การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
-->
-->
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
|
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์
|
หมวดที่
1 ข้อมูลโดยทั่วไป
1.
รหัสและชื่อวิชา
รหัสวิชา 2533310
ชื่อวิชา การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
|
2.
จำนวนหน่วยกิต
3 (3-0-6)
|
3.
หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
กลุ่มวิชาการบริหารงานท้องถิ่น
|
4.
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
|
5.
ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน
ภาคเรียนที่ 3 ชั้นปีที่ 3
|
6.
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน(Pre-requisite)(ถ้ามี)
2531102
หลักสังคมวิทยา
|
7.
รายวิชาที่เรียนพร้อมกัน(Co-requisite)(ถ้ามี)
2532101 สังคมวิทยาชนบทและเมือง
|
8.
สถานที่เรียน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาราชภัฏสวนดุสิต
|
9.
วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดครั้งล่าสุด
15
มี.ค.56
|
หมวดที่
2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
ศึกษาเพื่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจในแนวคิดหรือปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เข้าใจแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับปัจจเจก
ครัวเรือน ชุมชน และท้องถิ่น
มีความรู้ในการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนทั้งในระดับปัจเจก
ครัวเรือน ชุมชนและท้องถิ่นทั้งในภาคการเกษตร
และภาคอื่นๆทั้งในชุมชนเมืองและชนบท
|
2.
วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถเสนอแนะวิธีการแก้ไขในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในภาคการเกษตร
และภาควิสาหกิจชุมชนรวมทั้งสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อความสอดคล้องเหมาะสมต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดังกล่าว
|
หมวดที่
3 ลักษณะและการดำเนินการ
1.
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวคิด
การพัฒนาเศรษฐกิจ
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและท้องถิ่น องค์กรในการพัฒนา
รวมทั้งแนวคิดของกลยุทธ์ในการสนับสนุนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจกิจชุมชน
โดยมุ่งเน้นการทำความเข้าใจในกระบวนการสร้างพลังอำนาจของชุมชน
การสร้างความเข้มแข็ง
การสร้างผู้นำแก่ชุมชนและท้องถิ่นและการประเมินผลการพัฒนาดังกล่าว
| |||
2.
จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
| |||
บรรยาย
|
สอนเสริม
|
การฝึกปฏิบัติงาน/ภาคสนาม/การฝึกงาน
|
การศึกษาด้วยตนเอง
|
45
ชั่วโมง/ภาคการศึกษา
|
ตามความต้องการของนักศึกษา
|
6 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา
(ศึกษาดูงานในสถานที่จริง)
|
12
ชั่วโมงต่อสัปดาห์/
|
3.
จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
- อาจารย์จัดเวลา
6 ชั่วโมง
/สัปดาห์สำหรับให้คำปรึกษาแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
|
หมวดที่
4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
1.
คุณธรรม จริยธรรม
|
1.1
คุณธรรม
จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ
เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคลการไม่ลอกเลียนและไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา
มีความซื่อสัตย์ ซื่อตรงในการทำงาน การศึกษา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
โดยมีคุณธรรมและจริยธรรมดังนี้
(1)
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
(2) มีวินัย
ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(3)
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้
(4)
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
(5) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
(6) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ
ขององค์กรและสังคม
(7) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
(8) ซื่อสัตย์
สุจริต รักษาความลับขององค์กร
(9) เคารพ
ปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบขององค์กร
(10) มีความขยันหมั่นเพียร อดทน
เอื้อเฟื้อต่อสมาชิกในการทำงาน
|
1.2 วิธีการสอน
การสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายถึงเนื้อหาหลักของวิชา
ให้ผู้เรียนทำการค้นคว้า หรือทำความเข้าใจประเด็นปลีกย่อยด้วยตนเอง เน้น
เพื่อให้ผู้เรียนได้มีการฝึกฝนทักษะด้านต่าง ๆ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง
มีการพัฒนาค้นหาความรู้แล้วมาเสนอเพื่อสร้างทักษะในการอภิปราย
นำเสนอและการศึกษาจากสถานที่จริง การเรียนการสอนจะแทรกเนื้อหา/กิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ทั้งนี้
ได้นำรูปแบบการเรียนการสอนแบบต่างๆเพื่อทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการเรียนรู้
ทักษะในการคิดอย่างมีระบบ และการวิจัยและการแก้ปัญหา มีความรู้ในเรื่องที่ตนเองสนใจ
มีทักษะในการนำเสนอและอภิปราย ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและเป็นผู้มีคุณธรรม
จริยธรรมในตนเอง วิชาชีพและสังคม
|
1.3 วิธีการประเมินผล
(1) นักศึกษาประเมินการเรียนรู้ด้วยตนเอง
โดยใช้แบบสอบถามมาตรฐานที่วัดคุณธรรมจริยธรรม
(2) ประเมินโดยสังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกระหว่างการอภิปรายโดยมีการบันทึกผลการประเมินหลักฐานแจ้งให้นักศึกษาทราบด้วยทุกครั้ง
(3) ประเมินความซื่อสัตย์จากการพูดคุย
สัมภาษณ์เพื่อนร่วมงานและผู้เกี่ยวข้อง
|
2.
ความรู้
เชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการประยุกต์ให้เกิดผลต่อความเข้าใจกระบวนการ
ขั้นตอนและวิธีการต่างๆ ในการพัฒนาภายใต้พื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อย่างถ่องแท้เพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตและเพื่อเป็นพื้นฐานไปสู่การเรียนรู้ในระดับสูงต่อไป
|
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
1.
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
2. มีทักษะทางปัญญาทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบสามารถใช้ความรู้มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
3.
มีทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสาร วิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบาย
รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะที่เหมาะสมเพื่อแก้ไขปัญหา
4. สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้องมาใช้ประโยชน์ในเชิงวิชาการและปฏิบัติ
5. เข้าใจในบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
และปฏิบัติหน้าที่ได้ถูกต้อง
|
2.2 วิธีการสอน
(1) บรรยาย อภิปราย
การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความ
ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา
Problem-based Learning และ เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
(2)
บอกถึงแหล่งข้อมูลเพื่อให้นักศึกษาได้ค้นคว้าข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
(3) จัดประชุม
แบ่งงาน ติดตามงาน เป็นระยะเวลาที่กำหนด
หรือตามความเหมาะสม
(4)
การดูงานและศึกษาจากสถานที่จริง
(4) จัดทำรายงานผลวิเคราะห์ความต้องการ
และนำเสนอ
|
2.3 วิธีการประเมิน
(1)ทดสอบย่อย
สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก
Problem-based Learning
(2) ประเมินผลจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย ตามหัวข้อที่กำหนด
โดยอ้างอิงทฤษฎีในวิชาที่เกี่ยวข้อง
(3)
ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
และการได้รับการยอมรับจากผู้อื่นที่เกี่ยวข้อง
|
3.
ทักษะทางปัญญา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์
ประยุกต์แนวคิดกับปรากการณ์ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ได้เป็นอย่างดี
สามารถเสนอแนะวิธีการพัฒนา
แก้ไขปัญหาด้านของการพัฒนาภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
|
3.1
ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
(1)
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
(2) ความสามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหา
(3) ความสามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์
และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
(4)
ทักษะการเลือกสามารถนำความรู้ทางทฤษฎีเป็นพื้นฐานมาประยุกต์เพื่อพัฒนาและการขยายผล
|
3.2 วิธีการสอน
(1)
การมอบหมายโจทย์ปัญหา ให้ฝึกการค้นหาความต้องการ
และวิเคราะห์ผลความต้องการ
(2) จัดทำรายงานผลวิเคราะห์ความต้องการ และนำเสนอ
(3)ประชุมร่วมกันระหว่าง
อาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษา
(4) มอบหมายโจทย์ปัญหา
ด้านการพัฒนาภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(5)
การนำเสนอด้วยการจัดทำรายงานและการนำเสนอร่วมกัน
|
3.3 วิธีการประเมินผล
|
4.
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
|
4.1
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
(1) สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง
ๆในกลุ่มทั้งในบทบาท
ของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
(2) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
(3) มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
(4) สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม
พร้อมทั้งแสดงจุดยืน
อย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
(5) มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่องเรียนรู้ภาวะทาง
อารมณ์ของตนเอง เรียนรู้การทำงานร่วมกับผู้อื่น
เรียนรู้เทคนิคการขอความช่วยเหลือ หรือขอข้อมูลเพื่อนำมาประกอบการทำงาน
(6) สามารถวางตัวในตำแหน่งงานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างเหมาะสม
(7) กล้าแสดงความคิดเห็นในขอบเขตของงานและภาระหน้าที่
(8) พัฒนาตนเองจากการเรียนรู้ด้วยตนเอง และจากการฝึกอบรม
หรือการสอบถามเพื่อนร่วมงาน
(9)สร้างความสัมพันธ์อันดี
ทำให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อเฟื้อเกื้อกูลกันในหน่วยงาน
|
4.2 วิธีการสอน
(1)
สร้างกิจกรรมสันทนาการ ละลายพฤติกรรม
เพื่อให้เกิดความรู้รัก สามัคคี พร้อมทำงานเป็นทีม
(2) มอบหมายงานที่ต้องทำงานร่วมกันเป็นทีม
(3) มีการแบ่งงานกันอย่างชัดเจน มอบหมายงานที่ต้องพูดคุย ประชุมร่วมกัน
เพื่อมอบหมายงาน ติดตามงาน
ประเมินผล
|
4.3 วิธีการประเมินผล
(1) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม จากการสัมภาษณ์ผู้ร่วมงาน
หรือผู้เกี่ยวข้อง
(2) ประเมินจากข้อมูลที่ได้รับจากที่นักศึกษาไปสัมภาษณ์
(3) ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
และการได้รับการยอมรับจากเพื่อนร่วมงานหรือผู้เกี่ยวข้อง
|
5.
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข และการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร
|
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
(1) ทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการค้นคว้าและนำเสนองาน
(2) ทักษะสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน
เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่าง
เหมาะสม
(3)
ทักษะในการใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
(4) ทักษะในการใช้เทคโนโลยี เครื่องมือ อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์
ในการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการทำงาน เช่น การ
โต้ตอบ
แสดงความคิดเห็น ประสานการทำงาน การรับ-ส่งงาน การซักถามข้อสงสัย
(5) สามารถใช้เทคโนโลยี หรือ
อินเทอร์เน็ตในการค้นคว้า หาข้อมูลประกอบการทำงาน
(6) สามารถสื่อสารโดยใช้ภาษาที่เหมาะสม
และส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน
|
5.2 วิธีการสอน
(1)
มอบหมายงานผ่านระบบเทคโนโลยี การใช้ทักษะด้านเทคโนโลยี
ในการนำเสนอข้อมูล
(2)
มอบหมายงานที่ต้องมีการสื่อสารโดยใช้ภาษาทั้งไทยและต่างประเทศ ทั้งการพูด เขียน
ในการประสาน
การทำงาน
(3)
มอบหมายงานที่ต้องใช้เทคโนโลยี ในการแก้ปัญหา หรือนำเสนองาน
|
5.3 วิธีการประเมินผล
(1)
ประเมินจากเอกสาร ที่นำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสื่อ
(2) ประเมินจากเอกสารที่เขียน เช่น E-Mail ที่ใช้สื่อสารเพื่อการทำงาน
(3) ประเมินจากผลการแก้ปัญหาว่า
โดยเน้นความถูกต้องและเหมาะสม
|
หมวดที่
5 แผนการสอนและการประเมินผล
1.
