบริหาร

ความรับผิดชอบทางการบริหาร (Administrative Responsibility) ประกอบด้วย
● คุณธรรม/จริยธรรม (Morality/Ethics) หมาย ถึง ในการปฏิบัติราชการต้องมีจิตสำนึกความ
รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็น ไปอย่างมีศีลธรรม คุณธรรม และตรงตามความคาดหวังของสังคม รวมทั้ง
ยึดมั่นในค่านิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรมสำหรับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน และจรรยาบรรณวิชาชีพ ตลอดจน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของระบบราชการไทย
๘ ประการ (I AM READY) ได้แก่
I - Integrity ซื่อสัตย์และกล้ายืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง
A - Activeness ท างานเชิงรุก คิดเชิงบวกและมีจิตบริการ
M - Morality มีศีลธรรม คุณธรรมและจริยธรรม
R - Responsiveness ค านึงถึงประโยชน์สุขของประชาชนเป็นที่ตั้ง
E - Efficiency มุ่งเน้นประสิทธิภาพ
A - Accountability ตรวจสอบได้
D - Democracy ยึดมั่นในหลักประชาธิปไตย
Y - Yield มุ่งผลสัมฤทธ
นาวสาววนิดา ปัญชาติ รหัส 62423471014 รุ่น 44
แบบฝึกหัดวันอาทิตย์ ที่ 17 พฤษภาคม 2563

1.พฤติกรรมการบริหาร
ตอบ พฤติกรรม คือ การกระทำของบุคคลที่เกิดจากกระบวนการภายในของคน และมีผลต่อการกระทำที่ปรากฎออกมาให้เห็นภายนอก ได้รับรู้สิ่งที่ได้กระทำทั้งกายภาพและทางอารมณ์
การบริหาร คือ กระบวนการทำงานของคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ที่ใช้กระบวนการจัดกิจกรมการทำงานอย่างเป็นระบบ มีจุดมุ่งหมายด้วยกันในการที่จะทำให้งานประสบความสำเร็จ โดยใชทรัพยากรมนุษย์ เงินทุน วัสดุอุปกรณื และระยะเวลาในการดำเนินงาน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
ดังนั้น พฤติกรรมการบริหาร จึงสรุปความหมายได้ว่า เป็นการประพฤติปฏิบัติของผู้บริหาร ที่แสดงออกในฐานะผู้นำ เพื่อดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้บรรลุเป้าหมาย ผู้นำสามารถปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของคนให้เหมาะสมกับสถานะการณ์ เงี่อนไข โดยใช้กระบวนการจัดกิจกรรมการทำงานอย่างเป็นระบบ เหมาะสม และผู้ร่วมงานพึงพอใจในการทำงาน จึงจะสามารถทำงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้

2. บทบาทการบริหาร
ตอบ บทบาทหน้าที่สำคัญของการบริหาร สำหรับการบริหารนั้น บทบาทหน้าที่สำคัญ คือ
1. สามารถประสานงาน กับองค์กรอื่นได้
2. เป็นผู้นำในการทำงานให้ผู้อื่นได้เอาแบบอย่างและร่วมกันทำงานอย่างมีประสิทธิผล
3. มีบทบาทต่อการตัดสินใจขององค์กร
4. กำหนดงาน กิจกรรมกระบวนการการปฏิบัติที่ดีที่สุด
5. วางเงื่อนไขและจัดการคนในกลุ่ม ฝ่ายงาน ส่วนงาน ให้ปฏิบัติตาม
6. กำหนดทิศทางขององค์กร กำหนดวัตถุประสงค์ของฝ่ายงาน ส่วนงานที่สอดคล้อง กับทิศทางขององค์กร
7. จูงใจและกระตุ้นส่งเสริมพนักงานให้มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
8. คิดและปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง และแสวงหาโอกาสพัฒนาองค์กรอยู่เสมอ
9. มีคุณธรรมของผู้บริหาร


3.ความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ ความรับผิดชอบทางการบริหาร (Administrative Responsibility) นั้น จะต้องประกอบไปด้วย การยึดหลัก คุณธรรม จริยธรรม กล่าวคือ ต้องมีจิตสำนึกความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปอย่างมีศีลธรรม คุณธรรม และตรงตามความคาดหวังของสังคม รวมทั้งยึดมั่นในค่านิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรมสำหรับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือนและจรรยาบรรณวิชาชีพ
กิตติพศ พุ่มมูล รุ่น 44 รหัส 62423471062 said…
นาย กิตติพศ พุ่มมูล รหัสนักศึกษา 62423471062 รุ่นที่ 44 งานวันเสาร์ที่ 16/05/63 ช่วงเช้า
1.งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ งบประมาณ คือ แผนการที่คาดไว้ว่าจะต้องจ่าย โดยการคิดล่วงหน้าและแสดงออกมาเป็นตัวเลขงบประมาณ อาจแสดงออกมาในรูปของตัวเงิน จำนวนชั่วโมงในการทำงาน จำนวนผลิตภัณฑ์ จำนวนชั่วโมงเครื่องจักร เป็นต้น
ชนิดของงบประมาณ แบ่งตามชนิดของการวางแผนได้เป็น 2 ชนิด คือ
1.งบประมาณดำเนินการ เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานในหน่วยงานทุกแผนก
2.งบประมาณการเงิน ข้อมูลที่อยู่ในงบประมาณดำเนินการ สามารถนำมาคำนวณเป็นตัวเลขได้
-งบประมาณขาย เกิดจากการที่แผนกงานขายประมาณปริมาณการขายในหน่วยงานของตน มักจะทำในระยะสั้นและระยะยาว
-งบประมาณสินค้าคงเหลือ เป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการกำหนดปริมาณที่จะทำการผลิตหรือปริมาณสินค้า คงเหลือ กิจการจะต้องมีสินค้าคงเหลือเผื่อไว้สำหรับกรณีที่ต้องการสอนมากกว่าปกติ
-งบประมาณการซื้อ ต้องอาศัยงบประมาณของคงคลัง เพื่อทราบจำนวนของคงเหลือทั้งต้นและปลายงวด และงบประมาณวัตถุดิบเพื่อทราบปริมาณที่ต้องใช้ในแต่ละงวด
โดยสรุปแล้ว ความสำคัญของการคลังสาธารณะ เป็นการควบคุมให้เกิดความสมดุลทางด้านการเงินในระบบเศรษฐกิจมิให้มีมากหรือต่ำเกินไป ให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมกับสถานการณ์
2.อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ รายรับของรัฐบาล สามารถจำแนกเป็น 3 ประเภท
1.รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร
ประกอบด้วย ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม ภาษีลักษณะอนุญาตเช่น ค่าใบอนุญาตอาวุธปืน
ค่าใบอนุญาตการพนัน (เป็นรายรับด้านนี้ส่วนใหญ่ของประเทศไทย)
2.รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี
คือ รายได้ที่มีจากการประกอบธุรกรรมอย่างอื่นของรัฐได้แก่
-รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ อันได้แก่ การขายหลักทรัพย์ และ ทรัพย์สิน เช่นการขายสินทรัพย์ที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ ค่าขายผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ค่าขาย หลักทรัพย์ ค่าขายบริการและค่าเช่า เป็นต้น
-รายได้จากรัฐพาณิชย์ คือผลก าไรขององค์การของรัฐบาลรัฐวิสาหกิจ รายได้จากโรงงานยาสูบ รายได้จากการขายสลากกินแบ่งรัฐบาล (ล็อตเตอรี่) เป็นต้น
-รายได้อื่นๆ เช่น ค่าแสตมป์ ฤชา ค่าปรับ เงินรับคืนและรายได้ เบ็ดเตล็ด
3.รายรับที่ไม่ใช่รายได้
คือ -รายรับที่มาจากการกู้เงิน จากธนาคารกลาง ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์
-การกู้จากประชาชน โดยการขายพันธบัตรรัฐบาล เป็นต้น
-การยืมเงินคงคลัง ที่รัฐบาลเก็บสะสมไว้และสามารถยืมมาใช้ในปีที่รายจ่ายสูงเกินกว่ารายได้
รายจ่ายของรัฐบาล แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลัก ๆ คือ
1.รายจ่ายประจำ
*เงินเดือน+ สวัสดิการต่าง ๆ
-ข้าราชการประจ า เช่น ครู ทหาร ต ารวจ พยาบาล
-ข้าราชการการเมือง(นักการเมือง) เช่น ส.ส. ส.ว. ส.อบต. ส.อบจ. นายก อบต. ฯลฯ
-ลูกจ้างของรัฐ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย ฯลฯ
*อื่นๆ เช่น เป็นค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าบริการต่างๆ ของทางราชการ
2.รายจ่ายเพื่อการลงทุน เช่น
-การสร้าง ถนน สะพาน โรงพยาบาล เป็นต้น
-โครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ ตามนโยบายรัฐบาล
-การลงทุน ของรัฐที่เรียกว่า รัฐพาณิชย์ ต่าง ๆ เช่น รัฐวิสาหกิจ เป็นต้น
3.ชำระหนี้ เช่น
*ในกรณีที่มีพันธะในการชำระ
-หนี้จากการกู้ยืม
-ซื้อพันธบุตรรัฐบาล คืนจากประชาชน
-คืนเงินคงคลัง
กิตติพศ พุ่มมูล รุ่น 44 รหัส 62423471062 said…
นาย กิตติพศ พุ่มมูล รหัสนักศึกษา 62423471062 รุ่นที่ 44 งานวันเสาร์ที่ 16/05/63 ช่วงบ่าย
1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ. คือการจัดการใส่ส่วนของรายได้(ภาษี) และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในประเทศหรือรัฐ นโยบายงบประมาณ ยังรวมถึงนโยบายภาษี ในแต่ละปีเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจะลงคะแนนเสียง สำหรับงบประมาณตามรายได้ และการคาดการณ์ค่าใช้จ่าย ซึ่งสามารถเสนอได้ 3รูปแบบ
-งบประมาณสมดุล
-งบประมาณขาดดุล
-งบประมาณเกินดุล
ดุลงบประมาณคือ(รายได้-รายจ่าย) คือการประเมินผลของนโยบายงบประมาณที่ดำเนินการระหว่างปี ความสมดุลนี้จะแตกต่างกันกันไป ขึ้นอยู่กับสภาพทางเศรษฐกิจ ระยะเวลาของการเติบโตจะมีผลในเชิงบวกต่องบประมาณสมดุล ในขณะเศรษฐกิจถดถอย จะมีผลในเชิงลบต่องบประมาณสมดุล
2.อธิบายของประเภทหนี้สาธารณะ
ตอบ.คือหนี้ที่ถือโดยรัฐบาลกลาง หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรของรัฐ รวมไปถึง รัฐวิสาหกิจ ตลอดจนการค้ำประกันหนี้สินโดยรัฐบาล ซึ่งการเกิดขึ้นของหนี้สาธารณะส่วนใหญ่ของรัฐบาลทั่วโลก มาจากการดำเนินนโยบายของรัฐแบบขาดดุล หรือก็คือรายได้ของรัฐน้อยกว่ารายจ่ายของรัฐ ทำให้ต้องมีการกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลในแต่ละรอบปีงบประมาณ
แบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้ สามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ
-หนี้ระยะสั้น หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนต้นเงินกู้คืนไม่เกิน 1 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งโดยปกติแล้วมักจะมีระยะเวลาในการชำระคืนเพียง 3 เดือนหรือ 91 วัน เหตุผลที่กู้ประเภทนี้คือรายได้ประเภทต่างๆยังเข้ามาไม่ทันจึงต้องก่อหนี้ระยะสั้นเพื่อมานำใช้ก่อนหรือเพื่อนำมาใช้หนี้ประเภทระยะสั้นเดิมที่กู้ไว้ก่อนหน้านี้เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยถูกลง
-หนี้ระยะกลาง หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 1 ปีถึง 5 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ในปัจจุบันไม่นิยมในการกู้หนี้ประเภทนี้เนื่องมาจากระยะเวลาในการชำระคืนไม่ตรงกับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องกู้และต้นทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มีการชำระหนี้คืนที่ถี่เกินไป
-หนี้ระยะยาว หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 5 ปีเป็นต้นไปนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งระยะเวลาของการกู้จะยาวแค่ไหนก็จะขึ้นอยู่กับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องใช้กู้ สำหรับในประเทศที่กำลังพัฒนารวมถึงประเทศไทยด้วยหนี้ระยะยาวจะมีอายุระหว่าง 5-10 ปี แต่ในประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีอายุระหว่าง 10-30 ปี ทั้งนี้บางโครงการของประเทศที่กำลังพัฒนาอาจมีระยะเวลาในก่อหนี้นานถึง 50 ปีเนื่องจากผลตอบแทนช้ามาก

กิตติพศ พุ่มมูล รุ่น 44 รหัส 62423471062 said…
นาย กิตติพศ พุ่มมูล รหัสนักศึกษา 62423471062 รุ่นที่ 44 งานวันอาทิตย์ที่ 17/05/63
1. พฤติกรรมการบริหาร
ตอบ เป็นการนำเสนอกรอบความคิดในการบริหารจัดการการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตลอดจนได้ผลผลิตที่มีประสิทธิผลไปพร้อมกันด้วย ในยุคปัจจุบันนี้ไม่ว่าจะองค์กรเล็กหรือองค์กรใหญ่ต่างก็ต้องการการจัดการที่ดีทั้งนั้น เพื่อให้องค์กรสามารถก้าวหน้าได้ดีที่สุด
2. บทบาททางการบริหาร
ตอบ แบ่งออกเป็น 3 บทบาท ดังนี้
1)บทบาทระหว่างบุคคล เนื่องจากผู้บริหารมีอำนาจหน้าที่และต้องทำงานกับบุคคลอื่นๆ ทั้งในและนอกองค์การ จึงต้องมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในรูปแบบต่างๆ บทบาทที่จัดอยู่ในกลุ่มนี้ได้แก่ บทบาทการเป็นสัญลักษณ์ บทบาทการเป็นผู้นำ และบทบาทการเป็นผู้ประสานงาน
2)บทบาทเกี่ยวกับข้อมูลดังที่ได้กล่าวไปแล้วว่า ข้อมูล คือทรัพยากรหนึ่งขององค์การ และเป็นสิ่งที่องค์การจะต้องใช้ในการบริหารจัดการ ดังนั้น ผู้บริหารจึงต้องมีบทบาทที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลในแง่ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นบทบาทของการเฝ้าสังเกต บทบาทการเผยแพร่ข้อมูล และบทบาทการเป็นผู้แถลงข่าว
3)บทบาทเกี่ยวกับการตัดสินใจ ในบทบาทการตัดสินใจ คือ การที่ผู้บริหารจะต้องเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับองค์การ รวมทั้งความคิดและความกล้าที่จะรับความเสี่ยงจากการตัดสินใจ โดยบทบาทที่อยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่ บทบาทการเป็นผู้ประกอบการ บทบาทของการเป็นผู้รับมือกับความยุ่งยากบทบาทการเป็นผู้จัดสรรทรัพยากร และบทบาทการเป็นนักเจรจาต่อรอง
3. หลักความรับผิดชอบ
ตอบ หลักการรับผิดชอบ ซึ่งประกอบด้วยบุคคล 2 ฝ่าย
ผู้รับมอบอำนาจ ย่อมต้องยอมรับผลพวงที่จะตามมาทั้งเชิงบวกและเชิงลบพอเกิดความผิดพลาดโยนกันไปโยนกันมาไม่ได้
ถ้าหากเป็นการบริหารราชการแผ่นดินนั้น เรามองได้จากประชาชนและรัฐบาลต้องมีศักยภาพรับผิดชอบต่อพลเมืองทุกคนในสังคมอย่างเท่าเทียมกันมิติของการรับผิดชอบต้องเป็นไปใน
1)มิติเชิงวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมาย คือจะให้ใครรับผิดชอบเรื่องใดมุ่งเน้น Input และ Process
2)มิติเชิงสถาบัน คือ ใครรับผิดชอบต่อใครมิติเชิงสถาบัน คือ ความสัมพันธ์เป็นลักษณะอย่างไรต้องมีในเรื่องที่ทำ และต้องทำอย่างต่อเนื่องด้วย
Pimolnat said…
คำถามวันที่ 16/5/2563 เช้า-บ่าย
น.ส.พิมลณัฏฐ์ ภักค์ทองกุล รหัส 61423451093 รุ่น 41
งบประมาณและการคลังสาธารณะ
หมายถึง บทบาทของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการหารายได้การใช้จ่ายการก่อหนี้เพื่อบรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจของรัฐบาล

โครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
รายรับของรัฐบาลสามารถจำแนกเป็นสามประเภทคือ
1.รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร
2.รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี
3.รายรับที่ไม่ใช่รายได้

รายจ่ายของรัฐบาลแบ่งออกเป็น3 ส่วนหลักๆคือ
1.รายจ่ายประจำ
2.รายจ่ายเพื่อการลงทุน
3.ชำระหนี้

นโยบายงบประมาณ
นโยบายงบประมาณการจัดการในส่วนของ รายได้(ภาษี) และค่าใช้จ่ายรัฐบาลในประเทศหรือรัฐ
นโยบายงบประมาณยังรวมถึงนโยบายภาษีในแต่ละปีเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจและลงคะแนนเสียงสำหรับงบประมาณสร้างรายได้และการคาดการณ์ค่าใช้จ่ายซึ่งสามารถนำเสนอในสามรูปแบบ
-งบประมาณสมดุล
-งบประมาณขาดดุล
- งบประมาณเกินดุล
ดุลงบประมาณ(รายได้ -รายรับ) คือการประเมินผลของนโยบายงบประมาณที่ดำเนินการระหว่างปีความสมดุลนี้จะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสภาพเศรษฐกิจระยะเวลาของการเจริญเติบโตจะมีผลในเชิงบวกต่องบประมาณสมดุลในขณะที่ภาวะเศรษฐกิจทดถอยจะมีผลในเชิงลบต่องบประมาณสมดุล

ประเภทของหนี้สาธารณะ
แบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้
-หนี้ระยะสั้นหมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไทยถอนต้นเงินกู้คืนไม่เกินหนึ่งปี นับตั้งแต่วันที่กู้แต่ปกติจะไม่เกินสามเดือนหรือ 91วัน
-หนี้ระยะกลางหมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไทยถอนคืนตั้งแต่หนึ่งปีถึงห้าปี นับตั้งแต่วันที่กู้
-หนี้ระยะยาวคือหนี้ที่มีระยะเวลาไทยถอนคืนตั้งแต่ห้าปีเป็นต้นไปนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งระยะเวลาจะยาวแค่ไหนก็จะขึ้นอยู่กับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องใช้กู้

แบ่งตามแหล่งที่มาของหนี้
-หนี้ภายในประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ที่อยู่ในประเทศ
-หนี้จากต่างประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้มาจากผู้ให้กู้ที่มีถิ่นฐานในต่างประเทศ ทั้งมีการกู้เงินในสกุลต่างประเทศนั้นจะกู้ก็ต่อเมื่อมีความจำเป็นในการใช้เงินตราเพื่อต่างประเทศซื้อสินค้าและบริการจากต่างประเทศ
Pimolnat said…
งานวันที่17/5/2563
น.ส.พิมลณัฏฐ์ ภักค์ทองกุล รหัส61423451093 รุ่น41

พฤติกรรมการบริหาร
-หมายถึงการประพฤติปฏิบัติของผู้บริหารที่แสดงออกในฐานะผู้นำ เพื่อดำเนินกิจกรรมต่างๆให้บรรลุเป้าหมาย ผู้นำสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ เงื่อนไข หรือสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยใช้กระบวนการจัดกิจกรรมทำงานอย่างเป็นระบบอย่างเหมาะสม เพื่อให้งานสำเร็จและผู้ร่วมงานพึงพอใจในการทำงานจึงจะสามารถทำงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้
บทบาททางการบริหาร
- บทบาทของทางการบริหารที่สำคัญ ได้แก่ ด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และด้านการตัดสินใจ ทักษะของผู้บริหารมี 3 อย่าง คือ ทักษะด้านการทำงาน ด้านมนุษย์สัมพันธ์ และทักษะด้านความคิด ทรัพยากรในการบริหาร ประกอบด้วย 8 ประการ หรือ 8M ได้แก่ คน เงิน วัสดุ สิ่งของ การจัดการ ตลาด เครื่องจักรกล วิธีการทำงาน และเวลา

-ความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ ความรับผิดชอบทางการบริหาร (Administrative Responsibility) นั้น จะต้องประกอบไปด้วย การยึดหลัก คุณธรรม จริยธรรม กล่าวคือ ต้องมีจิตสำนึกความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปอย่างมีศีลธรรม คุณธรรม และตรงตามความคาดหวังของสังคม รวมทั้งยึดมั่นในค่านิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรมสำหรับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือนและจรรยาบรรณวิชาชีพ
นายประเสริฐ เอนกวิชณกุล รหัสนักศึกษา 62423471132 รุ่นที่ 44 งานวันเสาร์ที่ 16/05/63 ช่วงเช้า
งบประมาณ คือ กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายรับและร่ายจ่ายและการก่อหนี้ของรัฐบาลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ มีผลกระทบจากกิจกรรมการดำเนินการต่างๆ ทางการคลังของรัฐบาลที่มีต่อสังคมและประเทศชาติโดยรวม โดยมีขอบเขตเกี่ยวข้องกับงบประมาณแผ่นดิน การคลังด้านรายรับ การคลังด้านรายจ่าย และหนี้สาธารณะ
สาระสำคัญในเรื่องการคลังสาธารณะ มีดังนี้

