เปิดโปงแหล่งพลังงานในประเทศไทย
ประเทศไทยมีปริมาณน้ำมันอยู่ในระดับต้นๆของโลก การจัดอันดับในขณะนี้ มากกว่าประเทศโอมาน
ไนจีเรีย
ดูข้อมูลในyoutrue เราอยู่ในอันดับที่ 24
ขอให้เราคนไทยช่วยกัน รัฐบาลไทยทำอะไรกัน
กับแหล่งพลังงาน
ติดตามได้ที่ http://www.youtube.com/watch?v=mJf8cRyTqkM
แล้วมาดูการจัดอันดับการผลิตแก็สธรรมชาติกันบ้าง
ดูรายละเอียดได้ที่ http://www.tcijthai.com/TCIJ/view.php?ids=669
รัฐบาลพยายามประชาสัมพันธ์ว่าแหล่งพลังงานบ้านเรามีน้อยนิด
แต่ในความเป็นจริงไม่น้อยนิด
มีความพยายามปฏิเสธการจัดอันดับดังกล่าวโดยกรมเชื้อเพลิงกระทรวงพลังงานดูได้ที่ข้อมูลด้านล่าง
http://www.dmf.go.th/truth_file/truth/pdf13.php
และมีข้อสนับสนุนจากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจโดย มนูญ ศิริ วรรณ ดังนี้ ดูรายละเอียดด้านล่างครับ
http://www.thanonline.com/index.php?option=com_content&view=article&id=120055:2012-05-02-06-34-45&catid=187:2009-09-02-02-45-23&Itemid=540
และโดยคุณมนูญ ศิริวรรณ ในหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ด้านล่างครับ
http://www.dailynews.co.th/article/825/22605
ดูข้อมูลใน https://www.eni.com/world-oil-gas-review/allegati/wogr-2011.pdf (ถึงปี 2010นะครับ)
ไทยกลั่นน้ำมันในปริมาณที่เป็นอันดับ 10 ของเอเชีย ญี่ปุ่นมากที่สุด เรามากกว่ามาเลเชีย สะท้อนถึงปริมาณที่ต้องการทั้งภายในและการส่งออก(ดูในหน้า 130 นะครับ)
และดูปริมาณการผลิตในหน้า 6 เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆนะครับตั้งแต่ หน้า 4-6
ดูปริมาณการส่งออกของไทยหน้า 33 ครับ
ดูปริมาณการบริโภคพลังงานของไทยเปรียบเทียบกับเพื่อนบ้านนะครับหน้า 21
อ่านรายละเอียดเท่าที่จำเป็น แลัววิเคราะห์ สังเคราะห์ให้ดีนะครับ
หวังว่าข้อมูลเหล่านี้คงช่วยได้ ให้พิจารณาความถูกต้องได้
ดังนั้นจึงมีคำถามที่สำคัญต่อรัฐบาลไทยว่า
1. ทำไมประชานคนไทยจึงบริโภคน้ำมันในราคาที่แพงเกินจริง (รวมก๊าซธรรมชาติด้วย)
-->
ไนจีเรีย
ดูข้อมูลในyoutrue เราอยู่ในอันดับที่ 24
ขอให้เราคนไทยช่วยกัน รัฐบาลไทยทำอะไรกัน
กับแหล่งพลังงาน
ติดตามได้ที่ http://www.youtube.com/watch?v=mJf8cRyTqkM
แล้วมาดูการจัดอันดับการผลิตแก็สธรรมชาติกันบ้าง
ดูรายละเอียดได้ที่ http://www.tcijthai.com/TCIJ/view.php?ids=669
รัฐบาลพยายามประชาสัมพันธ์ว่าแหล่งพลังงานบ้านเรามีน้อยนิด
แต่ในความเป็นจริงไม่น้อยนิด
มีความพยายามปฏิเสธการจัดอันดับดังกล่าวโดยกรมเชื้อเพลิงกระทรวงพลังงานดูได้ที่ข้อมูลด้านล่าง
http://www.dmf.go.th/truth_file/truth/pdf13.php
และมีข้อสนับสนุนจากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจโดย มนูญ ศิริ วรรณ ดังนี้ ดูรายละเอียดด้านล่างครับ
http://www.thanonline.com/index.php?option=com_content&view=article&id=120055:2012-05-02-06-34-45&catid=187:2009-09-02-02-45-23&Itemid=540
และโดยคุณมนูญ ศิริวรรณ ในหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ด้านล่างครับ
http://www.dailynews.co.th/article/825/22605