แผนการสอน
| ||||
สัปดาห์ที่
|
หัวข้อ/รายละเอียด
|
จน.ชั่วโมง
|
กิจกรรมการเรียนการสอน/สื่อที่ใช้
|
ผู้สอน
|
1
|
1. ภาพรวมแนวการเรียนการสอน
วิธีการเรียนการสอนและการประเมินผลการเรียนรู้
2. การมอบหมายงาน การอธิบายถึงกระบวนการทำงาน
และวิธีการประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมาย
3. ความหมายและแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3.1 ความหมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอ
เพียงในเชิงเศรษฐศาสตร์และในเชิง สังคม
3.2
การยอมรับและการรับรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเวทีระหว่างประเทศเพื่อเป็นพื้นฐานในการพัฒนาในยุคโลกาภิวัตน์
3.3
ทางเลือกในการพัฒนาสำหรับการพัฒนาประเทศในภูมิภาคเอเชีย
4. แนวความคิดและหลักการ
4.1
นานาทัศนะของนักเศรษฐศาสตร์
4.2
นานาทัศนะของนักสังเคราะห์
4.3 ความสอดคล้องกับแนวคิดเศรษฐ
ศาสตร์กระแสหลัก
5.4 การประยุกต์ใช้ในระดับมหภาค
|
3
ชั่วโมง
|
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน หนังสือ ตำรา
เวบไซด์
|
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
|
2
|
5. ความหมายในเชิงทฤษฎีของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5.1 องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5.1.1 กรอบแนวคิด
5.1.2 คุณลักษะ
5.1.3 คำนิยาม
5.1.4 เงื่อนไข
5.1.5 แนวทางปฏิบัติและผลที่คาดว่าจะได้รับ
5.1.6 ข้อสรุป
|
3
ชั่วโมง
|
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน หนังสือ
ตำรา
เวบไซด์ การ
ยกตัวอย่าง กรณีศึกษาประกอบการบรรยาย
|
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
|
สัปดาห์ที่
|
หัวข้อ/รายละเอียด
|
จน.ชั่วโมง
|
กิจกรรมการเรียนการสอน/สื่อที่ใช้
|
ผู้สอน
|
3
|
6. ความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีใหม่และ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
6.1 แนวคิดทฤษีใหม่ตามกระแสพระราชดำรัส
6.2
ความสัมพันธ์ระหว่างแนวพระราช
ดำริเรื่องทฤษฎีใหม่และเศรษฐกิจพอเพียง
6.3 แนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่
6.4 ลักษณะสำคัญของเกษตรทฤษฎีใหม่
6.5 การเปรียบเทียบเกษตรทฤษฎีใหม่กับเศรษฐกิจพอเพียง
6.6 การเปรียบเทียบทฤษฎีใหม่ขั้นต่างๆ
และเศรษฐกิจพอเพียงแบบต่างๆ
|
3
ชั่วโมง
|
ศึกษาจากเอกสาร
ประกอบการสอน
เวบไซด์ การยก ตัวอย่าง
กรณีศึกษาประกอบการบรรยาย
|
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
|
4
|
7.
การประยุกต์ทฤษฎีใหม่และเศรษฐกิจพอเพียงในด้านต่างๆ 9 ด้าน
7.1 ด้านความคิด
7.2
ด้านการเมือง
7.3 ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
7.4
ด้านการวางผังภาคและเมือง
7.5
ด้านการบริหารทรัพยากรป่าไม้และน้ำ
7.6
ด้านการเกษตรและการอารักขาพืช
7.7 ด้านการเรียนรู้และการศึกษา
|
3
ชั่วโมง
|
ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน
เวบไซด์ การยก ตัวอย่าง
กรณีศึกษาประกอบการบรรยาย
|
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
|
5-6
|
8. ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการบริหารเศรษฐ
กิจส่วนรวม เศรษฐกิจรายสาขาการเมืองการ
ปกครอง การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม วิถีชีวิตและวัฒนธรรม
8. ตัวอย่างการประยุกต์เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในด้านต่างๆ
8.1 การศึกษา
8.2
เศรษฐกิจส่วนรวม
8.3
เศรษฐกิจรายสาขา
8.4 การเมืองการปกครอง
8.5 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
|
6
ชั่วโมง
|
ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน
เวบไซด์ การยก ตัวอย่าง
กรณีศึกษาประกอบการบรรยาย
|
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
|
สัปดาห์ที่
|
หัวข้อ/รายละเอียด
|
จน.ชั่วโมง
|
กิจกรรมการเรียนการสอน/สื่อที่ใช้
|
ผู้สอน
|
แวดล้อมในท้องถิ่นและชุมชน
8.6
วิถีชีวิตและวัฒนธรรมท้องถิ่นและชุมชน
|
||||
7
|
9.
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับแนวคิดทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ในมิติต่างๆ
9.1 องค์ประกอบ
9.1.1 ความพอประมาณ
9.1.2 ความมีเหตุผล
9.1.3
การมีภูมิคุ้มกันในตัว
9.1.4 เงื่อนไขความรู้และคุณธรรม
9.6 การเชื่อมโยงองค์ประกอบสามประ
การเข้ากับเงื่อนไขความรู้และคุณธรรม
9.7 ตัวอย่างการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
|
3
ชั่วโมง
|
ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน
เวบไซด์ การยก ตัวอย่าง
กรณีศึกษาประกอบการบรรยาย
|
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
|
8
|
10.