การคลังสาธารณะ หมายถึง การจัดเก็บรายได้ การใช้จ่ายและการกู้ยืมของรัฐบาล เพื่อบรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจของสังคม
บทบาทของรัฐในระบบเศรษฐกิจ จะเป็นการผลิตสินค้าและบริการที่เอกชนไม่อยากทำหรือทำไม่ได้ แต่ต้องมีในระบบเศรษฐกิจ การจัดสรรทรัพยากรระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ทำให้เกิดการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม ทำให้เกิดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
รายได้ส่วนใหญ่ของรัฐบาล ได้มาจากการเก็บภาษีอากร
ระบบการจัดเก็บภาษีที่ดีต้องมี 4 หลักการ คือ หลักความยุติธรรม หลักความแน่นอน หลักความเสมอภาค และหลักความประหยัด
เหตุผลที่รัฐบาลต้องเรียกเก็บภาษีจากประชาชน คือ เพื่อเป็นรายได้ เพื่อควบคุมการบริโภค เพื่อส่งเสริมการลงทุน เพื่อทำให้เกิดการกระจายรายได้ และเพื่อใช้ในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
ประเภทของภาษีที่แบ่งตากหลักการผลักภาระภาษี จะแบ่งได้ 2 ประเภท คือ ภาษีทางตรง และภาษีทางอ้อม
ประเภทของภาษีที่แบ่งตามฐานของภาษี แบ่งได้ 3 ประเภท คือ ภาษีที่เก็บจากเงินได้ ภาษีที่เก็บจากทรัพย์สิน และภาษีที่เก็บจากการบริโภค
อัตราภาษีแบ่งได้ 3 แบบ คือ อัตราภาษีก้าวหน้า อัตราภาษีคงที่ และอัตราภาษีถอยหลัง
ประเภทของรายจ่ายของรัฐบาลที่แบ่งตามลักษณะเศรษฐกิจ จะแบ่งเป็นรายจ่ายประจำ และรายจ่ายในการลงทุน
การเก็บภาษีทางตรงในอัตราก้าวหน้า จะช่วยทำให้เกิดการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม
การเก็บภาษีทางอ้อม ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในรายได้มากขึ้น
รายจ่ายของรัฐบาลที่เป็นการใช้จ่ายเพื่อการลงทุน จะทำให้เกิดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
การใช้จ่ายของรัฐบาล ในภาวะเศรษฐกิจถดถอย ต้องใช้จ่ายเพื่อบรรเทาปัญหาการว่างงาน และใช้จ่ายเพื่อการลงทุน เพื่อเพิ่มอุปสงค์รวมแทนภาคเอกชน และเพิ่มการใช้จ่าย เมื่อเศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว
หนี้สาธารณะ เกิดจากรัฐบาลมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นมากกว่ารายได้ที่หาได้ และไม่มีเงินคงคลังเพียงพอที่จะชดเชย
ค่าใช้จ่ายที่สูงกว่ารายได้ ทำให้รัฐบาลต้องกู้ยืม เกิดจากค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุนในสาธารณูปโภค เกิดจากการเก็บรายได้ไม่ทันกับรายจ่าย เกิดจากการเก็บรายได้ได้น้อย เกิดจากมีรายจ่ายฉุกเฉิน และเพื่อชำระหนี้เก่าที่ถึงกำหนด
งบประมารแผ่นดิน เป็นแผนในการจัดหารายรับและการใช้จ่ายของรัฐบาล
นโยบายการคลัง เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจด้วยการใช้มาตรการทางการคลัง
นโยบายการคลังแบบผ่อนคลาย จะแสดงให้เห็นรูปแบบของงบประมาณขาดดุลเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจแก้ปัญหาการว่างงานและแก้ไขภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ
นโยบายการคลังแบบเข้มงวด จะแสดงให้เห็นในรูปแบบของงบประมาณเกินดุล ใช้ชะลอการขยายตัวทางเศรษฐกิจและแก้ปัญหาเงินเฟ้อ
นายประเสริฐ เอนกวิชณกุล รหัสนักศึกษา 62423471132 รุ่นที่ 44 งานวันเสาร์ที่ 16/05/63 ช่วงเช้า
2.อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
รายรับ-รายจ่ายของรัฐ ถูกจัดสรรเพื่อการใช้จ่ายในรอบ 1 ปี คือ งบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณแผ่นดินของไทย แต่ละปีโดยรอบปีงบประมาณแผ่นดินในรอบ
รายรับของรัฐบาล สามารถจำแนกเป็น 3 ประเภท
1. รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร
2. รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี
3. รายรับที่ไม่ใช่รายได้
1. รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร ประกอบด้วย ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม ภาษีลักษณะ อนุญาตเช่น ค่าใบอนุญาตอาวุธปืน ค่าใบอนุญาตการพนัน
2. รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี คือ รายได้ที่ มาจากการประกอบธุรกรรมอย่างอื่น ของรัฐได้แก่
2.1 รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ อันได้แก่ การขายหลักทรัพย์ และ ทรัพย์สิน เช่นการขายสินทรัพย์ที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ ค่าขาย ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ค่าขาย หลักทรัพย์ ค่าขายบริการและค่าเช่า เป็นต้น
2.2 รายได้จากรัฐพาณิชย์ คือผลก าไรขององค์การของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ รายได้จากโรงงานยาสูบ รายได้จากการขายสลากกินแบ่งรัฐบาล (ล็อตเตอรี่)เป็นต้น
2.3 รายไดอื่น เช่น ค่าแสตมป์ ฤชา ค่าปรับ เงินรับคืนและรายได้ เบ็ดเตล็ด
3.รายรับที่ไม่ใช่รายได้ คือ >> รายรับที่มาจากการกู้เงิน จากธนาคารกลาง ธนาคารออม สิน ธนาคารพาณิชย์ >> การกู้จากประชาชน โดยการขายพันธบัตรรัฐบาล เป็นต้น >> การยืมเงินคงคลัง ที่รัฐบาลเก็บสะสมไว้และสามารถยืมมา ใช้ในปีที่รายจ่ายสูงเกินกว่ารายได้
รายจ่ายของรัฐบาล แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลัก ๆ คือ
1. รายจ่ายประจำ
2. รายจ่ายเพื่อการลงทุน
3. ชำระหนี้
รายจ่ายของรัฐบาล แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลัก ๆ คือ
1. รายจ่ายประจำ เงินเดือน+ สวัสดิการต่าง ๆ >> ข้าราชการประจำ เช่น ครู ทหาร ตำรวจ พยาบาล >> ข้าราชการการเมือง(นักการเมือง) เช่น ส.ส. ส.ว. ส.อบต. ส.อบจ. นายก อบต. ฯลฯ >> ลูกจ้างของรัฐ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย ฯลฯ อื่นๆ เช่น เป็นค่าไฟฟ้ า ค่าน้ำประปา ค่าบริการต่าง ๆ ของทาง ราชการ
2. จ่ายเพื่อ การลงทุนใช้พัฒนาประเทศ เช่น >> การสร้าง ถนน สะพาน โรงพยาบาล เป็นต้น >> โครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ ตามนโยบายรัฐบาล >> การลงทุน ของรัฐที่เรียกว่า รัฐพาณิชย์ ต่าง ๆ เช่น รัฐวิสาหกิจ เป็นต้น
3. จ่ายในการชำระคืนเงินกู้ เช่น >> ในกรณีที่มีพันธะในการชำระหนี้จากการกู้ยืมซื้อพันธบัตรรัฐบาล(Government Bond) คืนจากประชาชน - คืนเงินคงคลัง
นายประเสริฐ เอนกวิชณกุล รหัสนักศึกษา 62423471132 รุ่นที่ 44 งานวันเสาร์ที่ 16/05/63 ช่วงบ่าย
1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
งบประมาณแผ่นดิน หมายถึง แผนการใช้จ่ายเงินของรัฐบาล ซึ่งแสดงวัตถุประสงค์ แหล่งที่มาของรายรับรายจ่ายของรัฐบาลในระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติถือเอาระยะเวลา 1 ปี คือ เริ่มจาก 1 ตุลาคม ไปสิ้นสุดที่ 30 กันยายนของปีถัดไป
สำนักงบประมาณเป็นหน่วยราชการที่รับผิดชอบจัดทำงบประมาณประจำปี โดยจะรวบรวมโครงการและรายจ่ายด้านต่าง ๆ ของหน่วยราชการทุกหน่วยงานรวมทั้งภาครัฐวิสาหกิจทั้งหมด เพื่อนำเสนอขออนุมัติจากรัฐสภา และประกาศใช้ต่อไป
ลักษณะของงบประมาณ
งบประมาณของรัฐบาลมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ ทั้งด้านรายรับและรายจ่าย ผลกระทบจะมากน้อยและอยู่ในลักษณะใดขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้งบประมาณของรัฐบาล ซึ่งมี3 ลักษณะ คือ
1) งบประมาณสมดุล หมายถึง การที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายเท่ากับรายได้พอดี งบประมาณสมดุลจะมีข้อขำกัด ในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ เกิดภาวะเงินฝืด อัตราการว่างงานสูง การดำเนินนโยบายงบประมาณสมดุลจะไม่ช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวได้ เพราะการใช้จ่ายของรัฐบาลถูกกำหนดโดยรายได้ ดังนั้นนโยบายงบประมาณสมดุล จึงเป็นนโยบายที่ไม่ยืดหยุ่นไม่สามารถปรับได้คล่องตัวเพื่อแก้ปัญหาเศรษฐกิจได้
2) งบประมาณขาดดุล หมายถึง การที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายมากกว่ารายได้ และจำเป็นต้องนำรายรับจากเงินกู้หรือเงินคงคลังมาชดเชยการขาดดุล ปัจจุบันนักเศรษฐศาสตร์มีแนวคิดว่า การที่รายจ่ายสูงกกว่ารายได้ และรัฐบาลก่อหนี้สาธารณะมาใช้จ่ายนั้นไม่ใช้สิ่งที่เสียหาย ถ้าเงินที่กู้มาถูกใช้ในทิศทางเพื่อการเพิ่มผลผลิต การเพิ่มการลงทุน และการจ้างงาน
3) งบประมาณเกินดุล หมายถึง การที่รัฐบาลใช้จ่ายน้อยกว่ารายได้ที่จัดเก็บได้ ทำให้มีเงินเหลือเข้าเป็นเงินคงคลังเพิ่มขึ้น
หนี้สาธารณะ
ในประเทศกำลังพัฒนามีแนวโน้มที่งบประมาณของรัฐบาลจะขาดดุบ เนื่องจากระดับรายได้ของประชาชนต่ำ มีการหลีกเลี่ยงภาษีอากร จึงมีผลให้รัฐบาลจัดเก็บภาษีอากรได้น้อย ในขณะเดียวกันรัฐบาลพยายามเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการปรับโครงสร้างพื้นฐาน ทำให้รายจ่ายด้านสาธารณูปโภคเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว รัฐบาลจึงจำเป็นต้องก่อหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะอาจจำแนกตามแหล่งเงินกู้ได้ดังนี้
1. หนี้ภายในประเทศ
หนี้ภายในประเทศ หมายถึง หนี้สาธารณะที่เกิดขึ้นจากการที่รัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายในประเทศ เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์ สถาบันทางการเงินประเภทต่าง ๆ และประชาชนทั่วไป วิธีการก่อหนี้สาธารณะภายในประเทศนั้น รัฐบาลจะจำหน่ายพันธบัตรซึ่งเป็นเงินกู้ระยะยาว หรือจำหน่ายตั๋วคลังซึ่งเป็นการกู้ระยะสั้น
2. หนี้ต่างประเทศ
หนี้ต่างประเทศ หมายถึง หนี้สาธารณะที่เกิดจากรัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายนอกประเทศ เพื่อนำมาสนับสนุนการลงทุนในโครงการต่าง ๆ ของรัฐบาล หรือค้ำประกันเงินก็ของรัฐวิสาหกิจ แหล่งเงินกู้ต่างประเทศที่สำคัญ คือ ธนาคารโลก กองทุนความร่วมมือทางเศรษฐกิจโพ้นทะเลแห่งประเทศญี่ปุ่น ธนาคารพัฒนาเอเชีย และตลาดการเงิน เป็นต้น
การก่อหนี้สาธารณะอาจเกิดผลดีในด้าน การนำเงินไปใช้เพื่อเพิ่มผลผลิต จะทำให้อัตราการพัฒนาเศรษฐกิจรวดเร็วยิ่งขึ้น แต่ในขณะเดียวกันจะมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ กล่าวคือ ในกรณีหนี้ภายในประเทศ ถ้ารัฐบาลกู้ยืมเงินลงทุนของภาคเอกชน จะเกิดผลกระทบต่ออุปสงค์รวม ทำให้ระดับรายได้ประชาชาติและการว่าจ้างทำงานลดลง ส่วนหนี้ต่างประเทศจะส่งผลกระทบต่อเงินที่ไหลออกนอกประเทศ เนื่องจากการชำระหนี้เงินกู้และดอกเบี้ยเงินกู้แก่ต่างประเทศ
กล่าวโดยสรุป รัฐบาลต้องใช้จ่ายรายได้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด และมีประสิทธิภาพสูงสุดในการแจกจ่ายรายได้ ต้องมีการวางแผน และดำเนินการอย่างเป็นระบบ ดังนั้นจึงมีการทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณจากหน่วยงานที่มีความจำเป็นและต้องการรายได้เพื่อนำไปใช้จ่ายตามแผนของรัฐบาลที่วางไว้
นายประเสริฐ เอนกวิชณกุล รหัสนักศึกษา 62423471132 รุ่นที่ 44 งานวันเสาร์ที่ 16/05/63 ช่วงบ่าย
2.อธิบายนโยบายของหนี้สาธารณะ
หนี้สาธารณะ (Public Debt) คือ หนี้ที่เกิดขึ้นจากการกู้ยืมของรัฐบาล กล่าวคือ เมื่อฐานะการเงินของรัฐบาลเกิดการขาดดุล คือ รายจ่ายมากกว่ารายรับ และรัฐบาลไม่สามารถจะหารายได้จากภาษีที่เก็บจากประชาชนมาเพื่อใช้จ่ายได้พอ ก็จะทำการกู้ยืมจากแหล่งเงินกู้ 2 แหล่ง คือ กู้ยืมจากภายในประเทศ และ กู้ยืมจากต่างประเทศ

ความสำคัญของเรื่อง
การขาดดุลงบประมาณของรัฐบาล เกิดจากการที่มีรายจ่ายมากกว่ารายรับใน ปีงบประมาณนั้น เป็นเรื่องปรกติที่รัฐบาลจะยอมตั้งงบประมาณแบบขาดดุลบ้าง แต่ต้องไม่มากเกินไป เมื่อขาดดุลรัฐบาลก็จะนำเงินทุนสำรองออกมาใช้ แต่ถ้านำมาใช้มาก เกินไปก็จะมีผลเสียต่อเสถียรภาพทางการคลัง และมีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนและความเชื่อมั่นของต่างชาติต่อประเทศไทยได้ รัฐบาลมีทางแก้หลักๆ อยู่ 2 วิธี คือ การเพิ่มภาษี และการกู้ยืมเงิน การเพิ่มภาษีจะลดรายได้และกำลังซื้อของประชาชนและธุรกิจ และจะมีผลต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจได้ รัฐบาลจึงมักเลือกการก่อหนี้สาธารณะหรือการกู้ยืมเงิน
อย่างไรก็ตามการมีหนี้สาธารณะมากเกินไปจะสร้างปัญหาในระยะยาวได้ เพราะหนี้ เหล่านี้เป็นภาระที่รัฐบาลต้องชำระคืนทุกปี ถ้ามีมากเกินไปจะทำให้แต่ละปีประเทศต้องผ่อนชำระหนี้สูงและเบียดบังเงินงบประมาณที่จะนำมาพัฒนาประเทศ และการมีหนี้สาธารณะสูงเกินไปจะมีผลต่อความเชื่อมั่นต่อประเทศไทยได้

วัตถุประสงค์ของการก่อหนี้สาธารณะ
รัฐบาลก็เหมือนประชาชนทั่วไปที่จะต้องมีเงินเอาไว้ใช้จ่าย บางครั้งเมื่อมีเงินไม่พอก็จำเป็นต้องกู้เงินมาใช้จ่ายในกิจการต่างๆโดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนาการออมในประเทศอยู่ในระดับต่ำ การสะสมทุนมีน้อย ในขณะความต้องการใช้ปัจจัยทุนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศมีมากการขาดแคลนเงินทุนเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ รัฐบาลจึงแสวงหาเงินทุนมาใช้จ่าย เพื่อดำเนินการในโครงการต่างๆเพื่อให้ประชาชนมีความกินดีอยู่ดีเงินที่รัฐบาลกู้มาโดยทั่วไปก็จะนำไปใช้จ่ายดังต่อไปนี้
1.เพื่อใช้จ่ายในการลงทุน
2. เพื่อรักษาเสถียรภาทางเศรษฐกิจ
3. เพื่อชดเชยงบประมาณที่ขาดดุล
4. เพื่อใช้จ่ายกรณีฉุกเฉิน
5. เพื่อรักษาและเพิ่มทุนสำรองระหว่างประเทศ
6. เพื่อระดมทุนที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ในด้านการพัฒนาประเทศ
7. เพื่อนำมาหมุนเวียนใช้หนี้เก่า
8. เพื่อปรับปรุงโครงสร้างภาระหนี้ให้มีการกระจายหนี้ดีขึ้น ( Refinancing )
ประเภทของหนี้สาธารณะ
1. แบ่งตามระยะเวลาของเงินกู้
1.1. หนี้ระยะสั้น (Short term) มีกำหนดเวลาใช้คืน 3 เดือน 6 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี ส่วนใหญ่จะเป็นการกู้ที่รัฐบาลมีความจำเป็นต้องใช้เงินในระยะสั้นๆ จะออกเป็นตั๋วเงินคลัง (Treasury Bills) หรือออกใบรับรองการเป็นหนี้ให้ การกู้ประเภทนี้จะมีอัตราดอกเบี้ยต่ำ ส่วนใหญ่รัฐบาลกู้จากธนาคารแห่งประเทศไทย
โตรงการจัดทำข้อมูลองค์ความรู้
1.2. หนี้ระยะปานกลาง (Intermediate term) คือ หนี้ที่มีกำหนดเวลาใช้คืนตั้งแต่ 1-5 ปี รัฐบาลจะออกTreasury note มาเป็นหลักฐานในการกู้
1.3. หนี้ระยะยาว (Long term) คือ หนี้ที่มีกำหนดระยะเวลาใช้คืนตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป รัฐบาลจะออกตราสารประเภทพันธบัตรรัฐบาลออกมา โดยกำหนดจำนวนเงิน ระยะเวลาใช้คืน และดอกเบี้ย ส่วนใหญ่จะเป็นการกู้เพื่อนำไปใช้ในโครงการระยะยาว เช่น การลงทุนในโครงการสาธารณูปโภค เช่น สร้างถนน สร้างสะพานข้ามแม่น้ำ
2. แบ่งตามแหล่งของเงินกู้
2.1. หนี้ภายในประเทศ รัฐบาลจะกู้เงินจากประชาชนทั่วไป ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารกลาง และสถาบันการเงินอื่นๆ ภายในประเทศ เงินที่กู้ยืมอาจจะเป็นเงินตราของประเทศหรือเงินตราต่างประเทศก็ได้
2.2. หนี้ภายนอกประเทศ รัฐบาลจะกู้เงินจากแหล่งเงินกู้ภายนอกประเทศ ทั้งเอกชน รัฐบาล หรือสถาบันการเงินระหว่างประเทศ เช่น ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (The Asian Development Bank) หรือกู้จากธนาคารโลก (World Bank) หรือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund) เป็นต้น
แบบฝึกหัด เช้า-บ่าย 16 พ.ค. 2563
นางสาว สริตา จุลทองไสย รหัส 61423451047 รุ่น 41
ช่วงเช้า
1.งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ จะเรียกว่าการคลังรัฐบาล หรือ การคลังสาธารณะ ก็มีความหมายใกล้เคียงกัน ซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องของภาษีอากร การใช้จ่ายภาครัฐ และการจัดสรรงบประมาณ ซึ่งนับรวมรายจ่ายของรัฐบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจ ดังนั้น การคลังสาธารณะจึงเกี่ยวข้องกับการจัดสรรทรัพยากรของระบบเศรษฐกิจที่เน้นบทบาทของภาครัฐและปฏิสัมพันธ์กับภาคส่วนอื่นๆ
งบประมาณ คือการวางแผนการเงินในช่วงเวลาที่กำหนดชัดเจน โดยมากแล้วคือหนึ่งปี งบประมาณอาจรวมถึง ปริมาณแผนการขาย และรายได้, ปริมาณทรัพย์สิน, ค่าใช้จ่าย, สินทรัพย์, หนี้สินและกระแสเงินสด
กล่าวโดยสรุป การคลังสาธารณะ หมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายรับและร่ายจ่ายและการก่อหนี้ของรัฐบาลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ มีผลกระทบจากกิจกรรมการดำเนินการต่างๆ ทางการคลังของรัฐบาลที่มีต่อสังคมและประเทศชาติโดยรวม โดยมีขอบเขตเกี่ยวข้องกับงบประมาณแผ่นดิน การคลังด้านรายรับ การคลังด้านรายจ่าย และหนี้สาธารณะ
2.อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ รายรับของรัฐบาล สามารถจำแนกเป็น 3 ประเภท
1.รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร ประกอบด้วย ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม ภาษีลักษณะอนุญาตเช่น ค่าใบอนุญาตอาวธุปืน ค่าใบอนุญาตการพนัน
2.รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี คือ รายได้ที่มีจากการประกอบธุรกรรมอย่างอื่นของรัฐ ได้แก่
2.1รายได้จากการขายสิ่งของและบรกิารอันได้แก่การขายหลักทรัพย์ และทรัพย์สิน เช่นการขายสินทรัพย์ที่เป็นอสังหาริมทรัพย์
2.2รายได้จากรัฐพาณิชย์ คือผลกำไรขององคก์ารของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจรายได้จากโรงงานยาสูบ รายได้จากการขายสลากกินแบ่งรัฐบาล (ล็อตเตอรี่) เป็นต้น
2.3 รายได้อื่น เช่น ค่าแสตมป์ ฤชา ค่าปรับ เงิน รับคืนและรายได้เบ็ดเตล็ด
3.รายรับที่ไม่ใช่รายได้ คือ รายรับที่มาจากการกู้เงิน จากธนาคารกลาง ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์ การกู้จากประชาชนโดยการขายพันธบัตรรัฐบาลเป็นต้น
รายจ่ายของรัฐบาล แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลักๆ คือ
1.รายจ่ายประจำ เงินเดือน+สวัสดิการต่างๆ
- ข้าราชการประจำ เช่น ครู ทหาร ตารวจ พยาบาล
- ข้าราชการการเมือง (นักการเมือง) เช่น ส.ส. ส.ว. นายก อบต. ฯลฯ
- ลูกจ้างของรัฐพนักงานราชการพนักงานมหาวิทยาลัยฯ อื่นๆ
2.รายจ่ายเพื่อการลงทุน ใช้พัฒนาประเทศ การสร้างถนน สะพาน โรงพยาบาล โครงการต่างๆของภาครัฐตามนโยบายรัฐบาล การลงทุนของรัฐที่เรียกว่ารัฐพาณิชย์ ต่าง ๆ เช่นรัฐวิสาหกิจ เป็นต้น
3.ชำระหนี้ จ่ายในการชำระคืนเงินกู้ เช่น ในกรณีที่มีีพันธะในการชำระ หนี้จากการกู้ยืม ซื้อพันธบัตรรัฐบาล (GovernmentBond) คืนจากประชาชน คืนเงินคงคลัง

ช่วงบ่าย
1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายงบประมาณ คือการจัดการใส่สวนของรายได้ (ภาษี) และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในประเทศหรือรัฐ
นโยบายงบประมาณ ยังรวมถึงนโยบายภาษี ในแต่ละปีเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจะลงคะแนนเสียงสำหรับงบประมาณตามรายได้และการคาดการณ์ค่าใช้จ่าย ซึ่งสามารถนำเสนอในสามรูปแบบ
- งบประมาณสมดุล
- งบประมาณขาดดุล
- งบประมาณเกินดุล
ดุลงบประมาณ (รายได้ – รายจ่าย) คือการประเมินผลของนโยบายงบประมาณที่ดำเนินการระหว่างปี ความสมดุลนี้จะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสภาพทางเศรษฐกิจ ระยะเวลาของการเจริญเติบโตจะมีผลในเชิงบวกต่องบประมาณสมดุล ในขณะที่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยจะมีผลในเชิงลบต่องบประมาณสมดุล
2.อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ หนี้สาธารณะ คือ หนี้ที่เกิดขึ้นจากการกู้ยืมของรัฐบาล กล่าวคือ เมื่อฐานะการเงินของรัฐบาลเกิดการขาดดุล คือ รายจ่ายมากกว่ารายรับ และรัฐบาลไม่สามารถจะหารายได้จากภาษีที่เก็บจากประชาชนมาเพื่อใช้จ่ายได้พอ ก็จะทำการกู้ยืมจากแหล่งเงินกู้ 2 แหล่ง คือ กู้ยืมจากภายในประเทศ และ กู้ยืมจากต่างประเทศ
ประเภทของหนี้สาธารณะ
1. แบ่งตามระยะเวลาของเงินกู้
1.1. หนี้ระยะสั้น มีกำหนดเวลาใช้คืน 3 เดือน 6 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี ส่วนใหญ่จะเป็นการกู้ที่รัฐบาลมีความจำเป็นต้องใช้เงินในระยะสั้นๆ จะออกเป็นตั๋วเงินคลัง (Treasury Bills) หรือออกใบรับรองการเป็นหนี้ให้ การกู้ประเภทนี้จะมีอัตราดอกเบี้ยต่ำ
1.2. หนี้ระยะปานกลาง คือ หนี้ที่มีกำหนดเวลาใช้คืนตั้งแต่ 1-5 ปี รัฐบาลจะออกTreasury note มาเป็นหลักฐานในการกู้
1.3. หนี้ระยะยาว คือ หนี้ที่มีกำหนดระยะเวลาใช้คืนตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป รัฐบาลจะออกตราสารประเภทพันธบัตรรัฐบาลออกมา เพื่อนำไปใช้ในโครงการระยะยาว
2. แบ่งตามแหล่งของเงินกู้
2.1. หนี้ภายในประเทศ รัฐบาลจะกู้เงินจากประชาชนทั่วไป ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารกลาง และสถาบันการเงินอื่นๆ ภายในประเทศ
2.2. หนี้ภายนอกประเทศ รัฐบาลจะกู้เงินจากแหล่งเงินกู้ภายนอกประเทศ ทั้งเอกชน รัฐบาล หรือสถาบันการเงินระหว่างประเทศ เช่น กู้จากธนาคารโลกหรือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ เป็นต้น
แบบฝึกหัด 17 พ.ค. 2563
นางสาว สริตา จุลทองไสย รหัสนักศึกษา 61423451047 รุ่น 41
1.จงกล่าวถึง
- พฤติกรรมการบริหาร
- บทบาททางการบริหาร
- ความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ พฤติกรรมการบริหาร หมายถึงกิจกรรมหรือการกระทำที่เกิดจากผู้บริหารทั้งที่เกิดอยู่ภายใน และแสดงออกต่อผู้ร่วมงาน เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ และพฤติกรรมการบริหารอาจหมายถึงการกระทำที่ผู้บริหาร แสดงออกทั้งทางกายภาพและทางอารมณ์ต่อผู้ร่วมงานเพื่อให้การดำเนินเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา
บทบาททางการบริหาร
1. บทบาทด้านมนุษยสัมพันธ์
- เป็นประธาน หัวโขน : ตัวแทนขององค์การ
- ผู้นำ : รับผิดชอบในการจูงใจและชี้นำผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทำงานอย่างเต็มความสามารถ
- ผู้ประสานงาน เชื่อมสัมพันธไมตรี : สร้างและรักษาความสัมพันธ์กับองค์การภายนอก สร้างเครือข่าย ผูกมิตรกับบุคคลหรือกลุ่มต่างๆที่มีความสำคัญต่อองค์การ
2. บทบาททางด้านข้อมูลข่าวสาร
- ผู้แสวงหาข้อมูล ข่าวสารที่ทันสมัย เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาองค์การ
- ผู้กระจายข้อมูล เผยแพร่ข่าวสารที่ได้มา ทั้งจากภายนอกและภายในให้แก่พนักงานในองค์การ
- ผู้แถลงข่าว ประชาสัมพันธ์ ในเรื่องที่เกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน การปฏิบัติงาน และผลการดำเนินงานขององค์การไปสู่ภายนอก
3. บทบาทในการตัดสินใจ
- ผู้ประกอบการ : ศึกษาสภาพแวดล้อมและโอกาสทางธุรกิจ มีความตั้งใจทำงาน มุ่งมั่นให้งานประสบความสำเร็จ
- ผู้ขจัดความขัดแย้ง : รับผิดชอบในการแก้ไขปัญหาต่างๆที่องค์การเผชิญอยู่
- ผู้จัดสรรทรัพยากร : รับผิดชอบในการจัดสรรทรัพยากรทุกชนิด ทั้งด้านบุคคล วัตถุ และการเงิน ซึ่งมีผลต่อการตัดสินใจขององค์การ
- ผู้เจรจาต่อรอง : เป็นตัวแทนในการเจรจาต่อรองเรื่องสำคัญ เพื่อรักษาผลประโยชน์ที่องค์การควรได้รับ
ความรับผิดชอบทางการบริหาร (Administrative Responsibility) ประกอบด้วย คุณธรรม/จริยธรรม (Morality/Ethics) หมายถึง ในการปฏิบัติราชการต้องมีจิตสานึกความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็น ไปอย่างมีศีลธรรม คุณธรรม และตรงตามความคาดหวังของสังคม จริยธรรมข้าราชการพลเรือน และจรรยาบรรณวิชาชีพ ตลอดจน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของระบบราชการไทย 8 ประการ (I AM READY) ได้แก่
I - Integrity ซื่อสัตย์และกล้ายืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง
A - Activeness ทำงานเชิงรุก คิดเชิงบวกและมีจิตบริการ
M - Morality มีศีลธรรม คุณธรรมและจริยธรรม
R - Responsiveness คำนึงถึงประโยชน์สุขของประชาชนเป็นที่ตั้ง
E - Efficiency มุ่งเน้นประสิทธิภาพ
A - Accountability ตรวจสอบได้
D - Democracy ยึดมั่นในหลักประชาธิปไตย
Y - Yield มุ่งผลสัมฤทธิ์
Anonymous said…
นายสุทธิพงษ์ ศิลารักษ์ รหัสนักศึกษา 62423471020
การบ้านวันเสาร์ที่ 16 พ.ค. 2563
คำถามช่วงเช้า
ข้อที่ 1) งบประมาณและการคลังสาธารณะ หมายถึงอะไร ?
ตอบ. งบประมาณ หมายถึง แผนเบ็ดเสร็จซึ่งแสดงออกในรูปตัวเงิน แสดงโครงการดําเนินงานทั้งหมดในระยะหนึ่งรวมถึงการกะประมาณการบริหารกิจกรรม โครงการ และค่าใช้จ่ายตลอดจนทรัพยากรที่จําเป็นในการสนับสนุน รวมถึงวางแผนการเงินในช่วงเวลาที่กำหนดชัดเจนโดยมากแล้วคือหนึ่งปีงบประมาณอาจรวมถึงปริมาณแผนการขายและรายได้, ปริมาณทรัพย์สิน, ค่าใช้จ่าย, สินทรัพย์, หนี้สินและกระแสเงินสดโดยที่บริษัท รัฐบาล ครอบครัว และองค์กรต่าง ๆ
การคลังสาธารณะ หมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายรับและร่ายจ่ายและการก่อหนี้ของรัฐบาลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ มีผลกระทบจากกิจกรรมการดำเนินการต่างๆ ทางการคลังของรัฐบาลที่มีต่อสังคมและประเทศชาติโดยรวม โดยมีขอบเขตเกี่ยวข้องกับงบประมาณแผ่นดิน การคลังด้านรายรับ การคลังด้านรายจ่าย และหนี้สาธารณะ
ข้อที่ 2) อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ. โครงสร้างรายรับของรัฐบาลมาจาก 3 ส่วน ดั้งนี้
1.รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร
ประกอบด้วย ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม ภาษีลักษณะอนุญาตเช่น ค่าใบอนุญาตอาวุธปืน
ค่าใบอนุญาตการพนัน (เป็นรายรับด้านนี้ส่วนใหญ่ของประเทศไทย)
2. รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี
คือรายรับที่มีจากการประกอบธุรกรรมอย่างอื่นของรัฐได้แก่
-รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ อันได้แก่ การขายหลักทรัพย์ และ ทรัพย์สิน เช่นการขายสินทรัพย์ที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ ค่าขายผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ค่าขาย หลักทรัพย์ ค่าขายบริการและค่าเช่า เป็นต้น
-รายได้จากรัฐพาณิชย์ คือผลกำไรขององค์การของรัฐบาลรัฐวิสาหกิจ รายได้จากโรงงานยาสูบ รายได้จากการขายสลากกินแบ่งรัฐบาล (ล็อตเตอรี่) เป็นต้น
-รายได้อื่นๆ เช่น ค่าแสตมป์ ฤชา ค่าปรับ เงินรับคืนและรายได้ เบ็ดเตล็ด
3. รายรับที่ไม่ใช่รายได้
คือ -รายรับที่มาจากการกู้เงิน จากธนาคารกลาง ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์
-การกู้จากประชาชน โดยการขายพันธบัตรรัฐบาล เป็นต้น
-การยืมเงินคงคลัง ที่รัฐบาลเก็บสะสมไว้และสามารถยืมมาใช้ในปีที่รายจ่ายสูงเกินกว่ารายได้
รายจ่ายของรัฐบาล แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลัก ๆ ได้แก่
1.รายจ่ายประจำ
*เงินเดือน+ สวัสดิการต่าง ๆ
- ข้าราชการประจำ เช่น ครู ทหาร ตำรวจ พยาบาล เป็นต้น
- ข้าราชการการเมือง(นักการเมือง) เช่น ส.ส. ส.ว. ส.อบต. ส.อบจ. นายก อบต. ฯลฯ
*อื่นๆ เช่น เป็นค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าบริการต่างๆ ของทางราชการ
2.รายจ่ายเพื่อการลงทุน
-การสร้าง ถนน สะพาน เป็นต้น
-โครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ ตามนโยบายรัฐบาล
-การลงทุน ของรัฐที่เรียกว่า รัฐวิสาหกิจ เป็นต้น
3.ชำระหนี้ เช่น
*ในกรณีที่มีพันธะในการช าระ
-หนี้จากการกู้ยืม
-ซื้อพันธบุตรรัฐบาล
-คืนเงินคงคลัง