ดูข้อมูลใน https://www.eni.com/world-oil-gas-review/allegati/wogr-2011.pdf (ถึงปี 2010นะครับ)
ไทยกลั่นน้ำมันในปริมาณที่เป็นอันดับ 10 ของเอเชีย ญี่ปุ่นมากที่สุด เรามากกว่ามาเลเชีย สะท้อนถึงปริมาณที่ต้องการทั้งภายในและการส่งออก(ดูในหน้า 130 นะครับ)
และดูปริมาณการผลิตในหน้า 6 เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆนะครับตั้งแต่ หน้า 4-6
ดูปริมาณการส่งออกของไทยหน้า 33 ครับ
ดูปริมาณการบริโภคพลังงานของไทยเปรียบเทียบกับเพื่อนบ้านนะครับหน้า 21
อ่านรายละเอียดเท่าที่จำเป็น แลัววิเคราะห์ สังเคราะห์ให้ดีนะครับ
หวังว่าข้อมูลเหล่านี้คงช่วยได้ ให้พิจารณาความถูกต้องได้
มาต่อกันในเรื่องพลังงานของประเทศ ผมพอมีเวลาที่จะพิจารณาข้อมูลต่างๆการผลิตน้ำมันของไทยเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านผมนำมาเลเซียและประเทศอื่นๆในเอเซียแปซิฟิกมาเปรียบเทียบ
เนื่องจากเราทราบมานานแล้วว่ามาเลเซียและประเทศอื่นๆ มีแหล่งน้ำมันและมีการส่งออกน้ำมัน
และที่สำคัญคนมาเลเซียซื้อน้ำมันในประเทศในราคาถูกกว่าที่คนไทยซื้อน้ำมันในประเทศของเรา ทั้งนี้เนื่องจากรัฐบาลมาเลเซียสามารถกำหนดราคาน้ำมันเอง
ข้อมูลเมื่อธันวาคม ปี 2012 ราคาขายปลีกดีเซลล์เป็น U.S ดอลลาร์ ราคาขายปลีกมาเลเซียเท่ากับ
0.7 U.S.ดอลลาร์ต่อลิตร
ขณะที่ราคาขายปลีกในไทย เท่ากับ 0.96 U.S.ดอลลาร์ต่อลิตร
แม้ว่าในอดีตมาเลเซียจะประกาศลอยตัวน้ำมัน
ทำให้ราคาน้ำมันเบนซินและดีเซลเพิ่มขึ้นในปี 2551ก็ตาม แต่ก็ยังราคาถูกกว่าราคาน้ำมันในประเทศไทยในปีเดียวกัน ผมจำได้ว่า ตอนทำงานที่อำเภอสุไหงโกลกประมาณปี 2525-2528 ราคาน้ำมันเบนซินในประเทศไทยประมาณ 12 บาท/ลิตร แต่ที่มาเลเซีย 5 บาท/ลิตร ผมก็เลยขับรถไปเติมน้ำมันที่รัฐลันตู ซึ่งมีเขตติดเขตแดนไทยเป็นประจำ แล้วก็ขับกลับมาฝั่งไทย (การประกาศขึ้นราคาน้ำมันของมาเลเซียเมื่อปี 2008;เดิมน้ำมันเชื้อเพลิงดีเชล จำหน่ายราคาลิตรละ16.15 บาท ขยับเป็นลิตรละ 25.05 บาท ซึ่งขึ้นถึง 55%
น้ำมันเชื้อเพลิงเบนซิน 91 เดิมจำหน่ายลิตรละ 18.25
บาท ขยับราคาเป็นลิตรละ 26.06 บาท
ซึ่งขึ้นถึง 42% ส่วนน้ำมันเชื้อเพลิงเบนซิน 95 เดิมจำหน่ายลิตรละ 19.25 บาท ขยับราคาเป็นลิตรละ 27.06 บาท
ซึ่งขึ้นถึง 40% )
จะเห็นว่าแม้จะประกาศขึ้นราคา ราคาน้ำมันในมาเลเซียก็ยังถูกกว่าราคาน้ำมันของประเทศไทย
และเมื่อมาพิจารณาราคาน้ำมันในอินโดนีเซียก็ถูกกว่าเรามาก
เมื่อปี 2555 เดือนมีนาคม ราคาน้ำมันในอินโดนีเซียเท่ากับ 6,000 รูปียร์ต่อลิตร(ประมาณ 18
บาทต่อลิตร (5,000 รูเปียร์เท่ากับ 15 บาทหรือ 10,000รูเปียร์เท่ากับ 30 บาท)
มาดูการเปรียบเทียบผลผลิตในแต่ละประเทศในเอซียแปซิฟิก
ตั้งแต่ปี 1995-2010
(thousand barrels/day)
ปี 1995 2000 2005 2008 2009 2010
ปริมาณผลผลิตรวมทั้งหมดใน
ประเทศ
Asia – Pacific 7,389 7,904 7,991 8,056 8,136 8,372
Australia 580
802 545 551 553 515
Bangladesh 3
4 6 6 5 5
Brunei 182
195 198 155 154 159
China 2,986
3,253 3,628 3,801 3,891 4,103
East Timor 0
0 92 104 94 88
India 784
770 771 791 797 865
Indonesia 1,565