การสร้างความเข้าใจและการขยายผลหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
10.1 การสร้างความเข้าใจทั้งในระดับความคิดและการประยุกต์ใช้เพื่อกำหนดกลยุทธ์ในการพัฒนาประเทศ
10.2 การพัฒนาอย่างยั่งยืนภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสมดุล
10.3 การประยุกต์ในภาคการเกษตรและการส่งออก
10.4 บทบาทภาครัฐในด้านเศรษฐกิจและสังคม
|
3
ชั่วโมง
|
บรรยาย
ศึกษาจากตัวอย่างในสถานที่จริงซึ่งยกมาเป็น
กรณีศึกษาประกอบการบรรยายนอกชั้นเรียน
|
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์ร่วมกับนักศึกษา
|
9-11
|
11. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับวิถีชุมชน
11.1 ความหมายจากประสบการณ์ของชุมชน
11.2 การปฏิสัมพันธ์ที่มีต่อโลกาภิวัตน์
11.3 ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
11.4 เป้าหมายในแต่ละภาค
11.5 ความสอดคล้องต่อวิถีและกิจกรรม
|
9
ชั่วโมง
|
บรรยาย
ศึกษาจากสถานที่จริง การบรรยายนอกชั้นเรียน
|
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์ร่วมกับนักศึกษาและวิทยากรในท้องถิ่น
|
สัปดาห์ที่
|
หัวข้อ/รายละเอียด
|
จน.ชั่วโมง
|
กิจกรรมการเรียนการสอน/สื่อที่ใช้
|
ผู้สอน
|
ของชุมชนและท้องถิ่น
11.5.1 ระดับจิตสำนึก
11.5.2 ระดับปฏิบัติ
11.3 ระดับปฏิเวธ
|
||||
12-13
|
12. โครงการวิจัยเชิงในเศรษฐกิจพอเพียงในระดับชุมชนและตำบล
12.1 การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
12.2 การแปลงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติไปสู่การปฏิบัติ
12.2.1 โครงการพัฒนาข้อมูลข่าวสารและระบบเครือข่ายทุน ทางสังคม
12.2.2 การสนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาคีการพัฒนาในการจัดทำแผนชุมชน
12.2.3 การดำเนินการเพื่อขยายเครือข่าย การพัฒนาในระดับพื้นที่บนพื้นฐาน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
12.2.4 การจัดทำหลักสูตร การศึกษาที่เกี่ยวข้องกับหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งในระดับประถมและมัธยมศึกษา
|
6
ชั่วโมง
|
บรรยาย
ศึกษาจากสถานที่จริง การบรรยายนอกชั้นเรียน
|
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์ร่วมกับนักศึกษาและวิทยากรในท้องถิ่น
|
14-15
|
13. การนำเสนอประเด็น การถกปัญหา การประยุกต์แนวคิดเพื่อการวิเคราะห์
สังเคราะห์
การอภิปรายแลกเปลี่ยนและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความรู้จากกระบวนการทำงานและงานที่ทำ
|
6
ชั่วโมง
|
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์ร่วมกับนักศึกษา
|
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์ร่วมกับนักศึกษาและ
|
16
|
สอบปลายภาค
|
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ (16 สัปดาห์)
| ||||
กิจกรรมที่
|
ผลการเรียนรู้*
|
วิธีการประเมิน
|
สัปดาห์ที่ประเมิน
|
สัดส่วนของการประเมิน
|
1
|
1-3,4-6
1-6
7-9
10-12
1-13
|
ทดสอบย่อยครั้งที่
1,2,
สอบกลางภาค
ทดสอบย่อยครั้งที่
2
ทดสอบย่อยครั้งที่
2
สอบปลายภาค
|
6
8
7
13
16
|
10%
20%
10%
10%
30%
|
2
|
14-15
|
วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอ
รายงาน
การทำงานกลุ่มและผลงาน
|
ตลอดภาค
การศึกษา
|
20%
|
หมวดที่
6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1.
เอกสารและตำรา
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์.
2552. เอกสารประกอบการสอน. เอกสารรวบรวมเย็บเล่ม.
วรรณกรรมปริทัศน์-ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง.กรอบแนวคิดทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง .
กลุ่มพัฒนากรอบแนวคิดทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมีนาคม
๒๕๔๖.
เอกสารรวบรวมเย็บเล่ม.เศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง.การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง.
|
2.
เอกสารและข้อมูลสำคัญ
พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร
ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์:
๒๐ สิงหาคม ๒๕๐๗
พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรและอนุปริญญาบัตรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย :
๘ กรกฎาคม
๒๕๐๘
พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ
บางแสน:
๓๐ มิถุนายน
๒๕๑๙
พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ของมหาวิทยาลัยรามคำแหง
:
๒๒ ธันวาคม ๒๕๒๐
พระราชดำรัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา :
๔ ธันวาคม ๒๕๔๐
|
3.
เอกสารและข้อมูลแนะนำ
HTTP:http://www.thprc.or/node
HTTP:
http://www.nesac.go.th
HTTP:
http://www.rdpb.go.th
|
หมวดที่
7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
1.
กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา
ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- ข้อเสนอแนะผ่านเวบบอร์ด
ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
|
2.
กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
- การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
|
3.
การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ
2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง
และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
|
4.
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ
ตามที่คาดหวังจากการ
เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
รวมถึงพิจารณาจากผล
การทดสอบย่อย
และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา
มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น
หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา
โดย
ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ
และการให้คะแนนพฤติกรรม
|
5.
การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน
และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา
ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ
สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี
หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ
4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน
เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มา
จากงานวิจัยของอาจารย์ต่าง ๆ
|
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
แนวการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
1.
รหัสวิชา 2533310
2. ชื่อวิชา (ภาษาไทย) การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง หน่วยกิต 3(3-0-6)
(ภาษาอังกฤษ) Local and Community Development with Sufficiency Economy
Approaches
3.
วิชาสอนในระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก
4.
วิชาบังคับก่อนหน้านี้ หลักสังคมวิทยา
5. วิชาที่ต้องเรียนร่วมกับรายวิชานี้ สังคมวิทยาชนบทและเมือง
6.
สถานที่เรียน ในมหาวิทยาลัย
ศูนย์การศึกษา.....................................
7. ภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2556
8. อาจารย์ผู้สอน ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
โทรศัพท์ภายใน 02-2445816
โทรศัพท์มือถือ 087-1111165
e-mail Sup_w_at@hotmail.com
9. หลักสูตร รัฐประศาสนศาสตร์
คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
10. คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวคิด การพัฒนาเศรษฐกิจ ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและท้องถิ่น องค์กรในการพัฒนา รวมทั้งแนวคิดของกลยุทธ์ในการสนับสนุนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจกิจชุมชน โดยมุ่งเน้นการทำความเข้าใจในกระบวนการสร้างพลังอำนาจของชุมชน การสร้างความเข้มแข็ง การสร้างผู้นำแก่ชุมชนและท้องถิ่นและการประเมินผลการพัฒนาดังกล่าว
11. จุดประสงค์
11.1 พุทธิพิสัย
(ความรู้ที่ได้รับจากการเรียน)
11.1.1 ส่งเสริมให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
11.1.2 ส่งเสริมให้นักศึกษามีความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการประยุกต์ให้เกิดผลต่อความเข้าใจกระบวนการ
ขั้นตอนและวิธีการต่างๆ ในการพัฒนาภายใต้พื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
11.2 ทักษะพิสัย (ความสามรถ
ทักษะการปฏิบัติ การใช้ IT
ที่ได้รับจากการเรียน)
11.2.1 ส่งเสริมให้นักศึกษามีความสามารถในการบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้องมาใช้ประโยชน์ในเชิงวิชาการและปฏิบัติ
11.2.2 ส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะในการใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสมเพื่อการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลประกอบการทำงาน
11.2.3 ส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยี เครื่องมือ อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์
ในการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพเช่น การนำเสนอ การโต้ตอบ แสดงความคิดเห็น ประสานการทำงาน
การรับ-ส่งงาน การซักถามข้อสงสัย
11.3 จิตพิสัย (ทัศนคติ คุณธรรม
จริยธรรม ที่ได้รับจาการเรียน)
11.3.1 พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ
มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคลการไม่ลอกเลียนและไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา
มีความซื่อสัตย์ ซื่อตรงในการทำงาน การศึกษา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
11.3.2 พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
มีความขยันหมั่นเพียร อดทน มีความเอื้อเฟื้อเสียสละ
12. วิธีการและการจัดการเรียนการสอน
12.1 การสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
มีการบรรยายถึงเนื้อหาหลักของวิชา ให้ผู้เรียนทำการค้นคว้า หรือทำความเข้าใจประเด็นปลีกย่อยด้วยตนเอ
12.2 การจัดการเรียนการสอนเน้นการวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง มีการพัฒนาค้นหาความรู้แล้วมาเสนอเพื่อสร้างทักษะในการอภิปราย
นำเสนอและการศึกษาจากสถานที่จริง
12.3 การเรียนการสอนจะแทรกเนื้อหา/กิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ทั้งนี้ ได้นำรูปแบบการเรียนการสอนแบบต่างๆเพื่อทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการเรียนรู้
ทักษะในการคิดอย่างมีระบบ และการวิจัยและการแก้ปัญหา มีความรู้ในเรื่องที่ตนเองสนใจ
13. แนวการจัดการเรียนการสอน
สัปดาห์
|
เนื้อหา
|
กิจกรรมการเรียนการสอน
|
สื่อ
การสอน
|
การวัดผล
|
1
|
1. ภาพรวมแนวการเรียนการสอน
วิธีการเรียนการสอนและการประเมินผลการเรียนรู้
2. การมอบหมายงาน
การอธิบายถึงกระบวนการทำงาน และวิธีการประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมาย
3. ความหมายและแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3.1 ความหมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอ
เพียงในเชิงเศรษฐศาสตร์และในเชิง
สังคม
3.2
การยอมรับและการรับรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเวทีระหว่าง
|
บรรยาย
ศึกษาค้นคว้าเอกสารตำรา
อภิปราย
นำเสนอ
|
เอกสารประกอบการสอน หนังสือ ตำรา เว็บไซด์
|
วัดความเข้าใจโดยตั้งคำถามและตอบคำถามที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาที่ศึกษา
|
สัปดาห์
|
เนื้อหา
|
กิจกรรมการเรียนการสอน
|
สื่อ
การสอน
|
การวัดผล
|
ประเทศเพื่อเป็นพื้นฐานในการพัฒนาในยุคโลกาภิวัตน์
3.3
ทางเลือกในการพัฒนาสำหรับการพัฒนาประเทศในภูมิภาคเอเชีย
4.
แนวความคิดและหลักการ
4.1 นานาทัศนะของนักเศรษฐศาสตร์
4.2 นานาทัศนะของนักสังเคราะห์
4.3 ความสอดคล้องกับแนวคิดเศรษฐ
ศาสตร์กระแสหลัก
4.4 การประยุกต์ใช้ในระดับมหภาค
|
||||
2
|
5.
ความหมายในเชิงทฤษฎีของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5.1 องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5.1.1 กรอบแนวคิด
5.1.2 คุณลักษะ
5.1.3 คำนิยาม
5.1.4 เงื่อนไข
5.1.5 แนวทางปฏิบัติและผลที่คาดว่าจะได้รับ
5.1.6 ข้อสรุป
|
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน หนังสือ ตำรา
เว็บไซด์
การ
ยกตัวอย่าง
กรณีศึกษาประกอบการบรรยาย
อภิปราย นำเสนอ
|
บรรยาย
เอกสารประกอบการสอน หนังสือ ตำรา
เว็บไซด์
กรณีศึกษา
|
ตั้งคำถามและตอบคำถามที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาที่ศึกษา
|
3
|
6.
ความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีใหม่และ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
6.1
แนวคิดทฤษีใหม่ตามกระแสพระราชดำรัส
6.2
ความสัมพันธ์ระหว่างแนวพระราช
ดำริเรื่องทฤษฎีใหม่และเศรษฐกิจพอเพียง
6.3 แนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่
6.4 ลักษณะสำคัญของเกษตร
|
|||
สัปดาห์
|
เนื้อหา
|
กิจกรรมการเรียนการสอน
|
สื่อ
การสอน
|
การวัดผล
|
ทฤษฎีใหม่
6.5
การเปรียบเทียบเกษตรทฤษฎีใหม่กับเศรษฐกิจพอเพียง
6.6
การเปรียบเทียบทฤษฎีใหม่ขั้นต่างๆ และเศรษฐกิจพอเพียงแบบต่าง
|
||||
4
|
7. การประยุกต์ทฤษฎีใหม่และเศรษฐกิจพอเพียงในด้านต่างๆ
9 ด้าน
7.1
ด้านความคิด
7.2 ด้านการเมือง
7.3 ด้านการพัฒนาสังคม
7.4 ด้านการวางผังภาคและเมือง
7.5 ด้านการบริหารทรัพยากรป่าไม้และน้ำ
7.6 ด้านการเกษตรและการอารักขาพืช
7.7 ด้านการดำเนินชีวิต
7.8 ด้านจริยธรรม
7.9 ด้านการเรียนรู้และการศึกษา
|
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน หนังสือ ตำรา
เว็บไซด์
การ
ยกตัวอย่าง
กรณีศึกษาประกอบการบรรยาย
อภิปราย นำเสนอ
|
บรรยาย
เอกสารประกอบการสอน หนังสือ ตำรา
เว็บไซด์
กรณีศึกษา
|
ตั้งคำถามและตอบคำถามที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาที่ศึกษา
|
5-6
|
8.
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการบริหารเศรษฐ
กิจส่วนรวม เศรษฐกิจรายสาขาการเมืองการปกครอง การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม วิถีชีวิตและวัฒนธรรม
8.
ตัวอย่างการประยุกต์เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในด้านต่างๆ
8.1 การศึกษา
8.2 เศรษฐกิจส่วนรวม
8.3 เศรษฐกิจรายสาขา
8.4 การเมืองการปกครอง
8.5 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชนและท้องถิ่น
8.6 วิถีชีวิตและวัฒนธรรมท้องถิ่นและชุมชน
|
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน หนังสือ ตำรา
เว็บไซด์
การ
ยกตัวอย่าง กรณีศึกษาประกอบการบรรยาย
อภิปราย นำเสนอ
|
บรรยาย
เอกสารประกอบการสอน หนังสือ ตำรา
เว็บไซด์
กรณีศึกษา
|
ตั้งคำถามและตอบคำถามที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาที่ศึกษา
ทดสอบย่อย
|
สัปดาห์
|
เนื้อหา
|
กิจกรรมการเรียนการสอน
|
สื่อ
การสอน
|
การวัดผล
|
7
|
9. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับแนวคิดทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ในมิติต่างๆ
9.1 องค์ประกอบ
9.1.1 ความพอประมาณ
9.1.2 ความมีเหตุผล
9.1.3 การมีภูมิคุ้มกันในตัว
9.1.4 เงื่อนไขความรู้และคุณธรรม
9.6 การเชื่อมโยงองค์ประกอบสามประ
การเข้ากับเงื่อนไขความรู้และคุณธรรม
9.7
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
|
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน หนังสือ ตำรา
เว็บไซด์
การ
ยกตัวอย่าง
กรณีศึกษาประกอบการบรรยาย
อภิปราย นำเสนอ
|
บรรยาย
เอกสารประกอบการสอน หนังสือ ตำรา
เว็บไซด์
กรณีศึกษา
|
ตั้งคำถามและตอบคำถามที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาที่ศึกษา
ทดสอบย่อย
|
8
|
10. การสร้างความเข้าใจและการขยายผลหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
10.1 การสร้างความเข้าใจทั้งในระดับความคิดและการประยุกต์ใช้เพื่อกำหนดกลยุทธ์ในการพัฒนาประเทศ
10.2 การพัฒนาอย่างยั่งยืนภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสมดุล
10.3
การประยุกต์ในภาคการเกษตรและการส่งออก
10.4
บทบาทภาครัฐในด้านเศรษฐกิจและสังคม
|
บรรยาย
ศึกษาจากตัวอย่างในสถานที่จริงซึ่งยกมาเป็น
กรณีศึกษาประกอบการบรรยายนอกชั้นเรียน
อภิปราย นำเสนอรายงาน
|
บรรยาย
เอกสารประกอบการสอน หนังสือ ตำรา
เว็บไซด์
กรณีศึกษา
|
สอบกลางภาค
|
9-11
|
11.
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับวิถีชุมชน
11.1 ความหมายจากประสบการณ์ของชุมชน
|
บรรยาย
ศึกษาจากสถานที่จริง การบรรยายนอกชั้นเรียน
|
ผู้สอน
วิทยากรในท้องถิ่น
|
นำเสนอ
จัดทำรายงานสรุป
|
สัปดาห์
|
เนื้อหา
|
กิจกรรมการเรียนการสอน
|
สื่อ
การสอน
|
การวัดผล
|
11.2 การปฏิสัมพันธ์ที่มีต่อโลกาภิวัตน์
11.3 ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
11.4 เป้าหมายในแต่ละภาค
11.5 ความสอดคล้องต่อวิถีและกิจกรรมของชุมชนและท้องถิ่น
11.5.1 ระดับจิตสำนึก
11.5.2 ระดับปฏิบัติ
11.3 ระดับปฏิเวธ
|
||||
12-13
|
12.
โครงการวิจัยเชิงในเศรษฐกิจพอเพียงในระดับชุมชนและตำบล
12.1 การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
12.2 การแปลงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติไปสู่การปฏิบัติ
12.2.1 โครงการพัฒนาข้อมูลข่าวสารและระบบเครือข่ายทุน ทางสังคม
12.2.2 การสนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาคีการพัฒนาในการจัดทำแผนชุมชน
12.2.3 การดำเนินการเพื่อขยายเครือข่าย การพัฒนาในระดับพื้นที่บนพื้นฐาน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
12.2.4 การจัดทำหลักสูตร การศึกษาที่เกี่ยวข้องกับหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งในระดับประถมและมัธยมศึกษา
|
บรรยาย
ศึกษาจากสถานที่จริง การบรรยายนอกชั้นเรียน
|
ผู้สอน
วิทยากรในท้องถิ่น
|
นำเสนอ
จัดทำรายงานสรุป
ทดสอบย่อย
|
14-15
|
13. การนำเสนอประเด็น
การถกปัญหา การประยุกต์แนวคิดเพื่อการวิเคราะห์ สังเคราะห์ การอภิปราย
|
บรรยาย
ศึกษาจากตัวอย่างในสถานที่จริงซึ่งยกมาเป็น
|
บรรยาย
เอกสารประกอบการสอน
|
บรรยาย
ศึกษาจากตัวอย่างในสถานที่จริงซึ่ง
|
สัปดาห์
|
เนื้อหา
|
กิจกรรมการเรียนการสอน
|
สื่อ
การสอน
|
การวัดผล
|
แลกเปลี่ยนและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความรู้จากกระบวนการทำงานและงานที่ทำ
|
กรณีศึกษาประกอบการบรรยายนอกชั้นเรียน
อภิปราย นำเสนอรายงาน
|
หนังสือ ตำรา
เว็บไซด์
กรณีศึกษา
|
ยกมาเป็น
กรณีศึกษาประกอบการบรรยายนอกชั้นเรียน
อภิปราย นำเสนอรายงาน
|
|
16
|
สอบปลายภาค
|
สอบ
|
ข้อสอบ
|
สอบข้อเขียน
|
14.