(คำถามช่วงบ่าย )
ข้อที่ 1) อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ. นโยบายที่จะเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของรัฐบาล ทางด้านการใช้จ่ายเงินเข้าไปในระบบเศรษฐกิจ เช่น การเพิ่มหรือลดภาษี และหนี้สิน การตัดสินใจของรัฐ เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ที่จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อระดับอุปสงค์รวม เช่น ระดับราคาสินค้า อัตราดอกเบี้ย ระดับรายได้ประชาชาติ ส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ประชาชาติ ดุลการชำระเงิน และอัตราแลกเปลี่ยน ที่มีลักษณะของการพัฒนาเป็นหลัก งบประมาณที่ดีควรจะดําเนินการจัดสรรโดยยึดหลักการพัฒนาเพื่อให้เกิดความก้าวหน้าเป็นหลัก ทั้งนี้เนื่องจากมีงบประมาณจำกัด จึงควรมีการพิจารณาจัดสรรงบประมาณตามหลักการพัฒนาที่ดีว่าด้านไหนควรมาก่อนหลัง ตามสถานการณ์และความจำเป็น
ข้อที่ 2)อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ.หนี้สาธารณะ (Public debt) คือ หนี้ที่ถือโดยรัฐบาลกลาง, หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่น, องค์กรของรัฐ รวมไปถึง รัฐวิสาหกิจ ตลอดจนการค้ำประกันหนี้สินโดยรัฐบาล ซึ่งการเกิดขึ้นของหนี้สาธารณะส่วนใหญ่ของรัฐบาลทั่วโลก มาจากการดำเนินนโยบายของรัฐแบบขาดดุล หรือก็คือรายได้ของรัฐน้อยกว่ารายจ่ายของรัฐ ทำให้ต้องมีการกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลในแต่ละรอบปีงบประมาณการกู้เงินของรัฐบาล มีได้หลายช่องทาง รัฐอาจกู้จากสถาบันการเงินภายในประเทศ เช่น ธนาคารพาณิชย์ และ ธนาคารกลาง, สถาบันการเงินต่างประเทศ, เอกชน, รัฐบาลต่างประเทศ หรือ องค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ อาทิ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (ไอเอ็มเอฟ), องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น (ไจก้า) เป็นต้น ในประเทศกำลังพัฒนามีแนวโน้มที่งบประมาณของรัฐบาลจะขาดดุบเนื่องจากระดับรายได้ของประชาชนต่ำ มีการหลีกเลี่ยงภาษีอากร จึงมีผลให้รัฐบาลจัดเก็บภาษีอากรได้น้อย ในขณะเดียวกันรัฐบาลพยายามเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการปรับโครงสร้างพื้นฐาน ทำให้รายจ่ายด้านสาธารณูปโภคเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว รัฐบาลจึงจำเป็นต้องก่อหนี้สาธารณะ
(ส่งการบ้านช่วงเช้า)วันที่16-17/05/63
นางสาวธัญชนก อุ่นใจ รหัสนักศึกษา 62423471131 รุ่นที่44
แบบฝึกหัดช่วงเช้า
1.งบประมาณและการคลังสาธารณะคืออะไร
=การใช้จ่ายของรัฐบาลและจัดหารายรับให้เพียงพอกับการใช้จ่ายในรอบระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติมีระยะเวลา 1 ปี ดังนั้น จึงเรียกว่า งบประมาณแผ่นดินประจำปี ซึ่งจะเริ่มต้นในวันที่ 1 ตุลาคมของทุกปีไปจนถึงวันที่ 30 กันยายนของปีถัดไป สำนักงบประมาณแผ่นดินเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบจัดทำงบประมาณแผ่นดินและนำเสนอเพื่อพิจารณา เมื่อได้รับอนุมัติแล้วจึงตราออกมาเป็นพระราชบัญญัติงบประมารรายจ่ายประจำปี เพื่อใช้บังคับต่อไป ส่วนการคลังสาธารณะหมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายรับและร่ายจ่ายและการก่อหนี้ของรัฐบาลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ มีผลกระทบจากกิจกรรมการดำเนินการต่างๆ ทางการคลังของรัฐบาลที่มีต่อสังคมและประเทศชาติโดยรวม โดยมีขอบเขตเกี่ยวข้องกับงบประมาณแผ่นดิน การคลังด้านรายรับ การคลังด้านรายจ่าย และหนี้สาธารณะ

2.อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
=1. รายรับประเภทรายได้
เป็นรายรับที่สาคัญที่สุดของรัฐบาล และไม่มีพันธะที่จะต้องใช้คืน แบ่งได้เป็น 2 ทางคือ ภาษีอากร และไม่ใช่ภาษีอากร
1.1 รายได้ที่เป็นภาษีอากร เป็นรายได้ที่รัฐบาลบังคับเก็บจากประชาชน โดยอาศัยอานาจของ กฎหมาย ไม่คานึงถึงผลตอบแทนที่จ่ายภาษีจะได้รับ รายรับประเภทนี้สาคัญมากที่สุด และภาษีอากรถือเป็น แหล่งรายได้ที่สาคัญของรัฐบาลไทย
1.2 รายได้ที่มิใช่ภาษีอากร เป็นรายได้ที่เกิดจากการดาเนินงานทางธุรกิจของรัฐบาล ได้แก่ 1.2.1 รายได้จากรัฐพาณิชย์ เกิดจากการแบ่งส่วนแบ่งผลกาไรในการดาเนินงานธุรกิจที่รัฐเป็นเจ้าของทั้งหมดหรือบางส่วน ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของรัฐวิสาหกิจหรือบริษัท เช่น การไฟฟ้า การประปา การบินไทย สลากกินแบ่งฯ เป็นต้น
1.2.2 รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ เกิดจากการขายสิ่งของและบริการของรัฐบาล เช่น ค่าขายหนังสือ ค่าธรรมเนียมศุลกากร ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนการค้า เป็นต้น
1.2.3 รายได้อื่นๆ เกิดจากรายได้ตามอานาจกฎหมายและระเบียบข้อบังคับหรือสัญญาที่ ทาไว้กับรัฐบาล เช่น ค่าแสตมป์ ค่าปรับ ดอกเบี้ยจากเงินที่รัฐวิสาหกิจกู้ยืมไป
2. รายรับประเภทเงินกู้
เมื่อรายรับประเภทรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย รัฐบาลจาเป็นต้องกู้ยืมเงินมา เพื่อนามาใช้ใน
กิจการสาธารณะ พิจารณาตามแหล่งเงินกู้ได้ 2 ประเภท ดังนี้
2.1 แหล่งเงินกู้ภายในประเทศ อาจกู้จากประชาชนโดยตรง โดยการออกพันธบัตรรัฐบาล การกู้เงินจากสถาบันการเงิน อาจกู้จากธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์ เป็นต้น
2.2 แหล่งเงินกู้ภายนอกประเทศ อาจกู้จากรัฐบาลต่างประเทศ จากเอกชน หรือจากสถาบัน
การเงินต่างประเทศ เช่น ธนาคารโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) เป็นต้น โดยปกติการกู้ลักษณะ นี้จะกู้เพื่อใช้ในโครงการใดโครงการหนึ่งเฉพาะ จึงมิได้ปรากฏอยู่ในงบประมาณรายรับประจาปี
การกู้เงินถึงแม้จะช่วยทาให้รัฐบาลไทยมีรายรับเพียงพอกับรายจ่ายก็ตาม แต่ก็จะต้องมีภาระ ผูกพันต่อไปคือ จะต้องมีการจ่ายคืนเงินต้นพร้อมกับชาระดอกเบี้ยตามเงื่อนไขที่แหล่งเงินกู้กาหนดไว้
3.รายรับประเภทเงินคงคลัง
เงินคงคลัง คือ เงินสดเหลือจ่ายที่รัฐบาลเก็บไว้ใช้จ่ายในยามฉุกเฉิน ซึ่งได้จากเงินเหลือจากการใช้จ่ายตามปีงบประมาณ จึงเปรียบเสมือนเป็นเงินออมของประเทศไทยนั่นเอง การนาเงินคงคลังนี้ออกมาใช้มากเกินควร ก็จะก่อให้เกิดผลเสียด้านสภาพคล่องของระบบการ
คลังได้ เงินคงคลังจึงมิใช่แปล่งรายรับที่จะนามาใช้จ่ายได้อย่างสม่าเสมอแน่นอน ต้องขึ้นอยู่กับจานวนเงินคง คลังสะสมที่มีอยู่ในขณะนั้น รวมทั้งนโยบายการสารองเงินของประเทศไทยด้วย
งบประมาณรายจ่ายเป็นจำนวนเงินที่อนุญาตให้จ่ายหรือให้ก่อหนี้ผูกพันได้ ตามวัตถุประสงค์และภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ซึ่งตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ มาตรา 4 กำหนดหลักการของงบประมาณแผ่นดิน และการจัดทำงบประมาณแผ่นดินไว้ดังนี้
1. งบประมาณรายจ่ายเป็นอำนาจการใช้จ่ายเงินแผ่นดินของรัฐบาลที่รัฐสภาได้อนุญาตให้ไว้ในรูปของพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ซึ่งให้รัฐบาลกระทำได้ภายใต้กรอบวัตถุประสงค์ในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดหรืออนุญาตไว้เท่านั้น
2. การใช้จ่ายเงินแผ่นดิน ตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีจะกระทำได้เฉพาะภายในงบประมาณนั้น ๆ เมื่อล่วงพ้นปีงบประมาณไปแล้วจะไม่ถือเป็นการจ่ายเงินในระบบงบประมาณแผ่นดิน กล่าวคือ ต้องนำส่งคืนคลัง เว้นแต่จะได้ดำเนินการโดยวิธีการกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปีตามวิธีการที่กฎหมายบัญญัติไว้
(ส่งการบ้านช่วงบ่าย)วันที่16-17/05/63
นางสาวธัญชนก อุ่นใจ รหัสนักศึกษา 62423471131 รุ่นที่44

แบบฝึกหัดช่วงบ่าย
1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
รัฐบาลจะใช้งบประมาณแผ่นดินเป็นเครื่องมือสำคัญของนโยบายการคลัง งบประมาณแผ่นดินเป็นแผนการเงินของรัฐบาล ประกอบด้วยประมาณการรายได้และรายจ่าย รวมทั้งการจัดหาเงินเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายตามประมาณการรายจ่ายในช่วงระยะเวลา 1 ปี การจัดทำงบประมาณแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะคือ
1.งบประมาณสมดุล คือ งบประมาณที่รายรับและรายจ่ายเท่ากัน ใช้เพื่อนการจัดสรรทรัพยากรและเพื่อการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม
2.งบประมาณเกินดุล คือ งบประมาณที่รายได้มากกว่ารายจ่ายใช้ในช่วงที่เศรษฐกิจรุ่งเรือง รัฐบาลจะลดค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาลลงและเพิ่มภาษี เพื่อช่วยดึงเงินออกจากระบบเศรษฐกิจ
3.งบประมาณขาดดุล คือ งบประมาณที่รายจ่ายมากกว่ารายได้ ใช้ในช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำ รัฐบาลจะเพิ่มค่าใช้จ่ายการซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาลลดลงและลดภาษี เพื่อเพิ่มปริมาณ เงินในระบบเศรษฐกิจ

2.อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ในประเทศกำลังพัฒนามีแนวโน้มที่งบประมาณของรัฐบาลจะขาดดุบ เนื่องจากระดับรายได้ของประชาชนต่ำ มีการหลีกเลี่ยงภาษีอากร จึงมีผลให้รัฐบาลจัดเก็บภาษีอากรได้น้อย ในขณะเดียวกันรัฐบาลพยายามเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการปรับโครงสร้างพื้นฐาน ทำให้รายจ่ายด้านสาธารณูปโภคเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว รัฐบาลจึงจำเป็นต้องก่อหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะอาจจำแนกตามแหล่งเงินกู้ได้ดังนี้
1. หนี้ภายในประเทศ
หนี้ภายในประเทศ หมายถึง หนี้สาธารณะที่เกิดขึ้นจากการที่รัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายในประเทศ เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์ สถาบันทางการเงินประเภทต่าง ๆ และประชาชนทั่วไป วิธีการก่อหนี้สาธารณะภายในประเทศนั้น รัฐบาลจะจำหน่ายพันธบัตรซึ่งเป็นเงินกู้ระยะยาว หรือจำหน่ายตั๋วคลังซึ่งเป็นการกู้ระยะสั้น
2. หนี้ต่างประเทศ
หนี้ต่างประเทศ หมายถึง หนี้สาธารณะที่เกิดจากรัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายนอกประเทศ เพื่อนำมาสนับสนุนการลงทุนในโครงการต่าง ๆ ของรัฐบาล หรือค้ำประกันเงินก็ของรัฐวิสาหกิจ แหล่งเงินกู้ต่างประเทศที่สำคัญ คือ ธนาคารโลก กองทุนความร่วมมือทางเศรษฐกิจโพ้นทะเลแห่งประเทศญี่ปุ่น ธนาคารพัฒนาเอเชีย และตลาดการเงิน เป็นต้น การก่อหนี้สาธารณะอาจเกิดผลดีในด้าน การนำเงินไปใช้เพื่อเพิ่มผลผลิต จะทำให้อัตราการพัฒนาเศรษฐกิจรวดเร็วยิ่งขึ้น แต่ในขณะเดียวกันจะมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ กล่าวคือ ในกรณีหนี้ภายในประเทศ ถ้ารัฐบาลกู้ยืมเงินลงทุนของภาคเอกชน จะเกิดผลกระทบต่ออุปสงค์รวม ทำให้ระดับรายได้ประชาชาติและการว่าจ้างทำงานลดลง ส่วนหนี้ต่างประเทศจะส่งผลกระทบต่อเงินที่ไหลออกนอกประเทศ เนื่องจากการชำระหนี้เงินกู้และดอกเบี้ยเงินกู้แก่ต่างประเทศ
รัฐบาลต้องใช้จ่ายรายได้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด และมีประสิทธิภาพสูงสุดในการแจกจ่ายรายได้ ต้องมีการวางแผน และดำเนินการอย่างเป็นระบบ ดังนั้นจึงมีการทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณจากหน่วยงานที่มีความจำเป็นและต้องการรายได้เพื่อนำไปใช้จ่ายตามแผนของรัฐบาลที่วางไว้
(ส่งการบ้านช่วงเช้า)วันที่16-17/05/63
นางสาวธัญชนก อุ่นใจ รหัสนักศึกษา 62423471131 รุ่นที่44
แบบฝึกหัดช่วงเช้า
1.งบประมาณและการคลังสาธารณะคืออะไร
=การใช้จ่ายของรัฐบาลและจัดหารายรับให้เพียงพอกับการใช้จ่ายในรอบระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติมีระยะเวลา 1 ปี ดังนั้น จึงเรียกว่า งบประมาณแผ่นดินประจำปี ซึ่งจะเริ่มต้นในวันที่ 1 ตุลาคมของทุกปีไปจนถึงวันที่ 30 กันยายนของปีถัดไป สำนักงบประมาณแผ่นดินเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบจัดทำงบประมาณแผ่นดินและนำเสนอเพื่อพิจารณา เมื่อได้รับอนุมัติแล้วจึงตราออกมาเป็นพระราชบัญญัติงบประมารรายจ่ายประจำปี เพื่อใช้บังคับต่อไป ส่วนการคลังสาธารณะหมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายรับและร่ายจ่ายและการก่อหนี้ของรัฐบาลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ มีผลกระทบจากกิจกรรมการดำเนินการต่างๆ ทางการคลังของรัฐบาลที่มีต่อสังคมและประเทศชาติโดยรวม โดยมีขอบเขตเกี่ยวข้องกับงบประมาณแผ่นดิน การคลังด้านรายรับ การคลังด้านรายจ่าย และหนี้สาธารณะ

2.อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
=1. รายรับประเภทรายได้
เป็นรายรับที่สาคัญที่สุดของรัฐบาล และไม่มีพันธะที่จะต้องใช้คืน แบ่งได้เป็น 2 ทางคือ ภาษีอากร และไม่ใช่ภาษีอากร
1.1 รายได้ที่เป็นภาษีอากร เป็นรายได้ที่รัฐบาลบังคับเก็บจากประชาชน โดยอาศัยอานาจของ กฎหมาย ไม่คานึงถึงผลตอบแทนที่จ่ายภาษีจะได้รับ รายรับประเภทนี้สาคัญมากที่สุด และภาษีอากรถือเป็น แหล่งรายได้ที่สาคัญของรัฐบาลไทย
1.2 รายได้ที่มิใช่ภาษีอากร เป็นรายได้ที่เกิดจากการดาเนินงานทางธุรกิจของรัฐบาล ได้แก่ 1.2.1 รายได้จากรัฐพาณิชย์ เกิดจากการแบ่งส่วนแบ่งผลกาไรในการดาเนินงานธุรกิจที่รัฐเป็นเจ้าของทั้งหมดหรือบางส่วน ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของรัฐวิสาหกิจหรือบริษัท เช่น การไฟฟ้า การประปา การบินไทย สลากกินแบ่งฯ เป็นต้น
1.2.2 รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ เกิดจากการขายสิ่งของและบริการของรัฐบาล เช่น ค่าขายหนังสือ ค่าธรรมเนียมศุลกากร ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนการค้า เป็นต้น
1.2.3 รายได้อื่นๆ เกิดจากรายได้ตามอานาจกฎหมายและระเบียบข้อบังคับหรือสัญญาที่ ทาไว้กับรัฐบาล เช่น ค่าแสตมป์ ค่าปรับ ดอกเบี้ยจากเงินที่รัฐวิสาหกิจกู้ยืมไป
2. รายรับประเภทเงินกู้
เมื่อรายรับประเภทรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย รัฐบาลจาเป็นต้องกู้ยืมเงินมา เพื่อนามาใช้ใน
กิจการสาธารณะ พิจารณาตามแหล่งเงินกู้ได้ 2 ประเภท ดังนี้
2.1 แหล่งเงินกู้ภายในประเทศ อาจกู้จากประชาชนโดยตรง โดยการออกพันธบัตรรัฐบาล การกู้เงินจากสถาบันการเงิน อาจกู้จากธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์ เป็นต้น
2.2 แหล่งเงินกู้ภายนอกประเทศ อาจกู้จากรัฐบาลต่างประเทศ จากเอกชน หรือจากสถาบัน
การเงินต่างประเทศ เช่น ธนาคารโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) เป็นต้น โดยปกติการกู้ลักษณะ นี้จะกู้เพื่อใช้ในโครงการใดโครงการหนึ่งเฉพาะ จึงมิได้ปรากฏอยู่ในงบประมาณรายรับประจาปี
การกู้เงินถึงแม้จะช่วยทาให้รัฐบาลไทยมีรายรับเพียงพอกับรายจ่ายก็ตาม แต่ก็จะต้องมีภาระ ผูกพันต่อไปคือ จะต้องมีการจ่ายคืนเงินต้นพร้อมกับชาระดอกเบี้ยตามเงื่อนไขที่แหล่งเงินกู้กาหนดไว้
3.รายรับประเภทเงินคงคลัง
เงินคงคลัง คือ เงินสดเหลือจ่ายที่รัฐบาลเก็บไว้ใช้จ่ายในยามฉุกเฉิน ซึ่งได้จากเงินเหลือจากการใช้จ่ายตามปีงบประมาณ จึงเปรียบเสมือนเป็นเงินออมของประเทศไทยนั่นเอง การนาเงินคงคลังนี้ออกมาใช้มากเกินควร ก็จะก่อให้เกิดผลเสียด้านสภาพคล่องของระบบการ
คลังได้ เงินคงคลังจึงมิใช่แปล่งรายรับที่จะนามาใช้จ่ายได้อย่างสม่าเสมอแน่นอน ต้องขึ้นอยู่กับจานวนเงินคง คลังสะสมที่มีอยู่ในขณะนั้น รวมทั้งนโยบายการสารองเงินของประเทศไทยด้วย
งบประมาณรายจ่ายเป็นจำนวนเงินที่อนุญาตให้จ่ายหรือให้ก่อหนี้ผูกพันได้ ตามวัตถุประสงค์และภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ซึ่งตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ มาตรา 4 กำหนดหลักการของงบประมาณแผ่นดิน และการจัดทำงบประมาณแผ่นดินไว้ดังนี้
1. งบประมาณรายจ่ายเป็นอำนาจการใช้จ่ายเงินแผ่นดินของรัฐบาลที่รัฐสภาได้อนุญาตให้ไว้ในรูปของพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ซึ่งให้รัฐบาลกระทำได้ภายใต้กรอบวัตถุประสงค์ในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดหรืออนุญาตไว้เท่านั้น
2. การใช้จ่ายเงินแผ่นดิน ตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีจะกระทำได้เฉพาะภายในงบประมาณนั้น ๆ เมื่อล่วงพ้นปีงบประมาณไปแล้วจะไม่ถือเป็นการจ่ายเงินในระบบงบประมาณแผ่นดิน กล่าวคือ ต้องนำส่งคืนคลัง เว้นแต่จะได้ดำเนินการโดยวิธีการกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปีตามวิธีการที่กฎหมายบัญญัติไว้
(ส่งการบ้านช่วงบ่าย)วันที่16-17/05/63
นางสาวธัญชนก อุ่นใจ รหัสนักศึกษา 62423471131 รุ่นที่44
แบบฝึกหัดช่วงบ่าย
1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
รัฐบาลจะใช้งบประมาณแผ่นดินเป็นเครื่องมือสำคัญของนโยบายการคลัง งบประมาณแผ่นดินเป็นแผนการเงินของรัฐบาล ประกอบด้วยประมาณการรายได้และรายจ่าย รวมทั้งการจัดหาเงินเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายตามประมาณการรายจ่ายในช่วงระยะเวลา 1 ปี การจัดทำงบประมาณแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะคือ
1.งบประมาณสมดุล คือ งบประมาณที่รายรับและรายจ่ายเท่ากัน ใช้เพื่อนการจัดสรรทรัพยากรและเพื่อการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม
2.งบประมาณเกินดุล คือ งบประมาณที่รายได้มากกว่ารายจ่ายใช้ในช่วงที่เศรษฐกิจรุ่งเรือง รัฐบาลจะลดค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาลลงและเพิ่มภาษี เพื่อช่วยดึงเงินออกจากระบบเศรษฐกิจ
3.งบประมาณขาดดุล คือ งบประมาณที่รายจ่ายมากกว่ารายได้ ใช้ในช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำ รัฐบาลจะเพิ่มค่าใช้จ่ายการซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาลลดลงและลดภาษี เพื่อเพิ่มปริมาณ เงินในระบบเศรษฐกิจ