1,459 1,084 1,000 981 975
Japan 19
17 18 20 19 18
Malaysia 776
711 794 754 740 716
Myanmar 9
12 22 19 20 20
New Zealand 47
45 24 63 59 58
Pakistan 57
57 65 65 64 63
Papua New Guinea 104
64 54 41 40 31
Philippines 3
1 25 23 30 35
South Korea 0
13 10 14 19 21
Taiwan 1
1 1 1 1 1
Thailand 105
165 265 314 324 328
Vietnam 169
334 388 335 343 371
จะเห็นว่าไทยเพิ่มผลผลิตสูงขึ้นทุกปี
และเมื่อพิจารณาดีๆ ไทยผลิตผลผลิตไปใช้อย่างไร
การบริโภคน้ำมันในเอเชีย-แปซิฟิก
(thousand barrels/day)
ปี 1995
2000 2005 2008 2009 2010
ประเทศ
Asia - Pacific บริโภคโดยรวม 18,015 20,957 24,048 25,422 26,084
27,555
Australia 811
872 930 955 947 959
Bangladesh 58
66 91 93 96
99
Brunei 12
13 14 16 16 16
China 3,283
4,570 6,728 7,749 8,369 9,377
Hong Kong 202 249
290 301 341 367
India 1,662 2,335 2,573 3,086 3,262
3,338
Indonesia 853 1,129
1,288 1,321 1,339 1,364
Japan 5,693
5,515 5,328 4,788 4,367 4,422
Malaysia 409
455 523 547 566 537
Myanmar 27
37 41 32 34 35
Nepal 10 15
16 18 18 19
New Zealand 122
131 155 156 156 155
North Korea 27
21 19 18 18
18
Pakistan 292
372 336 392 406 428
Philippines 352 353
315 289 310 314
Singapore 520
733 784 1,014 1,003 1,133
South Korea 2,008
2,135 2,191 2,142 2,185 2,249
Sri Lanka 44 76 96
85 88 92
Taiwan 737 874 979
1,001 1,084 1,120
Thailand 717
743 947 967 1,020 1,035
Vietnam 96
165 266 301 312 326
Others Asia – Pacific 79 97 137
150 149 152
การบริโภคพลังงานน้ำมันภายในประเทศของแต่ละประเทศ
จะเห็นว่าประเทศไทยยังมีการบริโภคที่น้อยเมื่อเปรียบเทียบ
กับจำนวนประชากรในประเทศอื่น เช่น เกาหลีใต้ จำนวนประชากร(เมื่อปี 20013)
มีจำนวน 49,979,000 คน ไทย
66,720,153
คน(เมื่อปี 2011) สิงค์โปร มีจำนวน 5,543,949 คน
จะเห็นว่าบริโภคน้อยกว่าสิงค์โปรและเกาหลีใต้มาก
แต่เปรียบเทียบกับมาเลเซีย
เราบริโภคมากกว่าเกือบเท่าตัวและเกือบเท่าสิงคโปร์ ทั้งที่ ประชากรในมาเลเซีย มีจำนวน 28,860,160 คนซึ่งมากกว่าสิงคโปร์ และระดับการพัฒนาของมาเลเซียไม่ด้อยไปกว่าประเทศไทยและมีทีท่าว่าจะก้าวหน้ากว่า(ข้อมูลใน
http://th.wikipedia.org/wiki/รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร)
เมื่อเปรียบเทียบกับอัตราส่วนของการบริโภคต่อการผลิตแล้ว
จะได้ดังนี้
ปี
1995
2000 2005 2008 2009 2010
Asia - Pacific 0.41 0.38 0.33
0.32 0.31 0.30
Australia 0.72
0.92 0.59 0.58 0.58 0.54
Bangladesh 0.05
0.06 0.07 0.06 0.05 0.05
Brunei 15.68
15.29 14.50
9.53 9.79
9.94
China 0.91
0.71 0.54 0.49 0.46 0.44
India 0.47
0.33 0.30 0.26 0.24 0.26
Indonesia 1.83
1.29 0.84 0.76 0.73 0.71
Malaysia 1.90
1.56 1.52 1.38 1.31 1.33
Myanmar 0.33
0.33 0.55 0.58 0.59 0.58
New Zealand 0.39
0.34 0.16 0.40 0.38 0.37
Pakistan 0.19
0.15 0.19 0.17 0.16 0.15
Philippines 0.01
0.00 0.08 0.08 0.10 0.11
South Korea 0.00
0.01 0.00 0.01 0.01