การเรียนส่วนที่เพิ่มเติม ชั่วโมงเรียนที่คาดหวังสำหรับผู้เรียน ไม่มี
15.
การจัดเวลาของอาจารย์สำหรับให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการเป็นรายบุคคล
(ไม่น้อยกว่า 6 ช.ม./สัปดาห์)
วันอังคาร 9.00-11.00 น. วันพฤหัสบดี 13.00-16.00 น.
16.
สื่อการเรียนการสอน (เอกสาร ชุดการสอน เว็ปไซต์ กิจกรรม
เครื่องสื่อหรือนวัตกรรมที่ใช้ในการสอน ฯลฯ)
(ควรมีสื่อการเรียนการสอนที่หลากหลาย
หรือกิจกรรมที่แสดงถึงผู้เรียนเป็นสำคัญ)
16.1 เอกสารประกอบการสอน
16.2 เอกสารอีเลคโทรนิค จากเว็บไซด์ rotoratuk.blogspot.com;
supwat.blogspot.com
16.3 การนำเสนอรายงาน การอภิปราย
17. การประเมินผล
17.1 ประเมินผลระหว่างภาค ร้อยละ 70 แบ่งออกตามกิจกรรมและเนื้อหาดังนี้
-
แบบฝึกหัด ร้อยละ 10
-
ทดสอบย่อย 10
- สอบกลางภาค 30
-
การนำเสนอ ร้อยละ 10
-
งานกลุ่ม ร้อยละ 10
17.2 ประเมินผลปลายภาค ร้อยละ 30
รวม 100
โดยรายละเอียดการประเมินผลระหว่างภาคและปลายภาค
แสดงในเชิง Rubric
ดังนี้
(ควรมีเนื้อหาการเรียน
ตามคำอธิบายรายวิชา และการสอนคุณธรรม จริยธรรม มีวินัยที่พึงประสงค์)
งาน/กิจกรรม
|
ระดับคะแนน
|
|||||
4
|
3
|
2
|
1
|
|||
1.ทดสอบย่อย
1.1 ครั้งที่ 1.
จากเนื้อหาในบทที่ 1-3
1.2
ครั้งที่ 2 จากเนื้อหาในบทที่ 7-9
1.3 ครั้งที่ 3 จากเนื้อหาในบทที่ 10-12
|
มีความเข้าใจในทฤษฎี แนวคิดหลักการและการประยุกต์ใช้ในระดับดีมาก
|
มีความเข้าใจในทฤษฎี แนวคิดหลักการและการประยุกต์ใช้ในระดับดี
|
มีความเข้าใจในทฤษฎี แนวคิดหลักการและการประยุกต์ใช้ในระดับน่าพอใจ
|
มีความเข้าใจในทฤษฎี แนวคิดหลักการและการประยุกต์ใช้ในระดับอ่อน
|
||
2. การนำเสนอและการจัดทำรายงานและการทำงานเป็นกลุ่ม
|
-
อ่านสรุปความได้ดีไม่ลอกเลียนหรือละเมิดงานของผู้อื่น
สามารถเขียนรายงานจากความรู้ที่ได้จากการอ่านด้วยตนเอง
-
การจัดทำรายงานมีแบบฟอร์มที่ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดและเป็นไปตามข้อตกลงที่ได้ทำทำความเข้าใจไว้ในเบื้องต้น
- มีการทำงานในรูปแบบกลุ่มหรือทีมงานที่ดี
แบ่งหน้าที่รับผิดชอบและร่วมกันทำงานอย่างตั้งใจมีประสิทธิภาพ
-
มีการตระเตรียมงานเพื่อให้การนำเสนอรายงานเป็นไปอย่างราบรื่น
กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ซักถามจากเพื่อนร่วมชั้น
|
-
อ่านสรุปความได้ดีไม่ลอกเลียนหรือละเมิดงานของผู้อื่น
สามารถเขียนรายงานจากความรู้ที่ได้จากการอ่านด้วยตนเอง
-
การจัดทำรายงานมีแบบฟอร์มที่ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดและเป็นไปตามข้อตกลงที่ได้ทำทำความเข้าใจไว้ในเบื้องต้น
- มีการทำงานในรูปแบบกลุ่มหรือทีมงานที่ดี
แบ่งหน้าที่รับผิดชอบและร่วมกันทำงานอย่างตั้งใจมีประสิทธิภาพ
-
มีการตระเตรียมงานเพื่อให้การนำเสนอรายงานเป็นไปอย่างราบรื่น
กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ซักถามจากเพื่อนร่วมชั้น
|
-
อ่านสรุปความได้ดีไม่ลอกเลียนหรือละเมิดงานของผู้อื่น สามารถเขียนรายงานจากความรู้ที่ได้จากการอ่านด้วยตนเอง
-
การจัดทำรายงานมีแบบฟอร์มที่ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดและเป็นไปตามข้อตกลงที่ได้ทำทำความเข้าใจไว้ในเบื้องต้น
- มีการทำงานในรูปแบบกลุ่มหรือทีมงานที่ดี
แบ่งหน้าที่รับผิดชอบและร่วมกันทำงานอย่างตั้งใจมีประสิทธิภาพ
- มีการตระเตรียมงานเพื่อให้การนำเสนอรายงานเป็นไปอย่างราบรื่น
กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ซักถามจากเพื่อนร่วมชั้น
|
-
อ่านสรุปความได้ดีไม่ลอกเลียนหรือละเมิดงานของผู้อื่น
สามารถเขียนรายงานจากความรู้ที่ได้จากการอ่านด้วยตนเอง