2.อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ในประเทศกำลังพัฒนามีแนวโน้มที่งบประมาณของรัฐบาลจะขาดดุบ เนื่องจากระดับรายได้ของประชาชนต่ำ มีการหลีกเลี่ยงภาษีอากร จึงมีผลให้รัฐบาลจัดเก็บภาษีอากรได้น้อย ในขณะเดียวกันรัฐบาลพยายามเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการปรับโครงสร้างพื้นฐาน ทำให้รายจ่ายด้านสาธารณูปโภคเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว รัฐบาลจึงจำเป็นต้องก่อหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะอาจจำแนกตามแหล่งเงินกู้ได้ดังนี้
1. หนี้ภายในประเทศ
หนี้ภายในประเทศ หมายถึง หนี้สาธารณะที่เกิดขึ้นจากการที่รัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายในประเทศ เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์ สถาบันทางการเงินประเภทต่าง ๆ และประชาชนทั่วไป วิธีการก่อหนี้สาธารณะภายในประเทศนั้น รัฐบาลจะจำหน่ายพันธบัตรซึ่งเป็นเงินกู้ระยะยาว หรือจำหน่ายตั๋วคลังซึ่งเป็นการกู้ระยะสั้น
2. หนี้ต่างประเทศ
หนี้ต่างประเทศ หมายถึง หนี้สาธารณะที่เกิดจากรัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายนอกประเทศ เพื่อนำมาสนับสนุนการลงทุนในโครงการต่าง ๆ ของรัฐบาล หรือค้ำประกันเงินก็ของรัฐวิสาหกิจ แหล่งเงินกู้ต่างประเทศที่สำคัญ คือ ธนาคารโลก กองทุนความร่วมมือทางเศรษฐกิจโพ้นทะเลแห่งประเทศญี่ปุ่น ธนาคารพัฒนาเอเชีย และตลาดการเงิน เป็นต้น การก่อหนี้สาธารณะอาจเกิดผลดีในด้าน การนำเงินไปใช้เพื่อเพิ่มผลผลิต จะทำให้อัตราการพัฒนาเศรษฐกิจรวดเร็วยิ่งขึ้น แต่ในขณะเดียวกันจะมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ กล่าวคือ ในกรณีหนี้ภายในประเทศ ถ้ารัฐบาลกู้ยืมเงินลงทุนของภาคเอกชน จะเกิดผลกระทบต่ออุปสงค์รวม ทำให้ระดับรายได้ประชาชาติและการว่าจ้างทำงานลดลง ส่วนหนี้ต่างประเทศจะส่งผลกระทบต่อเงินที่ไหลออกนอกประเทศ เนื่องจากการชำระหนี้เงินกู้และดอกเบี้ยเงินกู้แก่ต่างประเทศ
รัฐบาลต้องใช้จ่ายรายได้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด และมีประสิทธิภาพสูงสุดในการแจกจ่ายรายได้ ต้องมีการวางแผน และดำเนินการอย่างเป็นระบบ ดังนั้นจึงมีการทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณจากหน่วยงานที่มีความจำเป็นและต้องการรายได้เพื่อนำไปใช้จ่ายตามแผนของรัฐบาลที่วางไว้
แบบฝึกหัดท้ายบทช่วงเช้า - บ่าย วันที่ 16 พ.ค. 2563
นางสาวอัญจิมา เม็งมุธา 61823451019
1.งบประมาณและการคลังสาธารณะ หมายถึงอะไร
ตอบ งบประมาณ คือการวางแผนการเงินในช่วงเวลาที่กำหนดชัดเจน โดยมากแล้วคือหนึ่งปี งบประมาณอาจรวมถึง ปริมาณแผนการขาย และรายได้, ปริมาณทรัพย์สิน, ค่าใช้จ่าย, สินทรัพย์, หนี้สินและกระแสเงินสด โดยที่บริษัท รัฐบาล ครอบครัว และองค์กรต่าง ๆ จะใช้งบประมาณเพื่อแสดงแผนกลยุทธ์ของกิจกรรมหรือผลให้สามารถวัดได้
การคลังสาธารณะ เป็นบทบาทและหน้าที่ของรัฐในการจัดการกำหนดหน้าที่ว่ารัฐควรทำอะไรบ้างและมีค่าใช้จ่ายในการทำกิจกรรมนั้น ๆ เท่าใด จะหารายได้เพื่อนำมาใช้ในการจัดกิจกรรมนั้นจากไหน เป็นจำนวนเท่าใด และอย่างไร นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการออมด้วย และเนื่องจากรัฐมีองค์กรในการปกครองหลายระดับ ยังหมายความรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางการคลังระหว่างองค์กรปกครองในแต่ละระดับด้วย ทั้งนี้การคลังสาธารณะที่ดีจะต้องดำเนินการไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
2. อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ รายรับของรัฐบาล สามารถจำแนกเป็น 3 ประเภท
1. รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร ประกอบด้วย ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม ภาษีลักษณะ อนุญาตเช่น ค่าใบอนุญาตอาวุธปืน ค่า ใบอนุญาตการพนัน
2. รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ อันได้แก่ การขายหลักทรัพย์ และ ทรัพย์สิน เช่นการขายสินทรัพย์ที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ ค่าขาย ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ค่าขาย หลักทรัพย์ ค่าขายบริการและค่าเช่า
3. รายรับที่ไม่ใช่รายได้รายรับที่มาจากการกู้เงิน จากธนาคารกลาง ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์
รายจ่าย ของรัฐ มีอยู่ 3 ประเภท
1.รายจ่ายประจำ เงินเดือน+ สวัสดิการต่าง ๆข้าราชการประจ า เช่น ครู ทหาร ตำรวจ พยาบาล >> ข้าราชการการเมือง (นักการเมือง) เช่น ส.ส. ส.ว. ส.อบต. ส.อบจ. นายก อบต. ฯลฯ >> ลูกจ้างของรัฐ พนักงานราชการ
2. จ่ายเพื่อ การลงทุน ใช้ พัฒนา ประเทศ เช่น >> การสร้าง ถนน สะพาน โรงพยาบาล เป็นต้น >> โครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ ตามนโยบายรัฐบาล >> การลงทุน ของรัฐที่เรียกว่า รัฐพาณิชย์ ต่าง ๆ เช่น รัฐวิสาหกิจ เป็นต้น
3. จ่ายในการช าระคืนเงินกู้ เช่น >> ในกรณีที่มีพันธะในการช าระ - หนี้ จากการกู้ ยืม – ซื้อพันธบัตรรัฐบาล (Government Bond) คืนจากประชาชน - คืนเงินคงคลัง
คำถามแบบฝึกหัดช่วงบ่าย
1) อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายงบประมาณ คือนโยบายเกี่ยวกับการใช้จ่ายและรายได้ของรัฐบาล ทั้งทางด้านรายได้และการคาดการณ์การใช้จ่ายเงิน ซึ่งสามารถนำเสนอได้ 3 รูปแบบ คือ
1.งบประมาณสมดุล คืองบประมาณที่รายได้ของรัฐบาลรวมกันแล้วเท่ากับรายจ่ายของรัฐบาลพอดี ดังนั้น รัฐบาลไม่จำเป็นต้องกู้เงินมาใช้จ่ายหรือนำเงินคงคลังออกมาใช้
2.งบประมาณขาดดุล คือรัฐบาลใช้จ่ายเงินในการกระตุ้นเศรษฐกิจมากเกินทำให้เกิดเงินเฟ้อ
3.งบประมาณเกินดุล คืองบประมาณที่เป็นรายได้ ของรัฐรวมกันแล้วไม่เท่ากับรายจ่ายของรัฐ ถ้า รายได้ มากกว่า รายจ่าย เรียกว่า "งบประมาณเกินดุล"
2) อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ หนี้สาธารณะ หมายถึง หนี้ที่เกิดจากการกู้เงินของรัฐบาลเพื่อนำมาใช้จ่ายในนโยบายแบบขาดดุลหรือใช้ในกิจการของรัฐบาล ซึ่งการที่รัฐบาลต้องก่อหนี้สาธารณะมีหลายสาเหตุได้แก่
เพื่อแก้ไขภาวะเงินฝืดและช่วยฟื้นฟูภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำ
เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ
การกู้ยืมหนี้ใหม่เพื่อชำระหนี้เก่า
ทั้งนี้การวัดหนี้สาธารณะมักเทียบเป็นเปอร์เซ็น ของ GDP เนื่องจากจะได้สามารถวัดว่าประเทศที่ก่อหนี้สาธารณะมีความสามารถในการชำระหนี้ได้เพียงใด
ประเภทของหนี้สาธารณะ
ระยะสั้น(Short-Term Loan) หนี้ที่มีระยะเวลาการไถ่ถอนไม่เกิน 1 ปี
หนี้ระยะกลาง(Medium-Term Loan) หนี้ที่มีกำหนดระยะเวลาชำระคนตั้งแต่ 1ถึง 5 ปี
หนี้ระยะยาว(Long-Term Loan) หนี้ที่มีระยะเวลาการไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป
นาย จิตรภานุ ศรีวายะมา 61823451018 รุ่นที่ 41
งานช่วงเช้าวันเสาร์ที่16พฤษภาคม2563
เช้า
1. งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ งบประมาณ คือ การวางแผนการเงินในช่วงเวลาที่กำหนดชัดเจน โดยมากแล้วคือหนึ่งปี งบประมาณอาจรวมถึง ปริมาณแผนการขาย และรายได้, ปริมาณทรัพย์สิน, ค่าใช้จ่าย, สินทรัพย์, หนี้สินและกระแสเงินสด โดยที่บริษัท รัฐบาล ครอบครัว และองค์กรต่าง ๆ จะใช้งบประมาณเพื่อแสดงแผนกลยุทธ์ของกิจกรรมหรือผลให้สามารถวัดได้
การคลังสาธารณะ หมายถึง การจัดเก็บรายได้ การใช้จ่ายและการกู้ยืมของรัฐบาล เพื่อบรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจของสังคม และเป็นเรื่องของการจัดการทางเศรษฐกิจของรัฐบาลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับรายได้และรายจ่าย และหนี้สาธารณะ และเป็นนโยบายการคลังซึ่งเป็นการจัดการทางการคลังของรัฐบาลที่มีผลสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ การคลังสาธารณะมีความสำคัญในการเป็นเครื่องมือของรัฐบาล เป็นองค์ประกอบที่สำคัญยิ่งในการดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจของประเทศได้ เนื่องจากการจัดหารายได้และรายจ่ายของรัฐบาลก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจส่วนรวมด้านต่างๆ รัฐบาลที่จะประสบความสำเร็จในการบริหารประเทศจึงจำเป็นต้องมีความสามารถในการบริหารการคลังนี้ด้วย

2. อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
โครงสร้างรายรับและรายจ่าย
ตอบ รายรับ-รายจ่ายของรัฐ ถูกจัดสรรเพื่อการใช้จ่ายในรอบ 1 ปี คือ งบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณแผ่นดินของไทย แต่ละปีโดยรอบปีงบประมาณแผ่นดินในรอบ 1 ปี จะนับจาก 1 ต.ค.-30 ก.ย. ปีงบประมาณแผ่นดิน .......... ตัวอย่างเช่น งบประมาณแผ่นดิน ปี 2556 (1 ต.ค. 2555-30 ก.ย. 2556)
รายรับของรัฐบาล สามารถจำแนกเป็น 3 ประเภท คือ
1. รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร เช่น ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม ภาษีลักษณะ อนุญาตเช่น ค่าใบอนุญาตอาวุธปืน ค่า ใบอนุญาตการพนัน
ภาษีหมายถึง เงินที่รัฐเรียกเก็บจากบุคคลหรือนิติบุคคล เพื่อไปพัฒนาประเทศและคุณภาพชีวิตของ ประชาชนในประเทศให้เจริญและดีขึ้น ภาษีถือเป็นแหล่งรายได้สำคัญของรัฐ ซึ่งคณะผู้บริหารประเทศ ต้องนำมาจัดสรรและใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ ปรเทศ
2. รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี คือรายได้ที่มีจากการประกอบธุรกรรมอย่างอื่นของรัฐได้แก่
2.1 รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ อันได้แก่ การขายหลักทรัพย์ และ ทรัพย์สิน เช่นการ
ขายสินทรัพย์ที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ ค่าขาย ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ค่าขาย หลักทรัพย์ ค่าขายบริการและค่าเช่า เป็นต้น

2.2 รายได้จากรัฐพาณิชย์ คือผลกำไรขององค์การของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ รายได้จากโรงงาน
ยาสูบ รายได้จากการขายสลากกินแบ่งรัฐบาล (ล็อตเตอรี่) เป็นต้น
2.3 รายได้อื่น เช่น ค่าแสตมป์ ฤชา ค่าปรับ เงินรับคืนและรายได้ เบ็ดเตล็ด
3. รายรับที่ไม่ใช่รายได้ คือ รายรับที่มาจากการกู้เงิน จากธนาคารกลาง ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์ การกู้จากประชาชน โดยการขายพันธบัตรรัฐบาล เป็นต้น การยืมเงินคงคลัง ที่รัฐบาลเก็บสะสมไว้และสามารถยืมมาใช้ในปีที่รายจ่ายสูงเกินกว่ารายได
รายจ่าย ผู้บริหารงบประมาณของรัฐ คือ รัฐบาล
รายจ่ายของรัฐบาล แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลัก ๆ คือ
1. รายจ่ายประจำ เงินเดือน+ สวัสดิการต่าง ๆ ข้าราชการประจำ เช่น ครู ทหาร ตำรวจ พยาบาล ข้าราชการการเมือง (นักการเมือง) เช่น ส.ส. ส.ว. ส.อบต. ส.อบจ. นายก อบต. ฯลฯ ลูกจ้างของรัฐ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย ฯลฯ อื่น ๆ เช่น เป็นค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าบริการต่าง ๆ ของทางราชการ
2. รายจ่ายเพื่อการการลงทุน ใช้ในการพัฒนาประเทศ เช่น การสร้างถนน สะพาน โรงพยาบาล เป็นต้น โครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ ตามนโยบายรัฐบาล การลงทุน ของรัฐที่เรียกว่า รัฐพาณิชย์ ต่าง ๆ เช่น รัฐวิสาหกิจ เป็นต้น
3. จ่ายในการชำระคืนเงินกู้ เช่น ในกรณีที่มีพันธะในการชำระหนี้จากการกู้ยืม , ซื้อพันธบัตรรัฐบาล(Government Bond) คืนจากประชาชน และคืนเงินคงคลัง

นาย จิตรภานุ ศรีวายะมา 61823451018 รุ่นที่ 41

ช่วงบ่ายวันเสาร์ ที่16 พ.ค. 63

1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของรัฐบาลทางด้านใช้จ่ายเงินเข้าไปในระบบเศรษฐกิจ เช่น การเพิ่มหรือลดภาษี และหนี้สินการตัดสินใจของรัฐ เกี่ยวกับเรื่องต่างๆที่จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อระดับอุปสงค์รวม เช่น ระดับราคา สินค้า อัตราดอกเบี้ย ระดับรายได้ประชาชาติ ส่วนนประกอบของผลิตภัณฑ์ประชาชาติ ดุลการชำระเงินและอัตราแลกเปลี่ยนที่มีลักษณะของการพัฒนาเป็นหลัก งบประมาณที่ดีควรจะดำเนินการจัดสรรโดยยึดหลักการพัฒนาเพื่อให้เกิดความก้าวหน้าเป็นหลักตามสถานการณ์และความจำเป็น

2.อธิบายประเภทหนี้สาธารณะ
ตอบ หนี้สาธารณะ(public debt) คือหนี้ที่ถือโดยรัฐบาลกลาง หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรของรัฐ รวมไปถึงรัฐวิสาหกิจตลอดจนการค้ำประกันหนี้สินโดยรัฐบาลซึ่งการเกิดขึ้นของหนี้สาธารณะส่วนใหญ่ของรัฐบาลทั่วโลกมาจากการดำเนินนโยบายของรัฐแบบขาดดุลหรือก็คือรายได้ของรัฐน้อยกว่ารายจ่ายของรัฐจึงมีผลให้รัฐบาลจัดเก็บภาษีอากรได้น้อยในขณะเดียวกันรัฐบาลพยายามเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจโดยการปรับโครงสร้างพื้นฐานทำให้รายจ่ายด้านสาธารณูปโภคเพิ่มขึ้นขึ้นอย่างรวดเร็วรัฐบาลจึงจำเป็นต้องก่อหนี้สาธารณะ
แบบฝึกหัด วันที่ 17 พฤษภาคม 2563 นาย พัฒนพงษ์ จันทาพูน รหัส 61423451064 รุ่น 41
1.จงกล่าวถึง
- พฤติกรรมการบริหาร
- บทบาททางการบริหาร
- ความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ พฤติกรรมทางการบริหาร กิจกรรมหรือการกระทำที่เกิดจากผู้บริหารทั้งที่เกิดอยู่ภายใน และแสดงออกต่อผู้ร่วมงาน เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ และอาจหมายถึงการกระทำที่ผู้บริหาร แสดงออกทั้งทางกายภาพและทางอารมณ์ต่อผู้ร่วมงานเพื่อให้การดำเนินเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

บทบาททางการบริหาร
1. บทบาทด้านมนุษยสัมพันธ์
- เป็นประธาน หัวโขน : ตัวแทนขององค์การ
- ผู้นำ : รับผิดชอบในการจูงใจและชี้นำผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทำงานอย่างเต็มความสามารถ
- ผู้ประสานงาน เชื่อมสัมพันธไมตรี : สร้างและรักษาความสัมพันธ์กับองค์การภายนอก สร้างเครือข่าย ผูกมิตรกับบุคคลหรือกลุ่มต่างๆที่มีความสำคัญต่อองค์การ
2. บทบาททางด้านข้อมูลข่าวสาร
- ผู้แสวงหาข้อมูล ข่าวสารที่ทันสมัย เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาองค์การ
- ผู้กระจายข้อมูล เผยแพร่ข่าวสารที่ได้มา ทั้งจากภายนอกและภายในให้แก่พนักงานในองค์การ
- ผู้แถลงข่าว ประชาสัมพันธ์ ในเรื่องที่เกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน การปฏิบัติงาน และผลการดำเนินงานขององค์การไปสู่ภายนอก
3. บทบาทในการตัดสินใจ
- ผู้ประกอบการ : ศึกษาสภาพแวดล้อมและโอกาสทางธุรกิจ มีความตั้งใจทำงาน มุ่งมั่นให้งานประสบความสำเร็จ
- ผู้ขจัดความขัดแย้ง : รับผิดชอบในการแก้ไขปัญหาต่างๆที่องค์การเผชิญอยู่
- ผู้จัดสรรทรัพยากร : รับผิดชอบในการจัดสรรทรัพยากรทุกชนิด ทั้งด้านบุคคล วัตถุ และการเงิน ซึ่งมีผลต่อการตัดสินใจขององค์การ
- ผู้เจรจาต่อรอง : เป็นตัวแทนในการเจรจาต่อรองเรื่องสำคัญ เพื่อรักษาผลประโยชน์ที่องค์การควรได้รับ

ความรับผิดชอบทางการบริหาร
หลักการรับผิดชอบ (Accountability) ซึ่งประกอบด้วยบุคคล 2 ฝ่าย ผู้รับมอบอำนาจ ย่อมต้องยอมรับผลพวงที่จะตามมาทั้งเชิงบวกและเชิงลบ พอเกิดความผิดพลาดโยนกันไปโยนกันมาไม่ได้ ถ้าหากเป็นการบริหารราชการแผ่นดินนั้น เรามองได้จากประชาชนและรัฐบาลต้องมีศักยภาพรับผิดชอบต่อพลเมืองทุกคนในสังคมอย่างเท่าเทียมกัน และต้องมีคุณธรรม/จริยธรรม (Morality/Ethics) หมายถึง การปฏิบัติราชการต้องมีจิตสำนึกความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปอย่างมีศีลธรรม คุณธรรมและตรงตามความคาดหวังของสังคม รวมทั้งยึดมั่นในค่านิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรมสำหรับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือนและจรรยาบรรณวิชาชีพ ตลอดจน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของระบบราชการไทย
แบบฝึกหัด เช้า-บ่าย วันที่ 16 พฤษภาคม 2563 นาย พัฒนพงษ์ จันทาพูน 61423451064 รุ่น 41
ช่วงเช้า
1.งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ การคลังสาธารณะ หมายถึง บทบาทของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการหารายได้ การใช้จ่าย และการก่อหนี้เพื่อบรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจของรัฐบาล
งบประมาณ เป็นแผนการเงินของรัฐบาลแสดงถึงประมาณการรายจ่าย ประมาณการรายได้และแผนการกู้เงินมาใช้จ่าย งบประมาณแสดงให้เห็นถึงการแบ่งสรรทรัพยากรของประเทศ
การคลังสาธารณะมีความสาคัญ คือ เป็นเครื่องมือของรัฐบาล เป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ยิ่งในการดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจของประเทศได้ เนื่องจากการ จัดหารายได้และรายจ่ายของรัฐบาลก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจส่วนรวมด้านต่าง ๆ

2.อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ กลุ่มหน่วยงานของรัฐแบ่งออกเป็น 2 ระดับ ได้แก่ รัฐบาลกลาง และรัฐบาลท้องถิ่นในประเทศไทย รัฐบาลท้องถิ่นเรียกว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รายรับของรัฐบาล รายได้ของรัฐบาลรวมกับเงินกู้ ในการบริหารประเทศในแต่ละปี รัฐบาลจะต้องใช้จ่ายเงินเป็นจำนวนมากเพื่อดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้บรรลุเป้าหมายตามแผนงานที่ตั้งไว้ ดังนั้นรัฐบาลจึงจำเป็นต้องแสวงหา รายได้เพื่อนำไปสนับสนุนรายจ่ายสามารถจำแนกเป็น 3 ประเภท
1.รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร เช่น ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม
2.รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี คือ รายได้ที่มีจากการประกอบธุรกรรมอย่างอื่นของรัฐ เช่น รายได้จากการขายสิ่งของ รายได้จากรัฐพาณิชย์ และรายได้อื่น
3.รายรับที่ไม่ใช่รายได้ คือ รายรับที่มาจากการกู้เงิน จากธนาคารกลาง ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์
รายจ่ายของรัฐบาล คือการใช้จ่ายของรัฐบาล เป็นการใช้จ่ายในสิ่งที่รัฐบาลต้องทำเพื่อประโยชน์ของคนทั้งประเทศ เช่น ป้องกันและรักษาความสงบของประเทศ ให้บริการที่จำเป็นแก่สังคม ส่งเสริมและควบคุมการผลิตการจำหน่าย ดำเนินการกระจายรายได้ของบุคคล เป็นแบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลักๆ คือ
1.รายจ่ายประจำ เงินเดือน + สวัสดิการต่างๆ ข้าราชการประจำ ข้าราชการการเมือง (นักการเมือง) ลูกจ้างของรัฐพนักงานราชการพนักงานมหาวิทยาลัยฯ อื่นๆ
2.รายจ่ายเพื่อการลงทุน ใช้พัฒนาประเทศ การสร้างถนน สะพาน โรงพยาบาล โครงการต่างๆของภาครัฐ
3.ชำระหนี้ จ่ายในการชำระคืนเงินกู้ เช่น ในกรณีที่มีีพันธะในการชำระ

ช่วงบ่าย
1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายงบประมาณ (budget policy)การจัดการใส่สวนของรายได้ (ภาษี) และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในประเทศหรือรัฐ นโยบายงบประมาณ ยังรวมถึงนโยบายภาษี ในแต่ละปีสำหรับงบประมาณตามรายได้และการคาดการณ์ค่าใช้จ่าย ซึ่งสามารถนำเสนอในสามรูป ดังนี้
- นโยบายงบประมาณแบบสมดุล (balanced budget policy) การที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายเท่ากับรายได้พอดี งบประมาณสมดุลจะมีข้อขำกัด ในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ เกิดภาวะเงินฝืด อัตราการว่างงานสูง
- นโยบายงบประมาณแบบเกินดุล (surplusbudget policy) การที่รัฐบาลใช้จ่ายน้อยกว่ารายได้ที่จัดเก็บได้ ทำให้มีเงินเหลือเข้าเป็นเงินคงคลังเพิ่มขึ้น
- นโยบายงบประมาณแบบขาดดุล (deficit budget policy) การที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายมากกว่ารายได้ และจำเป็นต้องนำรายรับจากเงินกู้หรือเงินคงคลังมาชดเชยการขาดดุล ปัจจุบันนักเศรษฐศาสตร์มีแนวคิดว่า การที่รายจ่ายสูงกกว่ารายได้

2.อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ ในประเทศกำลังพัฒนามีแนวโน้มที่งบประมาณของรัฐบาลจะขาดดุล เนื่องจากระดับรายได้ของประชาชนต่ำ มีการหลีกเลี่ยงภาษีอากร จึงมีผลให้รัฐบาลจัดเก็บภาษีอากรได้น้อย ในขณะเดียวกันรัฐบาลพยายามเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการปรับโครงสร้างพื้นฐาน ทำให้รายจ่ายด้านสาธารณูปโภคเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว รัฐบาลจึงจำเป็นต้องก่อหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะอาจจำแนกตามแหล่งเงินกู้ได้ดังนี้
1. หนี้ภายในประเทศ หมายถึง หนี้สาธารณะที่เกิดขึ้นจากการที่รัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายในประเทศ เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์ สถาบันทางการเงินประเภทต่าง ๆ และประชาชนทั่วไป วิธีการก่อหนี้สาธารณะภายในประเทศนั้น รัฐบาลจะจำหน่ายพันธบัตรซึ่งเป็นเงินกู้ระยะยาว หรือจำหน่ายตั๋วคลังซึ่งเป็นการกู้ระยะสั้น
2. หนี้ต่างประเทศ หมายถึง หนี้สาธารณะที่เกิดจากรัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายนอกประเทศ เพื่อนำมาสนับสนุนการลงทุนในโครงการต่าง ๆ ของรัฐบาล หรือค้ำประกันเงินก็ของรัฐวิสาหกิจ แหล่งเงินกู้ต่างประเทศที่สำคัญ
การก่อหนี้สาธารณะอาจเกิดผลดีในด้าน การนำเงินไปใช้เพื่อเพิ่มผลผลิต จะทำให้อัตราการพัฒนาเศรษฐกิจรวดเร็วยิ่งขึ้น แต่ในขณะเดียวกันจะมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ
นายสุทธิพงษ์ ศิลารักษ์ รหัสนักศึกษา 62423471020
การบ้านวันอาทิตย์ที่ 17 พ.ค. 2563
ข้อที่ 1. จงกล่าวถึงพฤติกรรมการบริหาร
ตอบ. การจะกล่าวถึงพฤติกรรมการบริหารนั้นมีความหมายทั้งเป็นการกระทำ หรือเป็นการแสดงออกท่าทีของผู้บังคับบัญชาปฏิบัติต่อผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งสามารถสังเกตได้จากการบริหารงานด้านต่างๆตามลักษณะองค์ประกอบของพฤติกรรมการบริหาร 8 ด้าน ดังนี้
1. ด้านการเป็นผู้นำ หมายถึง การที่ผู้บังคับบัญชาสามารถอธิบายการปฏิบัติงาน ได้ทุกขั้นตอน มีการเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นในการปฏิบัติงาน รวมทั้งมีความสามารถในการวางแผนการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ด้านการจูงใจ หมายถึง ผู้บังคับบัญชาสามารถทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีขวัญ และกำลังใจในการทำงานโดยมีการเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการทำงาน และมีการสนับสนุนให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน
3. ด้านการติดต่อสื่อสาร หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร ข้อมูลต่างๆให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบอย่างทั่วถึง และมีการเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเข้าพบเพื่อ ปรึกษาหารือในเรื่องการปฏิบัติงาน
4. ด้านการปฏิสัมพันธ์และการมีอิทธิพลต่อกัน หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีทั้งต่อผู้ใต้บังคับบัญชาและบุคคลภายนอกมีความเอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ช่วยเหลือ ผู้ใต้บังคับบัญชาทั้งเรื่องงานและเรื่องส่วนตัว
5. ด้านการตัดสินใจ หมายถึง ผู้บังคับบัญชาสามารถนำความรู้ประสบการณ์มาใช้ในการตัดสินใจและสามารถแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดีรวมทั้งยังเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้ตัดสินใจในงานที่ตนเองรับผิดชอบได้อย่างอิสระ
6. ด้านการกำหนดเป้าหมาย หมายถึง ผู้บังคับบัญชา สามารถกำหนดเป้าหมายและทิศทางในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม และมีการเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้มีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมายการปฏิบัติงาน
7. ด้านการควบคุมการปฏิบัติงาน หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีการควบคุมการปฏิบัติงานด้วยหลักเกณฑ์ที่เป็นมาตรฐานและมีความยุติธรรม เพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ
8. ด้านกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและการฝึกอบรม หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีการกำหนดมาตรฐานในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม และมีการส่งเสริมให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเข้ารับการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะ ความรู้ และประสบการณ์ในการปฎิบัติงาน