0.01
Thailand 0.15
0.22 0.28 0.32 0.32 0.32
Vietnam 1.76
2.02 1.46 1.11 1.10 1.14
อัตราการบริ จะเห็นว่าการบริโภคโดยเฉลี่ยของไทยยังต่ำกว่ามาเลเซีย
เวียตนาม จีน อินโดยนีเซีย และบรูไนด้วยซ้ำ
เมื่อพิจารณาการส่งออก ด้านล่างเรามีแนวโน้มการส่งออกสูงขึ้น
ปี 1995
2000 2005 2008 2009 2010
ประเทศใน
Asia - Pacific
Australia 275
481 348 351 346 392
Bangladesh 0
1 2 3 3 3
Brunei 174 194
204 181 176 176
China 476
427 513 495 435 434
Hong Kong 157
35 48 19 18 17
India 81
169 467 785 568 522
Indonesia 1,087
836 540
423 3 72 343
Japan 176 88
174 390 352 346
Malaysia 513
548 583 510 504 552
New Zealand 22
31 17 61 54 53
Pakistan 12 17 29
27 29 29
Papua New Guinea 94
73 56 47 45 42
Philippines 19
37 40 46 33
37
Singapore 981 847
1,284 1,575 1,752 1,728
South Korea 312
826 711 903 895 922
Sri Lanka 6
3 0 0 0 0
Taiwan 32
50 312 360 396 331
Thailand 26
148 193 231 246
236
Vietnam 162
331 365 296 298 283
โดยสรุป เมื่อเปรียบเทียบกับการผลิต
ตั้งแต่ 1995-2010 ของประเทศไทยจะเป็น 105 165 265 314 324 328ตามลำดับ
และการส่งออกจะเป็น 26 148 193 231 246 236 ตาม ลำดับ การส่งออกในปี 1995 ร้อยละ
27.5 ปี 2010 ปริมาณการส่งออกร้อยละ 71 อัตราการบริโภคของไทยต่อการผลิตตั้งแต่ปี
1995-2010 เท่ากับ 0.15 0.22 0.28 0.32
0.32 0.32 ตามลำดับ ค่าเฉลี่ยยังต่ำกว่าอัตราการบริโภคของมาเลซีย เมื่อพิจารณา อัตราการส่งออกของมาเลเซียเมื่อปี 2010คิดเป็นร้อยละ 77 อินโดนีเซียส่งออกคิดเป็นร้อยละ
35 ต่อการผลิต จะเห็นว่า อัตราการบริโภคน้ำมันและอัตราการส่งออกในบ้านเรายังต่ำกว่าอัตราการส่งออกของประเทศเพื่อบ้าน จากข้อมูลดังกล่าว พอจะคะเนได้ว่าอัตราการส่งออกและอัตราการบริโภคของไทยอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้รัฐบาลไทยใช้มาตรการการตั้งราคาและการกำหนดราคาภาษีรวมถึงค่าธรรมเนียมต่างๆ ท ำให้ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านใช้น้ำมันในราคาที่ถูกกว่าราคาน้ำมันในบ้านเรา ทั้งนี้ เนื่องจากรัฐบาลไทยต้องการกำไรจากการขายในอัตราที่สูง โดยไม่คำนึงถึงภาวะเศรษฐกิจโดยรวม และ เป็นที่น่าสังเกตว่าอัตราการบริโภคและการส่งออกของอินโดนิเซียมีแนวโน้มลดลง สำหรับมาเลเซียการส่งออกไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก และประเทศอื่นๆในเอเซียแปซิฟิกให้ความสำคัญต่อการบริโภคภายในมากกว่าการส่งออก
ดังนั้นจึงมีคำถามที่สำคัญต่อรัฐบาลไทยว่า
1. ทำไมประชานคนไทยจึงบริโภคน้ำมันในราคาที่แพงเกินจริง (รวมก๊าซธรรมชาติด้วย)
2.
เกิดอะไรขึ้นกับการบริหารจัดการพลังงานน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ(ล้มเหลว)
3.
ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นไปไหน ใครได้
4. ทำไมถึงให้ความสำคัญต่อการส่งออกมากกว่าการบริโภค(เพราะขยันก่อหนี้หรือไม่)
4. ทำไมถึงให้ความสำคัญต่อการส่งออกมากกว่าการบริโภค(เพราะขยันก่อหนี้หรือไม่)
5.
จากข้อมูลดังกล่าว รัฐบาลไทยจะปฏิเสธอย่างไร
Comments