ข้อที่ 2. จงกล่าวถึงบทบาททางการบริหาร
ตอบ .1. บทบาทด้านมนุษยสัมพันธ์
- ประธาน : ตัวแทนขององค์การ
- ผู้นำ : รับผิดชอบในการจูงใจและชี้นำผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทำงานอย่างเต็มความสามารถ
- ผู้ประสานงาน เชื่อมสัมพันธไมตรี : สร้างและรักษาความสัมพันธ์กับองค์การภายนอก สร้างเครือข่าย ผูกมิตรกับบุคคลหรือกลุ่มต่างๆที่มีความสำคัญต่อองค์การ
2. บทบาททางด้านข้อมูลข่าวสาร
- ผู้แสวงหาข้อมูล ข่าวสารที่ทันสมัย เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาองค์การ
- ผู้กระจายข้อมูล เผยแพร่ข่าวสารที่ได้มา ทั้งจากภายนอกและภายในให้แก่พนักงานในองค์การ
- ผู้แถลงข่าว ประชาสัมพันธ์ ในเรื่องที่เกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน การปฏิบัติงาน และผลการดำเนินงานขององค์การไปสู่ภายนอก
3. บทบาทในการตัดสินใจ
- ผู้ประกอบการ : ศึกษาสภาพแวดล้อมและโอกาสทางธุรกิจ มีความตั้งใจทำงาน มุ่งมั่นให้งานประสบความสำเร็จ
- ผู้ขจัดความขัดแย้ง : รับผิดชอบในการแก้ไขปัญหาต่างๆที่องค์การเผชิญอยู่
- ผู้จัดสรรทรัพยากร : รับผิดชอบในการจัดสรรทรัพยากรทุกชนิด ทั้งด้านบุคคล วัตถุ และการเงิน ซึ่งมีผลต่อการตัดสินใจขององค์การ
- ผู้เจรจาต่อรอง : เป็นตัวแทนในการเจรจาต่อรองเรื่องสำคัญ เพื่อรักษาผลประโยชน์ที่องค์การควรได้รับ

-ความรับผิดชอบทางการบริหาร ?
ตอบ. 1. วางแผนงานให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
2. กำหนดกลยุทธ์ในการบริหารโครงการทั้งหมด รายละเอียดในการปฏิบัติงานตลอดทั้งโครงการ
3. ระบุและเลือกสรรทรัพยากรที่จำเป็นให้แต่ละส่วนของโครงการ เพื่อให้โครงการสามารถดำเนินงานได้
4. ควบคุมการดำเนินโครงการให้เป็นไปตามเวลาและค่าใช้จ่ายที่กำหนดไว้
5. ประสานงานกับโครงการอื่นๆเพื่อให้การดำเนินโครงการทั้งหมดของหน่วยงานเป็นไปโดยราบรื่นและบรรลุ ถึงเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
6. ติดตามและประเมินผลความก้าวหน้าของโครงการและรายงานผลการดำเนินงานให้หน่วยงานต่างๆทั้งภายนอก และภายในองค์การได้ทราบถึงความก้าวหน้าและอุปสรรคในการดำเนินโครงการ
7. นำการวิเคราะห์เวลา ค่าใช้จ่าย ผลประโยชน์ของการดำเนินโครงการและเทคนิควิธีการมาใช้ในการดำเนินงานโครงการ
8. สร้างทักษะและความเป็นผู้นำให้กับผู้บริหารโครงการทุกระดับทั้งนั้นพอให้โครงการทุกส่วนดำเนินไปด้วยดีภายใต้ความรับผิดชอบของผู้นำแต่ละระดับ

นางสาวกนกวรรณ ชัยพิมูล รหัสนักศึกษา 61423451087
แบบฝึกหัดเช้าวันที่ 16 พฤษภาคม 2563
ช่วงเช้า
1.งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ. งบประมาณ หมายถึง การวางแผนการเงินในช่วงเวลาที่กำหนดชัดเจน โดยมากแล้วคือหนึ่งปี งบประมาณอาจรวมถึง ปริมาณแผนการขาย และรายได้ ปริมาณทรัพย์สิน ค่าใช้จ่ายสินทรัพย์ หนี้สินและกระแสเงินสด โดยที่บริษัท รัฐบาล ครอบครัว และองค์กรต่าง ๆ จะใช้งบประมาณเพื่อแสดงแผนกลยุทธ์ของกิจกรรมหรือผลให้สามารถวัดได้
การคลังสาธารณะ หมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายรับและร่ายจ่ายและการก่อหนี้ของรัฐบาลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ มีผลกระทบจากกิจกรรมการดำเนินการต่างๆ ทางการคลังของรัฐบาลที่มีต่อสังคมและประเทศชาติโดยรวม โดยมีขอบเขตเกี่ยวข้องกับงบประมาณแผ่นดิน การคลังด้านรายรับ การคลังด้านรายจ่าย และหนี้สาธารณะ

2.อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ. รายรับ-รายจ่ายของรัฐ ถูกจัดสรรเพื่อการใช้จ่ายในรอบ 1 ปี คือ งบประมาณแผ่นดิน
รายรับของรัฐ สามารถจำแนกเป็น 3 ประเภท
1.รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร ประกอบด้วย ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม ภาษีลักษณะอนุญาต เช่น ค่าใบอนุญาตอาวุธปืน ค่าใบอนุญาตการพนัน
ภาษี หมายึง เงินที่รัฐเรียกเก็บจากบุคคลหรือนิติบุคคล เพื่อนำไปพัฒนาประเทศและคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศให้เจริญ และดีขึ้น ภาษีถือเป็นแหล่งรายได้สำคัญของรัฐ ซึ่งคณะผู้บริหารประเทศต้องนำมาจัดสรรและใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศชาติและปะชาชน
2.รายรับที่ไม่ได้มาจากการจัดเก็บภาษี คือ รายรับที่มีจากการประกอบธุรรรมอย่างอื่นของรัฐ ได้แก่
2.1 รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ ได้แก่ การขายหลักทรัพย์ และ ทรัพย์สิน เช่น การขายสินทรัพย์ที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ ค่าขายผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ค่าขายหลักทรัพย์ ค่าขายบริการและค่าเช่า เป็นต้น
2.2 รายได้จากรัฐพาณิช์ คือ ผลกำไรขององค์การของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ รายได้จากโรงงานยาสูบ รายได้จากการขายสลากกินแบ่งรัฐบาล (ล็อตเตอรี่)
2.3 รายได้อื่น เช่น ค่าแสตมป์ ฤชา ค่าปรับ เงินรับคืนและรายได้เบ็ดเตล็ด
3.รายรับที่ไม่ใช่รายได้ คือ รายรับที่มาจากการกู้ยืม จากธนาคารกลาง ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์ การกู้จากประชาชน โดยการขายพันธบัตรรัฐบาล การยืมเงินคงคลัง ที่รัฐบาลเก็บสะสมไว้และสามารถยืมมาใช้ในปีที่รายจ่ายสูงเกินกว่ารายได้
รายจ่ายของรัฐ แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลักๆ คือ
1.รายจ่ายแระจำ เงินเดือน+สวัสดิการต่างๆ ได้แก่ ข้าราชการประจำ เช่น ครู ทหาร ตำรวจ พยาบาล ข้าราชการการเมือง(นักการเมือง) เช่น ส.ส ส.ว ส.อบจ. นายก อบต. ลูกจ้างของรัฐ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย อื่นๆ เช่น ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าบริการต่างๆ ของทางราชการ
2.จ่ายเพื่อการลงทุน ใช้พัฒนาประเทศ เช่น การสร้างถนน สะพาน โรงพยาบาล โครงสร้างต่างๆของภาครัฐตามนโยบายรัฐบาล การลงทุน ของรัฐที่เรียกว่า รัฐพาณิชย์ต่างๆ เช่น รัฐวิสาหกิจ เป็นต้น
3.จ่ายในการชำระคืนเงินกู้ เช่น ในกรณีที่มีพันธะในการชำระหนี้จากการกู้ยืม ซื้อพันธบัตรรัฐบาล คืนจากประชาชน และเงินคงคลัง เป็นต้น
นางสาวกนกวรรณ ชัยพิมูล รหัสนักศึกษา 61423451087
แบบฝึกหัดช่วงบ่าย วันที่ 16 พฤษภาคม 2563

ช่วงบ่าย
1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ.นโยบายงบประมาณ คือ การจัดการในส่วนของรายได้(ภาษี)และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในประเทศหรือรัฐ และรวมถึงนโยบายภาษีในแต่ล่ะปีที่ผู้มีอำนาจลงคะแนนเสียงสำหรับงบประมาณตามรายได้และการคาดการณ์ค่าใช้จ่ายซึ่งมาสารถนำเสนอใน 3 รูปแบบ ดังนี้
1.งบประมาณสมดุล คือ ผลการประเมินของนโยบายงบประมาณที่ดำเนินการระหว่างปีขึ้นอยู่กับสภาพทางเศรษฐกิจ
2.งบประมาณขาดดุล คือ งบประมาณในช่วงภาวะถดถอยนี้ที่รัฐบาลหาทางที่จะกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจจากการใช้จ่ายของประชาชนเพื่อฟื้นฟูการเติบโตของเศรษฐกิจ
3.งบประมาณเกินดุล คือ งบประมาณในช่วงระยะเวลาการเติบโตวินัยทางงบประมาณในทางทฤษฎีที่จะทำเพื่อลดการขาดดุล อันนี้จริงแล้วในช่วงเวลาแบบนี้จะมีรายรับเพิ่มขึ้นและรายจ่ายลดลงเพราะเศณษฐกิจอยู่ในการหมุนเวียนที่ถูกต้อง

2.อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ. หนี้สาธารณะ หมายถึง การกู้ยืมเงินของรัฐบาลเมื่อรัฐบาลมีรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย และกําลังพัฒนาต่างก็มีหนี้สาธารณะอยู่เป็นจํานวนไม่น้อย หนี้สาธารณะนี้เราจะมองได้ทั้ง 2 ด้าน คือ เมื่อรัฐบาลยืมเงินเข้ามาก็จัดเป็นรายรับของรัฐบาลทางหนึ่ง และเมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระรัฐบาลก็ต้องตั้งเป็นงบประมาณรายจ่ายเพื่อชําระหนี้การก่อหนี้สาธารณะของรัฐบาลจึงมีผลต่อเศรษฐกิจส่วนรวมของประเทศ
ประเภทของหนี้สาธารณะ มีดังนี้
1. แบ่งตามระยะเวลาของเงินกู้
1.1 นี้ระยะสั้น มีกำหนดเวลาใช้คืน 3 เดือน 6 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี ส่วนใหญ่จะเป็นการกู้ที่รัฐบาลมีความจำเป็นต้องใช้เงินในระยะสั้นๆ
1.2 นี้ระยะปานกลาง คือ หนี้ที่มีกำหนดเวลาใช้คืนตั้งแต่ 1-5 ปี
1.3 หนี้ระยะยาว คือ หนี้ที่มีกำหนดเวลาใช้คืนตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป
2.แบ่งตามแหล่งของเงินกู้
2.1 หนี้ภายในประเทศ รัฐบาลจะกู้เงินจากประชาชนทั่วไป ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารกลาง และสถาบันการเงินอื่นๆ ภายในประเทศ เงินที่กู้ยืมอาจจะเป็นเงินตราของประเทศหรือเงินตราต่างประเทศก็ได้
2.2 หนี้ภายนอกประเทศ รัฐบาลจะกู้เงินจากแหล่งเงินกู้ภายนอกประเทศ ทั้งเอกชน รัฐบาล หรือสถาบันการเงินระหว่างประเทศ เช่น ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย
หรือกู้จากธนาคารโลก หรือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ เป็นต้น
นางสาวกนกวรรณ ชัยพิมูล รหัสนักศึกษา 61423451087
แบบฝึกหัด วันที่ 17 พฤษภาคม 2563

1.จงกล่าวถึงพฤติกรรมการบริหาร
ตอบ. พฤติกรรมการบริหาร หมายถึง การกระทำหรือการแสดงออกรวมถึงท่าทีที่ผู้บังคับบัญชาปฎิบัติต่อผู้ใต้บังคับบัญชาซึ่งสามารถสังเกตได้จากการบริหารงานด้านต่างๆ ตามลักษณะองค์ประกอบของพฤติกรรมการบริหาร 8 ด้าน ดังนี้
1.ด้านการเป็นผู้นำ หมายถึง ผู้บังคับบัญชาสามารถอธิบายขั้นตอนการทำงานได้ทุกขั้นตอนและเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นในการทำงาน
2.ด้านการจูงใจ หมายถึง ทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีขวัญกำลังใจในการทำงานและมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และสนับสนุนให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน
3.ด้านการติดต่อสื่อสาร หมายถึง มีการประชาสัมพันธ์ข่าวสารข้อมูลต่างๆ ในหน่วยงานอย่างทั่วถึง
4.ด้านการปฎิสัมพันธ์และการมีอิทธิพลต่อกัน หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้ใต้บังคับบัญชาและบุคคลภายนอก
5.ด้านการตัดสินใจ หมายถึง สามารถนำความรู้ประสบการณ์มาใช้ในการตัดสินใจและแก้ไขปัญหาในการปฎิบัติงานได้เป็นอย่างดี
6.ด้านการกำหนดเป้าหมาย หมายถึง ผู้บังคับบัญชาสามารถกำหนดเป้าหมายและทิศทางในการปฎิบัติงานได้อย่างเหมาะสม
7.ด้านการควบคุมและปฎิบัติการ หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีการควบคุมการปฎิบัติงานด้วยหลักเกณฑ์ที่เป็นมาตรฐานและมีความยุติธรรม เพื่อให้มีประสิทธิภาพ
8.ด้านกำหนดมาตรฐานการปฎิบัติงานและการฝึกอบรม หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีการกำหนดมาตรฐานในการปฎิบัติงานได้อย่างเหมาะสมส่งเสริมให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเข้ารับการฝึดอบรมเพื่อพัฒนาทักษะ ความรู้ และประสบการณ์ในการทำงาน

2.จงกล่าวถึงบทบาทการบริหาร
ตอบ.1. ด้านผู้ประชาสัมพันธ์ มีบทบาทดังนี้
-เป็นผู้แถลงข่าว โดยประกาศประชาสัมพันธ์ หรือให้เนื้อหาเกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน และผลการดำเนินงานไปยังองค์การอื่นๆ
-เป็นผู้เผยแพร่ข้อมูล โดยให้ข้อมูล ข้อเท็จจริงต่างๆ ให้กับพนักงานและหน่วยงานต่างๆในองค์การ
-เป็นผู้รับข้อมูล ติดตาม เก็บข้อมูลทั้งภายในและภายนอกองค์การ
2. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
-เป็นผู้นำ ให้การส่งเสริม พัฒนา หรือจูงใจให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา
-เป็นหัวโขน ทำหน้าที่เป็นตัวแทนหน่วยงาน เช่น เป็นประธานเปิดงาน ปิดงาน ร่วมงานต่างๆ เป็นต้น
-เป็นผู้ประสานงาน ทั้งภายในและภายนอก
3. ด้านการตัดสินใจ
-ผู้จัดทรัพยากร ให้แก่งานต่างๆภายในองค์การอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
-ผู้เจรจาต่อรอง กับพนกงาน หรือกับองคฺการอื่นๆ
-ผู้ประกอบการ เริ่มงาน หรือแสวงหาโอกาสใหม่ๆ


3.จงกล่าวถึงความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ.ความรับผิดชอบทางการบริหาร (Administrative Responsibility) ประกอบด้วย
คุณธรรม/จริยธรรม (Morality/Ethics) หมายถึง ในการปฏิบัติราชการต้องมีจิตสำนึกความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปอย่างมีศีลธรรม คุณธรรม และตรงตามความคาดหวังของสังคม รวมทั้งยึดมั่นในค่านิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรมสำหรับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน และจรรยาบรรณวิชาชีพตลอดจนคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของระบบราชการไทย 8 ประการ ได้แก่
I — Integrity ซื่อสัตย์และกล้ายืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง
A — Activeness ทำงานเชิงรุก คิดเชิงบวกและมีจิตบริการ
M — Morality มีศีลธรรม คุณธรรมและจริยธรรม
R — Responsiveness คำนึงถึงประโยชน์สุขของประชาชนเป็นที่ตั้ง
E — Efficiency มุ่งเน้นประสิทธิภาพ
A — Accountability ตรวจสอบได้
D — Democracy ยึดมั่นในหลักประชาธิปไตย
Y — Yield มุ่งผลสัมฤทธิ์


นางสาวกิตนิชา ปรีชาชาญ 61423451132 รุ่น 41 งานวันที่ 16/5/63 เช้า
1.งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ตอบ งบประมาณแผ่นดิน หมายถึง แผนการใช้จ่ายเงินของรัฐบาล ซึ่งแสดงวัตถุประสงค์ แหล่งที่มาของรายรับรายจ่ายของรัฐบาลในระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติถือเอาระยะเวลา 1 ปี คือ เริ่มจาก 1 ตุลาคม ไปสิ้นสุดที่ 30 กันยายนของปีถัดไป
การคลังสาธารณะ หมายถึง การจัดเก็บรายได้ การใช้จ่ายและการกู้ยืมของรัฐบาล เพื่อบรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจของสังคม
1. บทบาทของรัฐในระบบเศรษฐกิจ จะเป็นการผลิตสินค้าและบริการที่เอกชนไม่อยากทำหรือทำไม่ได้ แต่ต้องมีในระบบเศรษฐกิจ การจัดสรรทรัพยากรระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ทำให้เกิดการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม ทำให้เกิดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
2. รายได้ส่วนใหญ่ของรัฐบาล ได้มาจากการเก็บภาษีอากร
3. ระบบการจัดเก็บภาษีที่ดีต้องมี 4 หลักการ คือ หลักความยุติธรรม หลักความแน่นอน หลักความเสมอภาค และหลักความประหยัด
4. เหตุผลที่รัฐบาลต้องเรียกเก็บภาษีจากประชาชน คือ เพื่อเป็นรายได้ เพื่อควบคุมการบริโภค เพื่อส่งเสริมการลงทุน เพื่อทำให้เกิดการกระจายรายได้ และเพื่อใช้ในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
5. ประเภทของภาษีที่แบ่งจากหลักการผลักภาระภาษี จะแบ่งได้ 2 ประเภท คือ ภาษีทางตรง และภาษีทางอ้อม
6. ประเภทของภาษีที่แบ่งตามฐานของภาษี แบ่งได้ 3 ประเภท คือ ภาษีที่เก็บจากเงินได้ ภาษีที่เก็บจากทรัพย์สิน และภาษีที่เก็บจากการบริโภค
7. อัตราภาษีแบ่งได้ 3 แบบ คือ อัตราภาษีก้าวหน้า อัตราภาษีคงที่ และอัตราภาษีถอยหลัง
8. ประเภทของรายจ่ายของรัฐบาลที่แบ่งตามลักษณะเศรษฐกิจ จะแบ่งเป็นรายจ่ายประจำ และรายจ่ายในการลงทุน
9. การเก็บภาษีทางตรงในอัตราก้าวหน้า จะช่วยทำให้เกิดการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม
10. การเก็บภาษีทางอ้อม ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในรายได้มากขึ้น
11. รายจ่ายของรัฐบาลที่เป็นการใช้จ่ายเพื่อการลงทุน จะทำให้เกิดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
12. การใช้จ่ายของรัฐบาล ในภาวะเศรษฐกิจถดถอย ต้องใช้จ่ายเพื่อบรรเทาปัญหาการว่างงาน และใช้จ่ายเพื่อการลงทุน เพื่อเพิ่มอุปสงค์รวมแทนภาคเอกชน และเพิ่มการใช้จ่าย เมื่อเศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว
13. หนี้สาธารณะ เกิดจากรัฐบาลมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นมากกว่ารายได้ที่หาได้ และไม่มีเงินคงคลังเพียงพอที่จะชดเชย
14. ค่าใช้จ่ายที่สูงกว่ารายได้ ทำให้รัฐบาลต้องกู้ยืม เกิดจากค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุนในสาธารณูปโภค เกิดจากการเก็บรายได้ไม่ทันกับรายจ่าย เกิดจากการเก็บรายได้ได้น้อย เกิดจากมีรายจ่ายฉุกเฉิน และเพื่อชำระหนี้เก่าที่ถึงกำหนด
15. งบประมาณแผ่นดิน เป็นแผนในการจัดหารายรับและการใช้จ่ายของรัฐบาล
16. นโยบายการคลัง เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจด้วยการใช้มาตรการทางการคลัง
17. นโยบายการคลังแบบผ่อนคลาย จะแสดงให้เห็นรูปแบบของงบประมาณขาดดุลเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจแก้ปัญหาการว่างงานและแก้ไขภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ
18. นโยบายการคลังแบบเข้มงวด จะแสดงให้เห็นในรูปแบบของงบประมาณเกินดุล ใช้ชะลอการขยายตัวทางเศรษฐกิจและแก้ปัญหาเงินเฟ้อ
2.อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ รายได้หรือรายรับของรัฐบาล รัฐบาลสามารถหารายได้โดยการจัดเก็บภาษีอากรจากผู้ผลิตและประชากรผู้มีรายได้ นอกจากนั้นยังหารายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร ได้แก่ ค่าปรับ ค่าธรรมเนียม และเงินนำส่ง (รายได้) ของรัฐวิสาหกิจต่างๆ ที่รัฐบาลเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นร่วมทุนกับเอกชน เช่น เงินนำส่งจากบริษัทการบินไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิต องค์การสุรา การท่าเรือแห่งประเทศไทย เป็นต้น
นอกเหนือจากการหารายได้แล้ว รัฐบาลอาจมีรายรับจากการกู้ยืมจากภาคเอกชนภายในประเทศ หรือกู้ยืมจากต่างประเทศ เพื่อนำมาใช้จ่ายในการพัฒนาประเทศ
โดยสรุปโครงสร้างรายได้ของรัฐบาลมาจาก 3 ส่วน คือ
- รายได้จากภาษีอากร รายได้จากรัฐวิสาหกิจต่างๆ รวมทั้งรายได้อื่นๆ เช่น รายได้จาก ค่าปรับ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต
- เงินกู้ของรัฐบาลจากภายในและต่างประเทศ
- เงินคงคลัง ซิ่งได้แก่ เงินที่รัฐบาลสะสมไว้จากการที่มีรายรับสูงกว่ารายจ่ายในอดีต เงินคงคลังเป็นเงินสำรองที่จะนำมาใช้ในกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น
รายจ่ายของรัฐบาล
-รายจ่ายประจำ
-รายจ่ายเพื่อการลงทุน
-ชำระหนี้จ่าย
นางสาวกิตนิชา ปรีชาชาญ 61423451132 รุ่น 41 งานวันที่ 16/5/63 บ่าย
1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ งบประมาณแผ่นดิน หมายถึง แผนเกี่ยวกับการใช้จ่ายของรัฐบาลและจัดหารายรับให้เพียงพอกับการใช้จ่ายในรอบระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติมีระยะเวลา 1 ปี ดังนั้น จึงเรียกว่า งบประมาณแผ่นดินประจำปี ซึ่งจะเริ่มต้นในวันที่ 1 ตุลาคมของทุกปีไปจนถึงวันที่ 30 กันยายนของปีถัดไป สำนักงบประมาณแผ่นดินเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบจัดทำงบประมาณแผ่นดินและนำเสนอเพื่อพิจารณา เมื่อได้รับอนุมัติแล้วจึงตราออกมาเป็นพระราชบัญญัติงบประมารรายจ่ายประจำปี เพื่อใช้บังคับต่อไป

การจัดทำงบประมาณแผ่นดินเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อให้รัฐบาลมีการวางแผนที่จะดำเนินการไว้ล่วงหน้า และรายจ่ายของรัฐบาลเป็นส่วนประกอบของอุปกรณ์รวม การวางแผนการใช้จ่ายและการหารายได้จะทำให้สามารถคาดคะเนสภาพเศรษฐกิจในปีต่อไปได้ นอกจากนี้ยังช่วยให้รัฐบาลบริการการคลังได้อย่างมีประสิทธิภาพภายในขอบเขตของงบประมาณที่จัดทำขึ้น

งบประมาณประจำปีที่เสนอต่อรัฐสภานั้น โดยปกติจะประกอบด้วย คำแถลงประกอบงบประมาณแสดงฐานะและนโยบายการคลังและการเงิน สาระสำคัญของงบประมาณและความสัมพันธ์ระหว่างรายรับและงบประมาณรายจ่ายที่ขอตั้ง รายรับรายจ่ายเปรียบเทียบ คำอธิบายเกี่ยวกับประมาณการรายรับ คำชี้แจงเกี่ยวกับงบประมาณรายจ่ายที่ขอตั้ง รายงานการรับจ่ายเงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้มอบให้เพื่อช่วยราชการ ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี เป็นต้น (มาตรา 8)

การเสนองบประมาณ ถ้าประมาณการรายรับประเภทรายได้ตามอำนาจกฎหมายที่มีอยู่แล้วเป็นจำนวนต่ำกว่างบประมาณรายจ่ายที่ขอตั้งให้แถลงวิธีหาเงินส่วนที่ขาดดุลย์ต่อรัฐสภา แต่ถ้าเป็นจำนวนสูงกว่าก็ให้แถลงวีที่จะจัดการแก่ส่วนที่เกินดุลย์นั้นในทางที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง (มาตรา 9) และเมื่อพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมใช้บังคับแล้ว หรือเมื่อมีกรณีที่ต้องใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณที่ล่วงแล้วไปพลางก่อน ถ้ารายจ่ายสูงกว่ารายได้ให้กระทรวงการคลังมีอำนาจกู้เงินได้ตามความจำเป็น แต่ในการกู้เงินในปีหนึ่ง ๆ ต้องไม่เกินร้อยละยี่สิบของจำนวนเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม หรือของจำนวนเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่ล่วงแล้วมา และร้อยละแปดสิบของงบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้สำหรับชำระคืนต้นเงินกู้ (มาตรา 9 ทวิ)
2.อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ 1.แบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้ สามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ
- หนี้ระยะสั้น หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนต้นเงินกู้คืนไม่เกิน 1 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้
- หนี้ระยะกลาง หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 1 ปีถึง 5 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้
- หนี้ระยะยาว หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 5 ปีเป็นต้นไปนับตั้งแต่วันที่กู้
2.แบ่งตามแหล่งที่มาของหนี้ สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทคือ
- หนี้ภายในประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ที่อยู่ในประเทศโดยไม่คำนึงถึงสกุลของเงินตรา
- หนี้จากต่างประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ให้กู้ที่ที่มีถิ่นฐานในต่างประเทศ โดยไม่คำนึงถึงเงินตราเช่นกัน
การเงินระหว่างประเทศ (IMF) ธนาคารโลก (World bank) ประเทศต่างๆและตลาดเงินระหว่างประเทศ
นางสาวกิตนิชา ปรีชาชาญ 61423451132 รุ่น 41 งานวันที่ 17/5/63
จงกล่าวถึง
1.พฤติกรรมการบริหาร
ตอบ การจะกล่าวถึงพฤติกรรมการบริหารนั้นมีความหมายทั้งเป็นการกระทำ หรือเป็นการแสดงออกท่าทีของผู้บังคับบัญชาปฏิบัติต่อผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งสามารถสังเกตได้จากการบริหารงานด้านต่างๆตามลักษณะองค์ประกอบของพฤติกรรมการบริหาร 8 ด้าน ดังนี้
1. ด้านการเป็นผู้นำ หมายถึง การที่ผู้บังคับบัญชาสามารถอธิบายการปฏิบัติงาน ได้ทุกขั้นตอน มีการเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นในการปฏิบัติงาน รวมทั้งมีความสามารถในการวางแผนการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ด้านการจูงใจ หมายถึง ผู้บังคับบัญชาสามารถทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีขวัญ และกำลังใจในการทำงานโดยมีการเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการทำงาน และมีการสนับสนุนให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน
3. ด้านการติดต่อสื่อสาร หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร ข้อมูลต่างๆให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบอย่างทั่วถึง และมีการเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเข้าพบเพื่อ ปรึกษาหารือในเรื่องการปฏิบัติงาน
4. ด้านการปฏิสัมพันธ์และการมีอิทธิพลต่อกัน หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีทั้งต่อผู้ใต้บังคับบัญชาและบุคคลภายนอกมีความเอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ช่วยเหลือ ผู้ใต้บังคับบัญชาทั้งเรื่องงานและเรื่องส่วนตัว
5. ด้านการตัดสินใจ หมายถึง ผู้บังคับบัญชาสามารถนำความรู้ประสบการณ์มาใช้ในการตัดสินใจและสามารถแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดีรวมทั้งยังเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้ตัดสินใจในงานที่ตนเองรับผิดชอบได้อย่างอิสระ
6. ด้านการกำหนดเป้าหมาย หมายถึง ผู้บังคับบัญชา สามารถกำหนดเป้าหมายและทิศทางในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม และมีการเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้มีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมายการปฏิบัติงาน
7. ด้านการควบคุมการปฏิบัติงาน หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีการควบคุมการปฏิบัติงานด้วยหลักเกณฑ์ที่เป็นมาตรฐานและมีความยุติธรรม เพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ
8. ด้านกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและการฝึกอบรม หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีการกำหนดมาตรฐานในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม และมีการส่งเสริมให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเข้ารับการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะ ความรู้ และประสบการณ์ในการปฎิบัติงาน
2.บทบาททางการบริหาร
ตอบ บทบาทด้านมนุษยสัมพันธ์ ตัวแทนขององค์การรับผิดชอบในการจูงใจและชี้นำผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทำงานอย่างเต็มความสามารถและสร้างและรักษาความสัมพันธ์กับองค์การภายนอก สร้างเครือข่าย ผูกมิตรกับบุคคลหรือกลุ่มต่างๆที่มีความสำคัญต่อองค์การ
บทบาททางด้านข้อมูลข่าวสาร ข่าวสารที่ทันสมัย เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาองค์การเผยแพร่ข่าวสารที่ได้มา ทั้งจากภายนอกและภายในให้แก่พนักงานในองค์การประชาสัมพันธ์ ในเรื่องที่เกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน การปฏิบัติงาน และผลการดำเนินงานขององค์การไปสู่ภายนอก
บทบาทในการตัดสินใจ ศึกษาสภาพแวดล้อมและโอกาสทางธุรกิจ มีความตั้งใจทำงาน มุ่งมั่นให้งานประสบความสำเร็จ รับผิดชอบในการแก้ไขปัญหาต่างๆที่องค์การเผชิญอยู่รับผิดชอบในการจัดสรรทรัพยากรทุกชนิด ทั้งด้านบุคคล วัตถุ และการเงิน ซึ่งมีผลต่อการตัดสินใจขององค์การเป็นตัวแทนในการเจรจาต่อรองเรื่องสำคัญ เพื่อรักษาผลประโยชน์ที่องค์การควรได้รับ
3.ความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ ความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่และผลงานต่อเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยความรับผิดชอบนั้น ควรอยู่ในระดับที่สนองต่อความคาดหวังของสาธารณะรวมทั้งการแสดงถึงความสำนึกในการรับผิดชอบต่อปัญหาสาธารณะ
ความรับผิดชอบในการตัดสินใจและการดำเนินการให้แก่บุคลากร โดยมุ่งเน้นการสร้างความพึงพอใจในการให้บริการต่อผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การปรับปรุงกระบวนการ และเพิ่มผลิตภาพ เพื่อผลการดำเนินงานที่ดีของส่วนราชการ
(ส่งการบ้านช่วงบ่าย)วันที่16-17/05/63
นางสาวธัญชนก อุ่นใจ รหัสนักศึกษา 62423471131 รุ่นที่44
แบบฝึกหัดช่วงบ่าย
1.อธิบายนโยบายงบประมาณ
=รัฐบาลจะใช้งบประมาณแผ่นดินเป็นเครื่องมือสำคัญของนโยบายการคลัง งบประมาณแผ่นดินเป็นแผนการเงินของรัฐบาล ประกอบด้วยประมาณการรายได้และรายจ่าย รวมทั้งการจัดหาเงินเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายตามประมาณการรายจ่ายในช่วงระยะเวลา 1 ปี การจัดทำงบประมาณแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะคือ
1.งบประมาณสมดุล คือ งบประมาณที่รายรับและรายจ่ายเท่ากัน ใช้เพื่อนการจัดสรรทรัพยากรและเพื่อการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม
2.งบประมาณเกินดุล คือ งบประมาณที่รายได้มากกว่ารายจ่ายใช้ในช่วงที่เศรษฐกิจรุ่งเรือง รัฐบาลจะลดค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาลลงและเพิ่มภาษี เพื่อช่วยดึงเงินออกจากระบบเศรษฐกิจ
3.งบประมาณขาดดุล คือ งบประมาณที่รายจ่ายมากกว่ารายได้ ใช้ในช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำ รัฐบาลจะเพิ่มค่าใช้จ่ายการซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาลลดลงและลดภาษี เพื่อเพิ่มปริมาณ เงินในระบบเศรษฐกิจ

2.อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
= ในประเทศกำลังพัฒนามีแนวโน้มที่งบประมาณของรัฐบาลจะขาดดุบ เนื่องจากระดับรายได้ของประชาชนต่ำ มีการหลีกเลี่ยงภาษีอากร จึงมีผลให้รัฐบาลจัดเก็บภาษีอากรได้น้อย ในขณะเดียวกันรัฐบาลพยายามเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการปรับโครงสร้างพื้นฐาน ทำให้รายจ่ายด้านสาธารณูปโภคเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว รัฐบาลจึงจำเป็นต้องก่อหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะอาจจำแนกตามแหล่งเงินกู้ได้ดังนี้
1. หนี้ภายในประเทศ
หนี้ภายในประเทศ หมายถึง หนี้สาธารณะที่เกิดขึ้นจากการที่รัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายในประเทศ เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย์ สถาบันทางการเงินประเภทต่าง ๆ และประชาชนทั่วไป วิธีการก่อหนี้สาธารณะภายในประเทศนั้น รัฐบาลจะจำหน่ายพันธบัตรซึ่งเป็นเงินกู้ระยะยาว หรือจำหน่ายตั๋วคลังซึ่งเป็นการกู้ระยะสั้น
2. หนี้ต่างประเทศ
หนี้ต่างประเทศ หมายถึง หนี้สาธารณะที่เกิดจากรัฐบาลกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินกู้ภายนอกประเทศ เพื่อนำมาสนับสนุนการลงทุนในโครงการต่าง ๆ ของรัฐบาล หรือค้ำประกันเงินก็ของรัฐวิสาหกิจ แหล่งเงินกู้ต่างประเทศที่สำคัญ คือ ธนาคารโลก กองทุนความร่วมมือทางเศรษฐกิจโพ้นทะเลแห่งประเทศญี่ปุ่น ธนาคารพัฒนาเอเชีย และตลาดการเงิน เป็นต้น การก่อหนี้สาธารณะอาจเกิดผลดีในด้าน การนำเงินไปใช้เพื่อเพิ่มผลผลิต จะทำให้อัตราการพัฒนาเศรษฐกิจรวดเร็วยิ่งขึ้น แต่ในขณะเดียวกันจะมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ กล่าวคือ ในกรณีหนี้ภายในประเทศ ถ้ารัฐบาลกู้ยืมเงินลงทุนของภาคเอกชน จะเกิดผลกระทบต่ออุปสงค์รวม ทำให้ระดับรายได้ประชาชาติและการว่5079าจ้างทำงานลดลง ส่วนหนี้ต่างประเทศจะส่งผลกระทบต่อเงินที่ไหลออกนอกประเทศ เนื่องจากการชำระหนี้เงินกู้และดอกเบี้ยเงินกู้แก่ต่างประเทศ
รัฐบาลต้องใช้จ่ายรายได้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด และมีประสิทธิภาพสูงสุดในการแจกจ่ายรายได้ ต้องมีการวางแผน และดำเนินการอย่างเป็นระบบ ดังนั้นจึงมีการทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณจากหน่วยงานที่มีความจำเป็นและต้องการรายได้เพื่อนำไปใช้จ่ายตามแผนของรัฐบาลที่วางไว้
งานวันเสาร์ที่ 2 เมษายน ช่วงบ่าย
1.อธิบายแนวความคิดการแยกการบริหารออกจากการเมือง
=ในปีค.ศ. 1887 Woodrow Wilson ได้เสนอและเผยแพร่ผลงานทางรัฐประศาสนศาสตร์ชิ้นแรกที่ชื่อว่า “The Study of Administration” เป็นการเน้นย้ำให้เห็นว่าเรื่องเกี่ยวกับการบริหารงาน Wilson ได้เสนอให้มีการแยกการบริหารออกจากการเมืองและให้มีการปฏิรูประบบการบริหารงานของรัฐอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีการสร้างหลักการบริหารใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงาน เมื่อแยกการบริหารออกจากการเมืองแล้วการบริหารจะมีความเป็นอิสระจากการเมือง มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ไม่ต่างจากการบริหารธุรกิจ ดังนั้นจึงเสนอใหม่การนำเทคนิคทางการบริหารธุรกิจที่ดีมาปรับใช้เพื่อให้การดำเนินงานของรัฐมีความรวดเร็ว คล่องตัวและมีประสิทธิภาพมากขึ้น(Woodrow Wilson, 1941: 481-506)

2.สิทธิทางการเมืองของข้าราชการไทย
=ข้าราชการมีสิทธิและปฏิบัติตามนโยบายของภาครัฐและกฎระเบียบของทางราชการอย่างเคร่งครัด โดยไม่หวั่นไหวต่ออิทธิพลหรือแรงบีบบังคับทางการเมือง แต่ก็ไม่ได้ห้ามข้าราชการแสดงความคิดเห็นหรือแสดงการปฏิเสธการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมือง


PATCHAREE said…
แบบฝึกหัด วันอาทิตย์ที่ 17 พ.ค. 2563
นางสาว พัชรี ปิ่นดอนไพร รหัสนักศึกษา 61823451008 รุ่น 41

1. พฤติกรรมการบริหาร
ตอบ พฤติกรรมการบริหาร คือ การประพฤติปฏิบัติของผู้บริหารที่แสดงออกในฐานะผู้นำ
เพื่อดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้บรรลุเป้าหมาย ผู้นำสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ เงื่อนไข หรือ สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยใช้กระบวนการจัดกิจกรรมการทำงานอย่างเป็นระบบ อย่างเหมาะสมเพื่อให้งานสำเร็จ และผู้ร่วมงานพึงพอใจในการทำงาน จึงจะสามารถทำงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้


2. บทบาททางการบริหาร
ตอบ บทบาททางการบริหาร มีดังนี้
1) ผู้บริหารจะต้องสรรสร้างสภาพแวดล้อมทุกด้าน คือ ด้านกายภาพ สังคม อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา
2) ผู้บริหารจะต้องทำความเข้าใจในบทบาทและภารกิจของแต่ละคนให้ชัดเจนในกระบวนการ รวมทั้งผู้บริหารจะต้องรู้ว่าจะต้องมีส่วนร่วมในกิจกรรมเมื่อไร และอย่างไร
3) ผู้บริหารจะต้องส่งเสริมกิจกรรมที่มุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องทางการเมือง สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ เคารพต่อกฎหมาย ฯลฯ
4) ผู้บริหารต้องปรับกระบวนทัศน์ในการทำงานใหม่ และต้องดำเนินการบริหารให้มีทรัพยากรเพื่อจัดการอย่างเพียงพอ
5) ผู้บริหารจะต้องพัฒนาตนเองให้เป็นผู้บริหารมืออาชีพให้สามารถบริหารจัดการให้เป็นไปตามนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานกลาง
6) ผู้บริหารจะต้องพัฒนามาตรฐานและคุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐาน
7) ผู้บริหารจะต้องมีคุณธรรมและจริยธรรมเป็นแบบอย่างที่ดี
8) ผู้บริหารต้องมีภาวะผู้นำในการบริหารจัดการ มีวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ์


3. ความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ ความรับผิดชอบทางการบริหาร คือ การบริหารต้องมีจิตสำนึกความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปอย่างมีศีลธรรม คุณธรรม และตรงตามความคาดหวังของสังคม รวมทั้งยึดมั่นในค่านิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรม และมีคุณลักษณะดังนี้
1. ทำงานอย่างมีศักดิ์ศรี
2. ขยันตั้งใจทำงาน
3. มีศีลธรรม คุณธรรม โปร่งใส
4. รู้ทันโลก, ปรับตัวทันโลก, ตรงกับสังคม
5. มุ่งเน้นประสิทธิภาพ
6. รับผิดชอบต่อผลงาน และสังคม
7. มีใจ และการกระทำเป็นประชาธิปไตย
8. มีผลงาน มุ่งเน้นผลงาน
นางสาวอภิญญา สืบเหล่างิ้ว
รหัสนักศึกษา 61823451003 รุ่นที่ 41

งานวันอาทิตย์ ที่17 พฤษภาคม พ.ศ.2563
คำถาม
1. จงกล่าวถึงพฤติกรรมการบริหาร
ตอบ พฤติกรรมการบริหาร หมายถึงการกระทำที่ผู้บริหารแสดงออกทั้งทางกายภาพและทางอารมณ์ต่อผู้ร่วมงานเพื่อให้การดำเนินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งต้องการจากองค์ประกอบสำคัญ 8 ประการ ได้แก่ ภาวะผู้นำ การจูงใจ การติดต่ดสื่อสาร การปฏิสัมพันธ์ การตัดสินใจ การกำหนดเป้าหมาย การควบคุมงาน การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและการฝึกอบรม

2. จงกล่าวถึงบทบาททางการบริหาร
ตอบ บทบาททางการบริหาร มี 3 ด้าน ดังนี้
1.ด้านผู้ประชาสัมพันธ์ มีบทบาทดังนี้
     1. เป็นผู้แถลงข่าว โดยประกาศประชาสัมพันธ์ หรือให้เนื้อหาเกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน และผลการดำเนินงานไปยังองค์การอื่นๆ
     2. เป็นผู้เผยแพร่ข้อมูล โดยให้ข้อมูล ข้อเท็จจริงต่างๆ ให้กับพนักงานและหน่วยงานต่างๆในองค์การ
     3. เป็นผู้รับข้อมูล ติดตาม เก็บข้อมูลทั้งภายในและภายนอกองค์การ
2. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
    1. เป็นผู้นำ ให้การส่งเสริม พัฒนา หรือจูงใจให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา
    2. เป็นหัวโขน ทำหน้าที่เป็นตัวแทนหน่วยงาน เช่น เป็นประธานเปิดงาน ปิดงาน ร่วมงานต่างๆ เป็นต้น
    3. ผู้ประสานงาน ทั้งภายในและภายนอก
3. ด้านการตัดสินใจ
    1. ผู้จัดทรัพยากร ให้แก่งานต่างๆภายในองค์การอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
    2. ผู้เจรจาต่อรอง กับพนกงาน หรือกับองคฺการอื่นๆ
    3. ผู้ประกอบการ เริ่มงาน หรือแสวงหาโอกาสใหม่ๆ

3. จงกล่าวถึงความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ ความรับผิดชอบ หมายถึง ภาระหรือพันธะผูกพันในการจะปฏิบัติหน้าที่การงานของผู้ร่วมงานให้เป็นไปตามเป้าหมายขององค์กร  เนื่องจากบุคคลต้องอยู่ร่วมกันทำงานในองค์การ จำเป็นต้องปรับลักษณะนิสัย เจตคติของบุคคลเพื่อช่วยเป็นเครื่องผลักดันให้ปฏิบัติงานตามระเบียบรู้จักเคารพสิทธิของผู้อื่น ปฏิบัติงานในหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบและมีความซื่อสัตย์สุจริต คนที่มีความรับผิดชอบ จะทำให้การปฏิบัติงานไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ และช่วยให้การทำงานร่วมกันเป็นไปด้วยความราบรื่น ความรับผิดชอบจึงเป็นภาระผูกพันที่ผู้นำต้องสร้างขึ้นเพื่อให้องค์การสามารถบรรลุเป้าหมายได้อย่างดี
ถ้าในองค์กรใดมีบุคคลที่มีความรับผิดชอบ จะทำให้เกิดผลดีต่อองค์กรดังนี้คือ
               
1.องค์กรจะได้รับความเชื่อถือและไว้วางใจจากผู้ร่วมงานและผู้อื่น
          
 2.การปฏิบัติงานจะพบความสำเร็จทันเวลาและทันต่อเหตุการณ์ ภายใต้สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
               
3.ทำให้เกิดความเชื่อถือในตนเอง เพราะปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเรียบร้อย
               
4.องค์กรเกิดความมั่นคงเป็นที่ยอมรับนับถือจากผู้อื่น
               
5.องค์กรประสบความสำเร็จสามารถพัฒนาไปสู่ความเป็นปึกแผ่นและมั่นคง
               
6.สามารถปฏิบัติงานได้อย่างราบรื่นทุกคนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
ดังนั้นทักษะชีวิตและการทำงานด้านภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ  ถือว่าเป็นทักษะที่สำคัญอย่างหนึ่งครูควรปลูกฝังให้เด็กยุคใหม่  เพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและเป็นอนาคตของชาติในการพัฒนาประเทศต่อไป
นาย จิตรภานุ ศรีวายะมา รหัสนักศึกษา 61823451018 รุ่นที่ 41
การบ้านวันอาทิตย์ที่ 17 พ.ค. 2563
ข้อที่ 1. จงกล่าวถึงพฤติกรรมการบริหาร
ตอบ. การจะกล่าวถึงพฤติกรรมการบริหารนั้นมีความหมายทั้งเป็นการกระทำ หรือเป็นการแสดงออกท่าทีของผู้บังคับบัญชาปฏิบัติต่อผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งสามารถสังเกตได้จากการบริหารงานด้านต่างๆตามลักษณะองค์ประกอบของพฤติกรรมการบริหาร 8 ด้าน ดังนี้
1. ด้านการเป็นผู้นำ หมายถึง การที่ผู้บังคับบัญชาสามารถอธิบายการปฏิบัติงาน ได้ทุกขั้นตอน มีการเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นในการปฏิบัติงาน รวมทั้งมีความสามารถในการวางแผนการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ด้านการจูงใจ หมายถึง ผู้บังคับบัญชาสามารถทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีขวัญ และกำลังใจในการทำงานโดยมีการเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการทำงาน และมีการสนับสนุนให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน
3. ด้านการติดต่อสื่อสาร หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร ข้อมูลต่างๆให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบอย่างทั่วถึง และมีการเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเข้าพบเพื่อ ปรึกษาหารือในเรื่องการปฏิบัติงาน
4. ด้านการปฏิสัมพันธ์และการมีอิทธิพลต่อกัน หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีทั้งต่อผู้ใต้บังคับบัญชาและบุคคลภายนอกมีความเอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ช่วยเหลือ ผู้ใต้บังคับบัญชาทั้งเรื่องงานและเรื่องส่วนตัว
5. ด้านการตัดสินใจ หมายถึง ผู้บังคับบัญชาสามารถนำความรู้ประสบการณ์มาใช้ในการตัดสินใจและสามารถแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดีรวมทั้งยังเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้ตัดสินใจในงานที่ตนเองรับผิดชอบได้อย่างอิสระ
6. ด้านการกำหนดเป้าหมาย หมายถึง ผู้บังคับบัญชา สามารถกำหนดเป้าหมายและทิศทางในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม และมีการเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้มีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมายการปฏิบัติงาน
7. ด้านการควบคุมการปฏิบัติงาน หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีการควบคุมการปฏิบัติงานด้วยหลักเกณฑ์ที่เป็นมาตรฐานและมีความยุติธรรม เพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ
8. ด้านกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและการฝึกอบรม หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีการกำหนดมาตรฐานในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม และมีการส่งเสริมให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเข้ารับการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะ ความรู้ และประสบการณ์ในการปฎิบัติงาน




ข้อที่ 2. จงกล่าวถึงบทบาททางการบริหาร
ตอบ .1. บทบาทด้านมนุษยสัมพันธ์
- ประธาน : ตัวแทนขององค์การ
- ผู้นำ : รับผิดชอบในการจูงใจและชี้นำผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทำงานอย่างเต็มความสามารถ
- ผู้ประสานงาน เชื่อมสัมพันธไมตรี : สร้างและรักษาความสัมพันธ์กับองค์การภายนอก สร้างเครือข่าย ผูกมิตรกับบุคคลหรือกลุ่มต่างๆที่มีความสำคัญต่อองค์การ
2. บทบาททางด้านข้อมูลข่าวสาร
- ผู้แสวงหาข้อมูล ข่าวสารที่ทันสมัย เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาองค์การ
- ผู้กระจายข้อมูล เผยแพร่ข่าวสารที่ได้มา ทั้งจากภายนอกและภายในให้แก่พนักงานในองค์การ
- ผู้แถลงข่าว ประชาสัมพันธ์ ในเรื่องที่เกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน การปฏิบัติงาน และผลการดำเนินงานขององค์การไปสู่ภายนอก
3. บทบาทในการตัดสินใจ
- ผู้ประกอบการ : ศึกษาสภาพแวดล้อมและโอกาสทางธุรกิจ มีความตั้งใจทำงาน มุ่งมั่นให้งานประสบความสำเร็จ
- ผู้ขจัดความขัดแย้ง : รับผิดชอบในการแก้ไขปัญหาต่างๆที่องค์การเผชิญอยู่
- ผู้จัดสรรทรัพยากร : รับผิดชอบในการจัดสรรทรัพยากรทุกชนิด ทั้งด้านบุคคล วัตถุ และการเงิน ซึ่งมีผลต่อการตัดสินใจขององค์การ
- ผู้เจรจาต่อรอง : เป็นตัวแทนในการเจรจาต่อรองเรื่องสำคัญ เพื่อรักษาผลประโยชน์ที่องค์การควรได้รับ

-ความรับผิดชอบทางการบริหาร ?
ตอบ. 1. วางแผนงานให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
2. กำหนดกลยุทธ์ในการบริหารโครงการทั้งหมด รายละเอียดในการปฏิบัติงานตลอดทั้งโครงการ
3. ระบุและเลือกสรรทรัพยากรที่จำเป็นให้แต่ละส่วนของโครงการ เพื่อให้โครงการสามารถดำเนินงานได้
4. ควบคุมการดำเนินโครงการให้เป็นไปตามเวลาและค่าใช้จ่ายที่กำหนดไว้
5. ประสานงานกับโครงการอื่นๆเพื่อให้การดำเนินโครงการทั้งหมดของหน่วยงานเป็นไปโดยราบรื่นและบรรลุ ถึงเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
6. ติดตามและประเมินผลความก้าวหน้าของโครงการและรายงานผลการดำเนินงานให้หน่วยงานต่างๆทั้งภายนอก และภายในองค์การได้ทราบถึงความก้าวหน้าและอุปสรรคในการดำเนินโครงการ
7. นำการวิเคราะห์เวลา ค่าใช้จ่าย ผลประโยชน์ของการดำเนินโครงการและเทคนิควิธีการมาใช้ในการดำเนินงานโครงการ
8. สร้างทักษะและความเป็นผู้นำให้กับผู้บริหารโครงการทุกระดับทั้งนั้นพอให้โครงการทุกส่วนดำเนินไปด้วยดีภายใต้ความรับผิดชอบของผู้นำแต่ละระดับ
Kapook said…
นางสาวอริศรา แสงรัศมี 62423471099 รุ่น 44 วันอาทิตย์ช่วงบ่าย

พฤติกรรมการบริหาร การดำเนินการและ/หรือการปกครอง(การควบคุม การแนะนำ/การส่งเสริม การบังคับ) การบริหาร หมายถึง การให้คำแนะนำ การเป็นผู้นำและการควบคุมงานของกลุ่มต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน หรือการบริหาร คือ การจัดการกับปัญหาต่าง ๆ ซึ่งหมายถึงการแก้ไขปัญหา การบริหาร คือ กระบวนการของการวางแผน การจัดองค์การ การสั่งการ และการควบคุมกำลังความพยายามของสมาชิกขององค์การ และการใช้ทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อความสำเร็จในเป้าหมายขององค์การกำหนดไว้ดังนั้น การประยุกต์ความหมายดังกล่าวข้างต้นต่อการบริหารตนเอง จึงหมายถึง ศิลปะการดำเนินการโดยการประยุกต์ใช้หลักการบริหารมาใช้ในการวางแผน ควบคุมแผนการบริหารตนเองเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของชีวิตที่ตั้งไว้

บทบาททางการบริหาร กระบวนการบริหารจัดการ เป็นกลไกและตัวประสานที่สำคัญที่สุดในการประมวล ผลักดัน และกำกับให้ปัจจัยต่างๆที่เป็นทรัพยากรการจัดการประเภทต่างๆ สามารถดำเนินไปได้โดยมีประสิทธิภาพ จนบรรลุเป้าหมายตามที่ต้องการ การเข้าใจถึงกระบวนการบริหารจัดการและการฝึกฝนให้มีทักษะสูงขึ้น จะช่วยให้การบริหารงานมีประสิทธิ ภาพมากขึ้นได้ กิจกรรมพื้นฐาน 4 ประการที่ทำให้เกิดกระบวนการบริหารจัดการ มีดังนี้

1. การวางแผน (Planning) หมายถึง กระบวนการในการกำหนดเป้าหมาย แผนงาน และตัดสินใจหาวิธีการที่ดีที่สุดที่ทำให้เป้าหมายนั้นบรรลุผลสำเร็จ

2. การจัดองค์การ (Organizing) หมายถึง กระบวนการในการจัดตั้งและจัดวางทรัพยากรบุคคล และทรัพยากรที่ไม่ใช่บุคคล โดยวางแผนให้สามารถบรรลุผลสำเร็จขององค์การ

3. การนำและสั่งการ (Leading and Directing) หมายถึง กระบวนการของการมีอิทธิพล เหนือบุคคลอื่นในการที่จะให้บุคคลอื่นมีพฤติกรรมในการทำงานที่ต้องการ และทำให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ

4. การควบคุม (Controlling) หมายถึง กระบวนการในการกำหนดกิจกรรมต่างๆ ขององค์การให้เป็นไปตามมาตรฐาน และเป้าหมายที่องค์การคาดหวัง และกำหนดไว้

ความรับผิดขอบทางการบริหาร หลักการที่น่าสนใจอย่างมาก คือ
หลักการรับผิดชอบ (Accountability)
ซึ่งประกอบด้วยบุคคล 2 ฝ่าย
ผู้รับมอบอำนาจ ย่อมต้องยอมรับผลพวงที่จะตามมาทั้งเชิงบวกและเชิงลบ
พอเกิดความผิดพลาดโยนกันไปโยนกันมาไม่ได้
ถ้าหากเป็นการบริหารราชการแผ่นดินนั้น เรามองได้จากประชาชนและรัฐบาลต้องมีศักยภาพรับผิดชอบต่อพลเมืองทุกคนในสังคมอย่างเท่าเทียมกัน

มิติของการรับผิดชอบ
ต้องเป็นไปใน
1.มิติเชิงวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมาย คือจะให้ใครรับผิดชอบเรื่องใดมุ่งเน้น Input และ Process
2. มิติเชิงสถาบัน คือ ใครรับผิดชอบต่อใคร
มิติเชิงสถาบัน คือ ความสัมพันธ์เป็นลักษณะอย่างไรต้องมีในเรื่องที่ทำ และต้องทำอย่างต่อเนื่องด้วย
แบบฝึกหัด วันอาทิตย์ที่ 17 พ.ค. 2563
นางสาวธัญชนก อุ่นใจ รหัสนักศึกษา 62423471131 รุ่น 44

1.พฤติกรรมการบริหาร
=พฤติกรรมการบริหารหมายถึงการกระทำที่ผู้บริหารแสดงออกทั้งทางกายภาพและทางอารมณ์ต่อผู้ร่วมงานเพื่อให้การดำเนินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

2.บทบาทของการบริหาร
=บทบาทหลักที่สำคัญของผู้บริหารคือบทบาทในฐานะเป็นผู้บริหารที่แสดงออกถึงความสัมพันธ์ภายในองค์การและระหว่างองค์การภายนอกบทบาทด้านข้อมูลข่าวสารเพื่อประโยชน์ขององค์การโดยต้องอาศัยความรู้ทางด้านข้อมูลเป็นสำคัญและบทบาทในการตัดสินใจสำหรับบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษานั้นมีบทบาทในฐานะเป็นผู้บริหารสถานศึกษาบทบาทในฐานะเป็นผู้นำทางวิชาการและบทบาทในฐานะเป็นหัวหน้าของกลุ่มซึ่งผู้บริหารต้องใช้ความสามารถในการแสดงบทบาทต่างๆให้เหมาะสมตามสถานการณ์และโอกาส

3.จงกล่าวถึงความรับผิดชอบทางการบริหาร
= ผู้บริหารนำบทบาทการบริหารไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมที่ดีและเป็นตัวอย่างสำหรับผู้ใต้บังคับบัญชา ได้แก่ หลักเบญจศีลห้าเป็นหลักในการใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตเพื่อควบคุมตนเองหลักพรหมวิหารสี่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติสำหรับการเป็นผู้บริหารที่ดีเพื่อใช้ในการปกครองผู้ใต้บังคับบัญชาหลักอิทธิบาทสี่เป็นหลักที่ใช้ประพฤติปฏิบัติของผู้บริหารเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพและหลักสังคหวัตถุสี่เป็นหลักที่ใช้ประพฤติปฏิบัติในการสร้างสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้บริหารและบุคลากรในองค์การ
นาย พงษ์เทพ สมเนตร รหัส 61823451022 รุ่น41 วันที่17 พ.ค.2563
1.พฤติกรรมการบริหาร
ตอบ การกำหนดโครงสร้างทางการบริหารงาน การแบ่งโครงสร้างองค์กรในการดำเนินงาน บทบาทและ อำนาจหน้าที่ ของบุคลากรในระดับต่างๆ การกำหนดขอบเขตการรับผิดชอบต่องานของบุคลากร ขนาดขององค์กร รวมทั้งรูปแบบการบริหารทำให้มองเห็นระดับของการบริหารงานทางการนโยบาย และระดับปฏิบัติการ ที่จะส่งผลดี ผลเสียในการบริหารงานของผู้บริหารด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านการส่งเสริมการศึกษา ด้านวิชาการ ด้านกิจการนักเรียน ด้านวางแผนและพัฒนา ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาการบริหาร และได้ให้ความเห็นว่าเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาคุณภาพ โดยที่ผู้บริหารการศึกษาจะต้องพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการให้มีเอกภาพต้องกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น โดยเน้นสถานศึกษาเป็นหลัก ตลอดจนให้บุคคล ชุมชน มีส่วนร่วมและรับผิดชอบ รวมถึงการพัฒนาระบบการวางแผนและให้มีแผนยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องสัมพันธ์เชื่อมโยงกันทุกระดับ ทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการ
2.บทบาททางการบริหาร
ตอบ การบริหาร คือ การทำให้งานต่างๆลุล่วงไปโดยอาศัยผู้นำ การทำงานให้บรรลุเป้าหมายขององค์กรตามเป้าหมายที่ว่าเอาไว้การบริหารที่ต้องดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอนมีดังนี้
1. มีการวางแผน (Planning)
2. มีการจัดองค์กร (Organization)
3. มีการจัดคนเข้าทำงาน (Staffing)
4. มีการสั่งการ (Directing)
5. มีการควบคุม (Controlling)
3.จงกล่าวถึงความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ การรับผิดชอบ บทบาทความรับผิดชอบ ในระดับองค์กรที่มีความแตกต่าง แต่การรับผิดของผู้บริหาร จะมีประเภทการรับผิดใน 5 ประเด็น ได้แก่
การรับผิดต่อการเสียหายขององค์กรและนโยบาย
การรับผิดต่อความมั่นคงและภาพขององค์กร
การรับผิดต่อผลงานของการเป็นผู้นำและการบริหาร
การรับผิดต่อผลทางบวกและทางลบทางด้านเศรษฐกิจ
การรับผิดต่อความเรียบร้อยอันดีต่อสังคม

Araya Wongsa said…
งานวันเสาร์ที่ 16 พฤษภาคม 63ช่วงเช้า
สตต หญิงอารยา วงษา รหัสนักศึกษา62423471117
1.งบประมาณและการคลังสาธารณะ หมายถึงอะไร
ตอบ การคลังสาธารณะ หมายถึงการคลังในส่วนของรัฐบาลหรือการคลังในกิจกรรมที่รัฐบาลเป็นเจ้าของการคลังภาครัฐหรือการคลังของรัฐบาลเป็นเรื่องเกี่ยวกับกิจกรรมทางการคลัง การเงินต่างๆของรัฐบาลที่ถือเป็นหน่วยที่สำคัญหน่วยหนึ่งของระบบสังคม เนื่องจากมีผลผูกพันและกระทบไม่เฉพาะชีวิตความเป็นอยู่ของคนในปัจจุบันเท่านั้น แต่ยังมักจะส่งผลกระทบและผูกพันถึงคนในอนาคตหรือในยุคต่อไป การคลังภาครัฐ ครอบคลุมถึงปัญหาทางเศรษฐกิจของประเทศแทบทุกประการ
งบประมาณ หมายถึงแผนการใช้จ่ายเงินของรัฐบาลซึ่งแสดงวัตถุประสงค์แหล่งที่มาของรายรับรายจ่ายของรัฐบาลในระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติถือเอาระยะเวลา1ปี คือเริ่มจาก1 ตุลาคมไปสิ้นสุดที่30กันยายนของปีถัดไปงบประมาณของรัฐบาลมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจทั้งด้านรายรับและรายจ่ายผลกระทบจะมากน้อยและอยู่ในลักษณะใดขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้งบประมาณของรัฐบาลซึ่งมี3ลักษณะ คือ1.งบประมาณสมดุล 2.งบประมาณขาดดุล 3.งบประมาณเกินดุล

2.อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ รายรับ-รายจ่ายของรัฐถูกจัดสรรเพื่อการใช้จ่ายในรอบ1ปีคือ งบประมาณแผ่นดินปีงบประมาณแผ่นดินของไทยแต่ละปีโดยรอบปีงบประมาณแผ่นดินในรอบ1ปี จะนับจาก1ต.ค.-30ก.ย. ปีงบประมาณแผ่นดิน...ตัวอย่างเช่นงบประมาณแผ่นดินปี2556(1 ต.ค. 2555-30 ก.ย.2556)
รายรับของรัฐบาลสามารถจำแนกเป็น3ประเภท1.รายรับที่ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากรประกอบด้วยภาษีทางตรงภาษีทางอ้อมภาษีลักษณะอนุญาตเช่นค่าใบอนุญาตอาวุธปืน ค่าใบอนุญาตการพนัน2.รายรับที่ไม่มาจากการจัดเก็บภาษี คือรายได้ที่มีจากการประกอบธุรกรรมอย่างอื่นของรัฐ3.รายรับที่ไม่ใช่รายได้ คือ>>รายรับที่มาจากการกู้เงิน จากธนาคารกลาง ธนาคารออมสินธนาคารพาณิชย์
รายจ่ายของรัฐบาลแบ่งออกเป็น3ส่วนหลักๆ คือ 1.รายจ่ายประจำเงินเดือน+ สวัสดิการต่าง ๆ>> ข้าราชการประจำเช่น ครู ทหาร ตำรวจ พยาบาล 2.จ่ายเพื่อการลงทุนใช้พัฒนาประเทศเช่น>>การสร้าง ถนน สะพาน โรงพยาบาล เป็นต้น 3.จ่ายในการชำระคืนเงินกู้ เช่น>>ในกรณีที่มีพันธะในการชำระ-หนี้จากการกู้ยืม-ซื้อพันธบัตรรัฐบาล(Government Bond)คืนจากประชาชน-คืนเงิน

3.อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายงบประมาณ คือการจัดการใส่สวนของรายได้(ภาษี)และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในประเทศหรือรัฐ
นโยบายงบประมาณยังรวมถึงนโยบายภาษีในแต่ละปีเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจะลงคะแนนเสียงสำหรับงบประมาณตามรายได้และการคาดการณ์ค่าใช้จ่ายซึ่งสามารถนำเสนอในสามรูปแบบดังนี้
-งบประมาณสมดุล -งบประมาณขาดดุล -งบประมาณเกินดุล ดุลงบประมาณ(รายได้-รายจ่าย)คือการประเมินผลของนโยบายงบประมาณที่ดำเนินการระหว่างปี ความสมดุลนี้จะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสภาพทางเศรษฐกิจ ระยะเวลาของการเจริญเติบโตจะมีผลในเชิงบวกต่องบประมาณสมดุลในขณะที่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยจะมีผลในเชิงลบต่องบประมาณสมดุล

4.อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ หนี้สาธารณะ หมายถึงหนี้ที่เกิดจากการกู้เงินของรัฐบาลเพื่อนำมาใช้จ่ายในนโยบายแบบขาดดุลหรือใช้ในกิจการของรัฐบาล ซึ่งการที่รัฐบาลต้องก่อหนี้สาธารณะมีหลายสาเหตุได้แก่
1.เพื่อแก้ไขภาวะเงินฝืดและช่วยฟื้นฟูภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำ 2.เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ 3.การกู้ยืมหนี้ใหม่เพื่อชำระหนี้เก่า
ทั้งนี้การวัดหนี้สาธารณะมักเทียบเป็นเปอร์เซ็น(%)ของ GDPเนื่องจากจะได้สามารถวัดว่าประเทศที่ก่อหนี้สาธารณะมีความสามารถในการชำระหนี้ได้เพียงใด
ประเภทของหนี้สาธารณะ 1.แบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้ สามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ
- หนี้ระยะสั้น หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนต้นเงินกู้คืนไม่เกิน 1 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งโดยปกติแล้วมักจะมีระยะเวลาในการชำระคืนเพียง 3 เดือนหรือ 91 วัน เหตุผลที่กู้ประเภทนี้คือรายได้ประเภทต่างๆยังเข้ามาไม่ทันจึงต้องก่อหนี้ระยะสั้นเพื่อมานำใช้ก่อนหรือเพื่อนำมาใช้หนี้ประเภทระยะสั้นเดิมที่กู้ไว้ก่อนหน้านี้เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยถูกลง
- หนี้ระยะกลาง หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่1ปีถึง5ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ในปัจจุบันไม่นิยมในการกู้หนี้ประเภทนี้เนื่องมาจากระยะเวลาในการชำระคืนไม่ตรงกับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องกู้และต้นทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มีการชำระหนี้คืนที่ถี่เกินไป
- หนี้ระยะยาว หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่5ปีเป็นต้นไปนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งระยะเวลาของการกู้จะยาวแค่ไหนก็จะขึ้นอยู่กับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องใช้กู้ สำหรับในประเทศที่กำลังพัฒนารวมถึงประเทศไทยด้วยหนี้ระยะยาวจะมีอายุระหว่าง5-10ปี
นาย สิทธิพร เลาหพูนรังษี รหัส 61823451112 รุ่น41 การบ้านวันอาทิตย์ช่วงบ่ายที่17 พ.ค.2563
1.จงกล่างถึงพฤติกรรมการบริหาร
ตอบ หมายถึง การกระทำหรือการแสดงออกรวมถึงท่าทีที่ผู้บังคับบัญชาปฎิบัติต่อผู้ใต้บังคับบัญชาซึ่งสามารถสังเกตได้จากการบริหารงานด้านต่างๆ ตามลักษณะองค์ประกอบของพฤติกรรมการบริหาร 8 ด้าน ดังนี้
1.ด้านการเป็นผู้นำ หมายถึง ผู้บังคับบัญชาสามารถอธิบายขั้นตอนการทำงานได้ทุกขั้นตอนและเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นในการทำงาน
2.ด้านการจูงใจ หมายถึง ทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีขวัญกำลังใจในการทำงานและมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และสนับสนุนให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน
3.ด้านการติดต่อสื่อสาร หมายถึง มีการประชาสัมพันธ์ข่าวสารข้อมูลต่างๆ ในหน่วยงานอย่างทั่วถึง
4.ด้านการปฎิสัมพันธ์และการมีอิทธิพลต่อกัน หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้ใต้บังคับบัญชาและบุคคลภายนอก
5.ด้านการตัดสินใจ หมายถึง สามารถนำความรู้ประสบการณ์มาใช้ในการตัดสินใจและแก้ไขปัญหาในการปฎิบัติงานได้เป็นอย่างดี
6.ด้านการกำหนดเป้าหมาย หมายถึง ผู้บังคับบัญชาสามารถกำหนดเป้าหมายและทิศทางในการปฎิบัติงานได้อย่างเหมาะสม
7.ด้านการควบคุมและปฎิบัติการ หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีการควบคุมการปฎิบัติงานด้วยหลักเกณฑ์ที่เป็นมาตรฐานและมีความยุติธรรม เพื่อให้มีประสิทธิภาพ
8.ด้านกำหนดมาตรฐานการปฎิบัติงานและการฝึกอบรม หมายถึง ผู้บังคับบัญชามีการกำหนดมาตรฐานในการปฎิบัติงานได้อย่างเหมาะสมส่งเสริมให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเข้ารับการฝึดอบรมเพื่อพัฒนาทักษะ ความรู้ และประสบการณ์ในการทำงาน
2.จงกล่าวถึงบทบาททางการบริหาร
ตอบ หมายถึง การทำให้งานต่างๆลุล่วงไปโดยอาศัยผู้นำ การทำงานให้บรรลุเป้าหมายขององค์กรตามเป้าหมายที่ว่าเอาไว้การบริหารที่ต้องดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอนมีดังนี้
1. มีการวางแผน (Planning)
2. มีการจัดองค์กร (Organization)
3. มีการจัดคนเข้าทำงาน (Staffing)
4. มีการสั่งการ (Directing)
5. มีการควบคุม (Controlling)
3.จงกล่าวถึงความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ หมายถึง ต้องมีจิตสำนึกความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปอย่างมีศีลธรรม คุณธรรม และตรงตามความคาดหวังของสังคม รวมทั้งยึดมั่นในค่านิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรม และมีคุณลักษณะดังนี้
1. ทำงานอย่างมีศักดิ์ศรี
2. ขยันตั้งใจทำงาน
3. มีศีลธรรม คุณธรรม โปร่งใส
4. รู้ทันโลก, ปรับตัวทันโลก, ตรงกับสังคม
5. มุ่งเน้นประสิทธิภาพ
6. รับผิดชอบต่อผลงาน และสังคม
7. มีใจ และการกระทำเป็นประชาธิปไตย
8. มีผลงาน มุ่งเน้นผลงาน
Araya Wongsa said…
งานวันที่17พฤษภาคม 63 ช่วงบ่าย
สตต หญิงอารยา วงษา รหัสนักศึกษา62423471117
1.พฤติกรรมการบริหาร
ตอบ พฤติกรรมการบริหาร หมายถึงการประพฤติปฏิบัติของผู้บริหารที่แสดงออกในฐานะผู้นําเพื่อดําเนินกิจกรรมต่างๆให้บรรลุเป้าหมายผู้นำ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนให้เหมาะสมกับสถานการณ์เงื่อนไขหรือสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปโดยใช้กระบวนการจัดกิจกรรมการทํางานอย่างเป็นระบบอย่างเหมาะสมเพื่อให้งานสําเร็จและผู้ร่วมงานพึงพอใจในการทํางานจึงจะสามารถทํางานบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้

2.บทบาททางการบริหาร
ตอบ บทบาทและหน้าที่ภารกิจของการบริหาร จะต้องวางนโยบาย วางโครงสร้างการบริหารงานนิติบุคคลของขั้นพื้นฐาน4ด้าน ได้แก่ 1)การบริหารวิชาการ 2)การบริหารงบประมาณ 3)การบริหารงานบุคคล 4)การบริหารทั่วไป โดยการวางแผน ตรวจสอบปรับปรุงแก้ไข วัดและประเมินผล ควบคุมการดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

3.ความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ หลักความรับผิดชอบทางการบริหารเป็นองค์ประกอบของหลักธรรมาภิบาลและเป็นหลักการที่จะช่วยประสิทธิภาพในการบริหารจัดการในระบบราชการ วิภาส ทองสุทธิ์ ได้เสนอว่า ความพร้อมรับผิดเป็นคุณสมบัติหรือ ทักษะพึงอันแสดงออกเพื่อเป็นนตัวชี้การได้รับมอบหมายภารกิจที่จะนําไปปฏิรูปด้วยความรับผิดชอบ เป็นองค์ประกอบที่สําคัญในการเพิ่มประสิทธิผลของการจัดการ ประกอบด้วยหลักการย่อยดังนี้
1)การมีเป้าหมายที่ชัดเจน องค์กรที่มีหลักการธรรมาภิบาลในหลักการนี้ต้องกําหนดเป้าหมาย ของการกระทําชัดเจนและสร้างเป็นวัฒนธรรม ว่าประสงค์จะบรรลุอะไรและต้องการเห็นผลลัพธ์นั้นอย่างไร
2)กําหนดเป้าหมายร่วมกัน เพื่อเปิดโอกาสให้สมาชิกองค์กร หรือทุกคนเป็นเจ้าของผลงาน เพื่อก่อให้เกิดกําลังใจในการทํางานร่วมกัน เพื่อผลลัพธ์ที่เป็นที่ภาคภูมิใจร่วมกัน
3)วัฒนธรรมการพร้อมรับผิด และสํานึกในความรับผิดชอบจะทําให้ผู้บริหารงานปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดการประสานงานกันระหว่างสมาชิกในองค์กร
4)การจัดการพฤติกรรมที่ไม่เอื้อการทํางาน ซึ่งอาจมาจากการไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงมักมีการต่อต้าน องค์กรต้องมีมาตรการในการจัดการพฤติกรรมการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงและทําให้ทุกคนยอมรับในการเปลี่ยนแปลง
5)การมีแผนสํารองในการบริหาร วัฒนธรรมการพร้อมรับผิดจําเป็นต้องมีการวางแผนการ สื่อสารให้คนในองค์กรรับทราบและเข้าใจแผน และนโยบายขององค์กรที่จะกระจายข่าวสารข้อมูลที่เปิดเผย
6)การติดตามผลและการประเมินการทํางาน เป็นสิ่งที่จะเป็นเครื่องตรวจสอบดูว่า เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพงานที่กําหนดไว้และควรมีการแก้ไขทันที่ที่ผลงานนั้นไม่ได้มาตรฐาน และได้รับการยอมรับขององค์กร
หลักการดังกล่าวเป็นหลักการที่นักวิชาการให้ความหมายแตกต่างกัน แต่เป็นหลักการที่จำเปฌนและต้องพัฒนาการปฏิบัติใช้ให้เป็นรูปธรรมในสังคมไทย
นาย ภูสิรัช แก้วแพ รหัสนักศึกษา 62423471119 รุ่น44
ส่งงาน วันอาทิตย์ ที่17 พฤษภาคม 2563

คำถาม
1.จงกล่าวถึง
-พฤติกรรมการบริหาร
-บทบาทการบริหาร
-ความรับผิดชอบทางการบริหาร

ตอบ -พฤติกรรมการบริหาร คือการบริหาร หมายถึง ศิลปะในการทำให้สิ่งต่าง ๆ ได้รับการกระทำจนเป็น ผลสำเร็จ กล่าวคือ ผู้บริหารไม่ใช้เป็นผู้ปฏิบัติ แต่เป็นผู้ใช้ศิลปะทำให้ผู้ปฏิบัติทำงานจนสำเร็จตามจุดมุ่งหมายที่ผู้บริหารตัดสินใจเลือกแล้ว (Simon)

การบริหาร คือ กระบวนการทำงานร่วมกับผู้อื่นเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ (Sergiovanni)

การบริหาร คือ การทำงานของคณะบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ที่รวมปฏิบัติการให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน (Barnard)

-บทบาทการบริหาร คือ
1.เป็นผู้กำหนดทิศทางการบริหาร (Direction Setter ) เช่น รู้เทคนิคต่าง ๆ ของการบริหาร PPBS .MBO QCC เป็นต้น

2.มีความสามารถกระตุ้นคน (Leader Catalyst)

3.ต้องเป็นนักวางแผน (Planner)

4.ต้องเป็นผู้มีความสามารถในการตัดสินใจ (Decision Maker)

5.ต้องมีความสามารถในการจัดองค์การ (Organizer)

6.ต้องเป็นผู้ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลง (Change Manager)

7.ต้องเป็นผู้ให้ความร่วมมือ (Coordinator)

8.ต้องเป็นผู้ติดต่อสื่อสารที่ดี (Communicator)

9.ต้องเป็นผู้แก้ปัญหาขัดแย้งในองค์การได้ (Conflict Manager)

10.ต้องสามารถบริหารปัญหาต่าง ๆ ได้ (Problem Manager)

11.ต้องรู้จักวิเคราะห์และจัดระบบงาน (System Manager)

12.ต้องมีความสามารถในด้านวิชาการทั้งการเรียนและการสอน (Instructional Manager)

13.ต้องมีความสามรถในการบริหารบุคคล (Personnel Manager)

14.ต้องมีความสามารถในการบริหารทรัพยากร (Resource Manager)

15.ต้องมีความสามารถในการประเมินผลงาน (Appraiser)

16.ต้องมีความสามารถในการประชาสัมพันธ์ (Public Realtor)

17.ต้องสามารถเป็นผู้นำในสังคมได้ (Ceremonial Head)

-ความรับผิดชอบทางการบริหาร คือ 1.ทางโครงสร้าง เป็นความสัมพันธ์ระหว่างผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา ตามลำดับขั้นตอนของสายการบังคับบัญชา

2.ทางหน้าที่ เป็นขั้นตอนของหน่วยงานที่ระบุหน้าที่ บทบาท ความรับผิดชอบและสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ เพื่อให้สำเร็จเป้าหมาย

3.ทางปฏิบัติ เป็นกระบวนการที่บุคคลและบุคคลต้องการร่วมทำปฏิกิริยาซึ่งกันและกัน (Getzals & Guba)

นางสาวอัญจิมา เม็งมุธา รหัส 61823451019 รุ่น41
1.พฤติกรรมการบริหาร
ตอบ การกำหนดโครงสร้างทางการบริหารงาน การแบ่งโครงสร้างองค์กรในการดำเนินงาน บทบาทและ อำนาจหน้าที่ ของบุคลากรในระดับต่างๆ การกำหนดขอบเขตการรับผิดชอบต่องานของบุคลากร ขนาดขององค์กร รวมทั้งรูปแบบการบริหารทำให้มองเห็นระดับของการบริหารงานทางการนโยบาย และระดับปฏิบัติการ ที่จะส่งผลดี ผลเสียในการบริหารงานของผู้บริหารด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านการส่งเสริมการศึกษา ด้านวิชาการ ด้านกิจการนักเรียน ด้านวางแผนและพัฒนา ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาการบริหาร และได้ให้ความเห็นว่าเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาคุณภาพ โดยที่ผู้บริหารการศึกษาจะต้องพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการให้มีเอกภาพต้องกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น โดยเน้นสถานศึกษาเป็นหลัก ตลอดจนให้บุคคล ชุมชน มีส่วนร่วมและรับผิดชอบ รวมถึงการพัฒนาระบบการวางแผนและให้มีแผนยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องสัมพันธ์เชื่อมโยงกันทุกระดับ ทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการ
2.บทบาททางการบริหาร
ตอบ การบริหาร คือ การทำให้งานต่างๆลุล่วงไปโดยอาศัยผู้นำ การทำงานให้บรรลุเป้าหมายขององค์กรตามเป้าหมายที่ว่าเอาไว้การบริหารที่ต้องดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอนมีดังนี้
1. มีการวางแผน (Planning)
2. มีการจัดองค์กร (Organization)
3. มีการจัดคนเข้าทำงาน (Staffing)
4. มีการสั่งการ (Directing)
5. มีการควบคุม (Controlling)
3.จงกล่าวถึงความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ การรับผิดชอบ บทบาทความรับผิดชอบ ในระดับองค์กรที่มีความแตกต่าง แต่การรับผิดของผู้บริหาร จะมีประเภทการรับผิดใน 5 ประเด็น ได้แก่
การรับผิดต่อการเสียหายขององค์กรและนโยบาย
การรับผิดต่อความมั่นคงและภาพขององค์กร
การรับผิดต่อผลงานของการเป็นผู้นำและการบริหาร
การรับผิดต่อผลทางบวกและทางลบทางด้านเศรษฐกิจ
การรับผิดต่อความเรียบร้อยอันดีต่อสังคม
นางสาววรารัตน์ เมืองเจริญ รหัส 62423471037 รุ่น 44
งานประเมินความรู้วันเสาร์ที่ 16 เมษายน 2563 เช้า
ข้อ1. งบประมาณและการคลังสาธารณะหมายถึงอะไร
ดิฉันเห็นด้วยกับความคิดดังกล่าวนี้ของดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ ให้ความหมายการคลังสาธารณะว่า จะเรียกว่าการคลังรัฐบาล หรือ การคลังสาธารณะ ก็มีความหมายใกล้เคียงกัน ซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องของภาษีอากร การใช้จ่ายภาครัฐ และการจัดสรรงบประมาณ ซึ่งนับรวมรายจ่ายของรัฐบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจ ดังนั้น การคลังสาธารณะจึงเกี่ยวข้องกับการจัดสรรทรัพยากรของระบบเศรษฐกิจที่เน้นบทบาทของภาครัฐและปฏิสัมพันธ์กับภาคส่วนอื่นๆ
กล่าวโดยสรุป การคลังสาธารณะ หมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายรับและร่ายจ่ายและการก่อหนี้ของรัฐบาลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ มีผลกระทบจากกิจกรรมการดำเนินการต่างๆ ทางการคลังของรัฐบาลที่มีต่อสังคมและประเทศชาติโดยรวม โดยมีขอบเขตเกี่ยวข้องกับงบประมาณแผ่นดิน การคลังด้านรายรับ การคลังด้านรายจ่าย และหนี้สาธารณะ
ข้อ 2. อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
รายได้หรือรายรับของรัฐบาล รัฐบาลสามารถหารายได้โดยการจัดเก็บภาษีอากรจากผู้ผลิตและประชากรผู้มีรายได้ นอกจากนั้นยังหารายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร ได้แก่ ค่าปรับ ค่าธรรมเนียม และเงินนำส่ง (รายได้) ของรัฐวิสาหกิจต่างๆ ที่รัฐบาลเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นร่วมทุนกับเอกชน เช่น เงินนำส่งจากบริษัทการบินไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิต องค์การสุรา การท่าเรือแห่งประเทศไทย เป็นต้น
นอกเหนือจากการหารายได้แล้ว รัฐบาลอาจมีรายรับจากการกู้ยืมจากภาคเอกชนภายในประเทศ หรือกู้ยืมจากต่างประเทศ เพื่อนำมาใช้จ่ายในการพัฒนาประเทศ
โดยสรุปโครงสร้างรายได้ของรัฐบาลมาจาก 3 ส่วน คือ
- รายได้จากภาษีอากร รายได้จากรัฐวิสาหกิจต่างๆ รวมทั้งรายได้อื่นๆ เช่น รายได้จาก ค่าปรับ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต
- เงินกู้ของรัฐบาลจากภายในและต่างประเทศ
- เงินคงคลัง ซิ่งได้แก่ เงินที่รัฐบาลสะสมไว้จากการที่มีรายรับสูงกว่ารายจ่ายในอดีต เงินคงคลังเป็นเงินสำรองที่จะนำมาใช้ในกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น
นางสาววรารัตน์ เมืองเจริญ รหัส 62423471037 รุ่น 44
งานประเมินความรู้วันเสาร์ที่ 16 เมษายน 2563 บ่าย
1. อธิบายนโยบายงบประมาณ
นโยบายงบประมาณ คือการจัดการใส่ส่วนของรายได้ (ภาษี) และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในประเทศหรือรัฐ
นโยบายงบประมาณ ยังรวมถึงนโยบายภาษี ในแต่ละปีเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจจะลงคะแนนเสียงสำหรับงบประมาณตามรายได้และการดาดการณ์ค่าใช้จ่าย ซึ่งสามารถนำเสนอในสามรูปแบบ
- งบประมาณสมดุล
- งบประมาณขาดดุล
- งบประมาณเกินดุล
ดุลงบประมาณ (รายได้-รายจ่าย) คือการประเมินผลของนโยบายงบประมาณที่ดำเนินการระหว่างปี ความสมดุลนี้จะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสภาพทางเศรษฐกิจ ระยะเวลาของการเจริญเติบโตจะมีผลในเชิงบวกต่องบประมาณสมดุล ในขณะที่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยจะมีผลในเชิงลบต่องบประมาณสมดุล
ข้อ2. อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ประเภทของหนี้สาธารณะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักคือ 1.แบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้ 2.แบ่งตามแหล่งที่มาของหนี้ ดังคำอธิบายต่อไปนี้
1.แบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้ สามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ
- หนี้ระยะสั้น หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนต้นเงินกู้คืนไม่เกิน 1 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งโดยปกติแล้วมักจะมีระยะเวลาในการชำระคืนเพียง 3 เดือนหรือ 91 วัน เหตุผลที่กู้ประเภทนี้คือรายได้ประเภทต่างๆยังเข้ามาไม่ทันจึงต้องก่อหนี้ระยะสั้นเพื่อมานำใช้ก่อนหรือเพื่อนำมาใช้หนี้ประเภทระยะสั้นเดิมที่กู้ไว้ก่อนหน้านี้เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยถูกลง
- หนี้ระยะกลาง หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 1 ปีถึง 5 ปีนับตั้งแต่วันที่กู้ ในปัจจุบันไม่นิยมในการกู้หนี้ประเภทนี้เนื่องมาจากระยะเวลาในการชำระคืนไม่ตรงกับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องกู้และต้นทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มีการชำระหนี้คืนที่ถี่เกินไป
- หนี้ระยะยาว หมายถึงหนี้ที่มีระยะเวลาไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 5 ปีเป็นต้นไปนับตั้งแต่วันที่กู้ ซึ่งระยะเวลาของการกู้จะยาวแค่ไหนก็จะขึ้นอยู่กับความจำเป็นของโครงการหรือกิจการที่ต้องใช้กู้ สำหรับในประเทศที่กำลังพัฒนารวมถึงประเทศไทยด้วยหนี้ระยะยาวจะมีอายุระหว่าง 5-10 ปี แต่ในประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีอายุระหว่าง 10-30 ปี ทั้งนี้บางโครงการของประเทศที่กำลังพัฒนาอาจมีระยะเวลาในก่อหนี้นานถึง 50 ปีเนื่องจากผลตอบแทนช้ามาก
2.แบ่งตามแหล่งที่มาของหนี้ สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท
คือ
- หนี้ภายในประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ที่อยู่ในประเทศโดยไม่คำนึงถึงสกุลของเงินตรา แต่โดยปกติก็มักจะกู้ตามสกุลเงินของประเทศนั้นๆ โดยอาจกู้จากเอกชน เช่น ห้างร้าน บริษัทต่างๆ ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินที่มิใช่ธนาคารพาณิชย์หรือกู้มาจากธนาคารกลางของประเทศนั้นๆเอง
- หนี้จากต่างประเทศ หมายถึงหนี้ที่กู้จากผู้ให้กู้ที่ที่มีถิ่นฐานในต่างประเทศ โดยไม่คำนึงถึงเงินตราเช่นกัน ทั้งนี้การกู้เงินในสกุลต่างประเทศนั้นจะกู้ก็ต่อเมื่อมีความจำเป็นในการใช้เงินตราเพื่อต่างประเทศซื้อสินค้าและบริการจากต่างประเทศเท่านั้น โดยสามารถกู้ได้จากสถาบันการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ธนาคารโลก (World bank) ประเทศต่างๆและตลาดเงินระหว่างประเทศ
นางสาววรารัตน์ เมืองเจริญ รหัส 62423471037 รุ่น 44
งานประเมินความรู้วันอาทิตย์ที่ 17 เมษายน 2563
1. พฤติกรรมการบริหาร
แนวคิดด้านการบริหารจัดการ (Management Concept) ตลอดจนทฤษฎีองค์กร (Organization Theory) นั้น เป็นการนำเสนอกรอบความคิดในการบริหารจัดการการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตลอดจนได้ผลผลิตที่มีประสิทธิผลไปพร้อมกันด้วย ในยุคปัจจุบันนี้ไม่ว่าจะองค์กรเล็กหรือองค์กรใหญ่ต่างก็ต้องการการจัดการที่ดีทั้งนั้น เพื่อให้องค์กรสามารถก้าวหน้าได้ดีที่สุด
2. บทบาททางการบริหาร และความรับผิดชอบทางการบริหาร
ดิฉันขอยกตัวอย่าง "ผู้บริหารสถานศึกษา" คือ ผู้ที่มีบทบาทสำคัญยิ่งในการปฏิรูปการศึกษาระดับสถานศึกษา งานวิจัยหลายชิ้นได้ระบุตรงกันว่า ผู้บริหารที่ให้ความเอาใจใส่ต่องานวิชาการ ทุ่มเทให้กับงานพัฒนาการเรียนการสอน มีคุณธรรม และมีภาวะผู้นำ เป็นปัจจัย
ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษามีบทบาทสำคัญยิ่งในการบริหารการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงมักจะมีการต่อต้าน ดังนั้นความสำเร็จของการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาจึงขึ้นอยู่กับภาวะผู้นำ ทักษะและวิธีการที่ผู้บริหารใช้ในการเปลี่ยนแปลง ผู้บริหารจึงจำเป็นต้องมีวิสัยทัศน์ ฮอลล์และคณะ(Hall and others,1984) ได้แบ่งพฤติกรรมการบริหารการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารออกเป็น 3 แบบ คือ ผู้ตอบสนอง(responder) ผู้จัดการ(manage) และผู้ริเริ่ม(initiator) จากการวิจัยพบว่า สถานศึกษาที่ผู้บริหารมีพฤติกรรมการบริหารการเปลี่ยนแปลงแบบผู้ริเริ่มมีผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษามากกว่าผู้บริหารที่มีพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงอีก 2 แบบ โดยผู้บริหารแบบริเริ่มมีพฤติกรรมการบริหารการเปลี่ยนแปลง ดังนี้
1.พยายามปรับสถานศึกษาให้สอดคล้องกับความคาดหวังของชุมชน พยายามประสานประโยชน์ให้เกิดแก่โรงเรียน
2. รวมรวมข้อมูลต่าง ๆ จากครูและชุมชนเพื่อให้เข้าใจถึงสิ่งที่ต้องการจะเปลี่ยนแปลง
3. ส่งเสริมให้ผู้เกี่ยวข้องมีความรู้เกี่ยวกับแนวทางการแก้ปัญหา
4. มีขั้นตอนและกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน
5. ติดตามผลที่เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด
6. ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เกี่ยวข้องเพื่อเปรียบเทียบแผนงานที่วางไว้และพฤติกรรมที่คาดหวัง กับสิ่งที่เกิดหลังจากการเปลี่ยนแปลง
ดังนั้นการทำงานจึงมุ่งหมายที่จะพัฒนาความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมในการจัดการแต่ละขั้นตอน โดยเริ่มต้นจากสิ่งที่บุคลากร รู้กันอยู่แล้วตามกระบวนทัศน์นี้ บุคลากร จะได้สะท้อนตัวตน ความคิด ความรู้สึก ความเข้าใจของตนออกมาผ่านกิจรรมที่ตนได้เป็นทั้ง “ผู้รับสาร” และ “ผู้สร้างสื่อ” ตลอดจนรับรู้และเข้าใจถึงปัจจัยด้านสังคมและเศรษฐกิจสำคัญที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถานศึกษา ทำให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดี บุคลากร ได้รับการพัฒนาและมีขวัญกำลังใจในการทำงาน
วรรษมล สังวรินทะ รหัสนักศึกษา 62423471075
วันอาทิตย์ที่ 17
1. พฤติกรรมการบริหาร
การดำเนินการและ/หรือการปกครอง(การควบคุม การแนะนำ/การส่งเสริม การบังคับ) การบริหาร หมายถึง การให้คำแนะนำ การเป็นผู้นำและการควบคุมงานของกลุ่มต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน หรือการบริหาร คือ การจัดการกับปัญหาต่าง ๆ ซึ่งหมายถึงการ
การบริหาร คือ กระบวนการของการวางแผน การจัดองค์การ การสั่งการ และการควบคุมกำลังความพยายามของสมาชิกขององค์การ และการใช้ทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อความสำเร็จในเป้าหมายขององค์การกำหนดไว้ดังนั้น การประยุกต์ความหมายดังกล่าวข้างต้นต่อการบริหารตนเอง จึงหมายถึง ศิลปะการดำเนินการโดยการประยุกต์ใช้หลักการบริหารมาใช้ในการวางแผน ควบคุมแผนการบริหารตนเองเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของชีวิตที่ตั้งไว้
2. บทบาททางการบริหาร
ผู้บริหารที่มีภาวะผู้นำจะทำให้ผู้ตามปฎิบัติหน้าที่ด้วยความเต็มใจถือเป็นเพราะบุคลิกลักษณะพิเศษประการหนึ่ง คือผู้บริหารที่มีภาวะผู้น้ำจะไม่มีการเลือกปฏิบัติไม่ว่าที่มาของผู้ตามหรือเพื่อนร่วมงานจะเป็นอย่างไร ไม่แยกเขาแยกเรา ดังคำกล่าวของ เติ้ง เสี่ยวผิง ที่ว่า “ ไม่ว่าแมวสีขาวหรือดำ ขอให้จับหนูได้เป็นใช้ได้” ความลำบากใจของผู้บริหารจึงอยู่ที่จะกำกับดูแลให้คนของตนเองไม่ไปรังแกคนอื่น โดยอ้างอำนาจนายได้อย่างไร ผู้บริหารที่ไม่มีภาวะผู้นำนอกจากไม่กำกับดูแลแล้วยังไม่ท้ายอีกต่างหาก
ในทางปฎิบัติที่เป็นจริง การที่ผู้บริหารไม่ไว้ใจคนในองค์กรที่มีอยู่เท่ากับผู้บริหารไม่ไว้ใจผู้อื่น สิ่งที่ได้คือคนอื่นก็ไม่ไว้วางใจผู้บริหารเป็นการตอบแทนเช่นกัน ตามหลักกฎแห่งกรรมของพุทธศาสนาหรือหลักฟิสิกส์ คือปฏิกิริยา Action เท่ากับ Reaction ความคิดไม่ไว้วางใจใครจึงเป็นจุดเริ่มของการขาดภาวะความเป็นผู้นำแต่นี้เป็นต้นไป
3. ความรับผิดชอบทางการบริหาร
ผู้รับมอบอำนาจ ย่อมต้องยอมรับผลพวงที่จะตามมาทั้งเชิงบวกและเชิงลบ
พอเกิดความผิดพลาดโยนกันไปโยนกันมาไม่ได้
ถ้าหากเป็นการบริหารราชการแผ่นดินนั้น เรามองได้จากประชาชนและรัฐบาลต้องมีศักยภาพรับผิดชอบต่อพลเมืองทุกคนในสังคมอย่างเท่าเทียมกัน

มิติของการรับผิดชอบต้องเป็นไปใน
1.มิติเชิงวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมาย คือจะให้ใครรับผิดชอบเรื่องใดมุ่งเน้น Input และ Process
2. มิติเชิงสถาบัน คือ ใครรับผิดชอบต่อใคร
มิติเชิงสถาบัน คือ ความสัมพันธ์เป็นลักษณะอย่างไรต้องมีในเรื่องที่ทำ และต้องทำอย่างต่อเนื่องด้วย
Unknown said…
งานวันเสาร์ที่16-17 พ.คง 2563 (เช้า-บ่าย)
นาย สุพิษ ดาบส รหัส 61423451024 รุ่น 41
1) งบประมาณและการคลังสาธารณะ หมายถึงอะไร ?
ตอบ งบประมาณ หมายถึงการวางแผนการเงินในช่วงเวลาที่กำหนดชัดเจน โดยมากแล้วคือหนึ่งปีงบประมาณอาจรวมถึง ปริมาณแผนการขายและรายได้,ปริมาณทรัพย์สิน,ค่าใช้จ่าย,สินทรัพย์,หนี้สินและกระแสเงินสดโดยที่บริษัท รัฐบาล ครอบครัว และองค์กรต่างๆจะใช้งบประมาณเพื่อแสดงแผนกลยุทธ์ของกิจกรรมที่สามารถสามารถวัดขึ้นได้ชัด.
การคลังสาธารณะ หมายถึงการกำหนดนโยบายทางการคลังเพื่อดำเนินงานการคลังด้านรายได้และรายจ่ายของรัฐ ถือเป็นเครื่องมือสำคัญในการวางแผนควบคุมประเภทการใช้จ่ายของรัฐบาล หรือการก่อหนี้สาธารณะให้สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมาย เพื่อสร้างผลกระทบต่อระบบสังคมเศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศผ่านกลไกนโยบายรัฐ ทั้งด้านการผลิต การบริโภค การแจกจ่าย การแลกเปลี่ยนสินค้า สร้างสินค้าสาธารณะ และการบริการสังคม โดยนโยบายการคลังนับเป็นการแสวงหาและการใช้จ่ายเงินของรัฐบาลที่มีวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่แน่นอนในระยะสั้น ซึ่งการจัดสรรทรัพยากร.

2)อธิบายโครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย
ตอบ. โครงสร้างรายรับและรายจ่ายของไทย มีโครงสร้างรายรับและรายจ่ายจากหลายภาคส่วนดังนี้คือ
รายรับ สามารถหารายได้โดยการจัดเก็บภาษีอากรจากผู้ผลิตและประชากรผู้มีรายได้ นอกจากนั้นยังหารายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร เช่น ค่าปรับ ค่าธรรมเนียมของรัฐวิสาหกิจต่างๆ ที่รัฐบาลเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นร่วมทุนกับเอกชน เช่น เงินนำส่งจากบริษัทการบินไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิต องค์การสุรา การท่าเรือแห่งประเทศไทย เป็นต้น ซึ่งเป็นรายได้ที่รัฐบาลได้มาใช้บริหารภายในประเทศ.
รายจ่าย มาจากการว่าจ้างแรงงาน​ข้าราชการและรายจ่ายที่รัฐบาลใช้เยียวยาให้กับประชาชนในสถานการณ์และความจำเป็นภายในประเทศ.
คำถามแบบฝึกหัดช่วงบ่าย
1)อธิบายนโยบายงบประมาณ
ตอบ นโยบายงบประมาณ คือนโยบายเกี่ยวกับการใช้จ่ายและรายได้ของรัฐบาล ทั้งทางด้านรายได้และการคาดการณ์การใช้จ่ายเงิน ซึ่งสามารถนำเสนอได้ 3 รูปแบบ คือ
-งบประมาณสมดุล คือการประเมินผลของนโยบายที่ดำเนินการระหว่างปี ซึ่งความสมดุลนั้นขึ้นอยู่กับสภาพทางเศรษฐกิจ
-งบประมาณขาดดุล คือรัฐบาลใช้จ่ายเงินในการกระตุ้นเศรษฐกิจมากเกินทำให้เกิดเงินเฟ้อ
-งบประมาณเกินดุล คือสภาพทางเศรษฐกิจเจริญเติบโตแบบก้าวกระโดดทำให้รัฐบาลมีรายได้มากกว่ารายจ่าย
ดังนั้นนโยบายงบประมาณมีส่วนสำคัญ ในการกำหนดทิศทางการกำหนดนโยบายและทิศทางการบริหารประเทศ รวมถึงคาดการณ์สถาณการ์รายรับรายจ่ายภายในประเทศได้เป็นอย่างมาก.

2)อธิบายประเภทของหนี้สาธารณะ
ตอบ หนี้สาธารณะ(Public debt)หรือหนี้ของรัฐบาล คือหนี้ที่ถือโดยรัฐบาลกลาง,หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่น,องค์กรของรัฐรวมไปถึง รัฐวิสาหกิจตลอดจนการค้ำประกันหนี้สินโดยรัฐบาล ซึ่งการเกิดขึ้นของหนี้สาธารณะส่วนใหญ่ของรัฐบาลทั่วโลกมาจากการดำเนินนโยบายของรัฐแบบขาดดุลหรือรายได้ของรัฐน้อยกว่ารายจ่ายของรัฐ ทำให้ต้องมีการกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลในแต่ละรอบปีงบประมาณ การกู้เงินของรัฐบาลมีได้หลายช่องทาง รัฐอาจกู้จากสถาบันการเงินภายในประเทศเช่น ธนาคารพาณิชย์ และ ธนาคารกลาง,สถาบันการเงินต่างประเทศ,เอกชน,รัฐบาลต่างประเทศ หรือ องค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ อาทิเช่น กองทุนการเงินระหว่างประเทศไอเอ็มเอฟ),องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น(ไจก้า)เป็นต้น
โดยประเภทของหนี้สาธารณะ​แบ่งเป็น2ประเภทใหญ่ๆคือ​ แบ่งตามระยะเวลาการชำระหนี้และแบ่งตามแหล่งที่มาของหนี้​ แบ่งระยะเวลาการใช้หนี้สามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ หนี้ระยะสั้น หนี้ระยะกลาง และหนี้ระยะยาว.
Unknown said…
งานวันเสาร์ที่16-17 พ.คง 2563 (เช้า-บ่าย)
นาย สุพิษ ดาบส รหัส 61423451024 รุ่น 41
1.พฤติกรรมการบริหาร
ตอบ การกำหนดโครงสร้างทางการบริหารงาน การแบ่งโครงสร้างองค์กรในการดำเนินงาน บทบาทและ อำนาจหน้าที่ ของบุคลากรในระดับต่างๆ การกำหนดขอบเขตการรับผิดชอบต่องานของบุคลากร ขนาดขององค์กร รวมทั้งรูปแบบการบริหารทำให้มองเห็นระดับของการบริหารงานทางการนโยบาย และระดับปฏิบัติการ ที่จะส่งผลดี ผลเสียในการบริหารงานของผู้บริหารด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านการส่งเสริมการศึกษา ด้านวิชาการ ด้านกิจการนักเรียน ด้านวางแผนและพัฒนา ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาการบริหาร และได้ให้ความเห็นว่าเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาคุณภาพ โดยที่ผู้บริหารการศึกษาจะต้องพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการให้มีเอกภาพต้องกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น โดยเน้นสถานศึกษาเป็นหลัก ตลอดจนให้บุคคล ชุมชน มีส่วนร่วมและรับผิดชอบ รวมถึงการพัฒนาระบบการวางแผนและให้มีแผนยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องสัมพันธ์เชื่อมโยงกันทุกระดับ ทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการ
2.บทบาททางการบริหาร
ตอบ การบริหาร คือ การทำให้งานต่างๆลุล่วงไปโดยอาศัยผู้นำ การทำงานให้บรรลุเป้าหมายขององค์กรตามเป้าหมายที่ว่าเอาไว้การบริหารที่ต้องดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอนมีดังนี้
1. มีการวางแผน (Planning)
2. มีการจัดองค์กร (Organization)
3. มีการจัดคนเข้าทำงาน (Staffing)
4. มีการสั่งการ (Directing)
5. มีการควบคุม (Controlling)
3.จงกล่าวถึงความรับผิดชอบทางการบริหาร
ตอบ การรับผิดชอบ บทบาทความรับผิดชอบ ในระดับองค์กรที่มีความแตกต่าง แต่การรับผิดของผู้บริหาร จะมีประเภทการรับผิดใน 5 ประเด็น ได้แก่
การรับผิดต่อการเสียหายขององค์กรและนโยบาย
การรับผิดต่อความมั่นคงและภาพขององค์กร
การรับผิดต่อผลงานของการเป็นผู้นำและการบริหาร
การรับผิดต่อผลทางบวกและทางลบทางด้านเศรษฐกิจ
การรับผิดต่อความเรียบร้อยอันดีต่อสังคม

Popular posts from this blog

จริยธรรมและธรรมาภิบาลทางการเมือง Module 1 ภาคการศึกษาที่ 3/2563 (เสาร์ที่ 24 - อาทิตย์ที่ 25 เมษายน 2564) 44/01

หลักรัฐประศาสนศาสตร์ Module 1; ภาค/ ปีการศึกษา 3/2564