-
การจัดทำรายงานมีแบบฟอร์มที่ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดและเป็นไปตามข้อตกลงที่ได้ทำทำความเข้าใจไว้ในเบื้องต้น
- มีการทำงานในรูปแบบกลุ่มหรือทีมงานที่ดี
แบ่งหน้าที่รับผิดชอบและร่วมกันทำงานอย่างตั้งใจมีประสิทธิภาพ
-
มีการตระเตรียมงานเพื่อให้การนำเสนอรายงานเป็นไปอย่างราบรื่น
กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ซักถามจากเพื่อนร่วมชั้น
|
||
งาน/กิจกรรม
|
ระดับคะแนน
|
|||||
4
|
3
|
2
|
1
|
|||
เรียน
-
การทำงานข้างต้นมีความบกพร่องน้อยมาก
|
เรียน
- การทำงานข้างต้นมีความบกพร่องน้อย
|
เรียน
-
การทำงานข้างต้นมีความบกพร่องค่อนข้างมาก
|
เรียน
- การทำงานข้างต้นมีความบกพร่องมาก
|
|||
3. การทำแบบฝึก
|
ทำได้ครบถ้วนตามจำนวนข้อที่กำหนดและมีถูกต้องสมบูรณ์
|
ทำได้ไม่ครบถ้วนขาด1/4
ของจำนวนคำถามของแบบฝึกแต่มีความถูกต้องสมบูรณ์
หรือทำได้ครบถ้วนตามจำนวนข้อที่กำหนดแต่ไม่ถูกต้องสมบูรณ์1/3ของจำนวน
ข้อของแบบฝึก
|
ทำได้ไม่ครบถ้วนขาด2/4
ของจำนวนคำถามของแบบฝึกแต่มีความถูกต้องสมบูรณ์ หรือทำได้ครบถ้วนตามจำนวนข้อที่กำหนดแต่ไม่ถูกต้องสมบูรณ์2/4ของจำนวน
ข้อของแบบฝึก
|
ทำได้ไม่ครบถ้วนขาด3/4
ของจำนวนคำถามของแบบฝึกแต่มีความถูกต้องสมบูรณ์
หรือทำได้ครบถ้วนตามจำนวนข้อที่กำหนดแต่ไม่ถูกต้องสมบูรณ์3/4ของจำนวน
ข้อของแบบฝึก
|
||
4. การสอบกลางภาคจากเนื้อหาจากบทที่
1-6
|
มีความเข้าใจในทฤษฎี
แนวคิดหลักการและการประยุกต์ใช้จากเนื้อหาในบทที่ 1-6ระดับดีมาก
|
มีความเข้าใจในทฤษฎี
แนวคิดหลักการและการประยุกต์ใช้จากเนื้อหาในบทที่ 1-6ระดับดี
|
มีความเข้าใจในทฤษฎี
แนวคิดหลักการและการประยุกต์ใช้จากเนื้อหาในบทที่ 1-6ระดับน่าพอใจ
|
มีความเข้าใจในทฤษฎี
แนวคิดหลักการและการประยุกต์ใช้ใจากเนื้อหาในบทที่ 1-6ระดับอ่อน
|
||
5. การสอบปลายภาค
วัดความสามารถ
มีความสามารถ
1.
เข้าใจในเนื้อหาที่เป็นพื้นฐานแนวคิดทฤษฎีในระดับดีมาก
2. ประยุกต์แนวคิดไปใช้ได้ดีมาก
3.
การวิเคราะห์สถานการณ์และนำความรู้ไปใช้แก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษาได้ดีมาก
|
ทำได้ทั้ง 4 ประการในระดับดีมาก
|
มีความบกพร่องหรือผิดพลาดในข้อใดข้อหนึ่งใน
4 ประการ
|
มีความบกพร่องหรือผิดพลาดใน 2 ข้อใน
4 ประการ
|
มีความบกพร่องหรือผิดพลาดใน 3 ข้อใน
4 ประการ
|
||
งาน/กิจกรรม
|
ระดับคะแนน
|
|||||
4
|
3
|
2
|
1
|
|||
4. ให้ข้อเสนอแนะทั้งในเชิงวิชาการและเชิงสร้างสรรค์
|
||||||
18. เกณฑ์สรุปการประเมินผลการเรียน
เกรด
|
คะแนน
|
เกณฑ์การพิจารณา
|
A
|
90-100
|
- พิจารณาจากการประเมินงาน/กิจกรรมที่ครบถ้วน
- พิจารณาจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน
การทำงานกลุ่ม ความสนใจ
ความพยายาม ความตั้งใจ ความร่วมมือร่วมใจ ความมีจริยธรรมในการทำงานไม่
ลอกเลียน มีความซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา
-
กรณีเป็นนักศึกษาพิเศษ และมีความแตกต่างด้านความสามารถ จะพิจารณาเป็น
กรณีและจัดให้มีการเสริมเพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างเหมาะสม
|
B+
|
85-89
|
|
B
|
75-84
|
|
C+
|
70-74
|
|
C
|
60-69
|
|
D+
|
55-59
|
|
D
|
50-54
|
|
E
|
0-49
|
19. เอกสารที่ใช้ประกอบการศึกษาค้นคว้า
(ใช้รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม)
19.1 หนังสือ ตำรา บทความ
ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์. 2552. เอกสารประกอบการสอน. เอกสารรวบรวมเย็บเล่ม.
วรรณกรรมปริทัศน์-ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง.กรอบแนวคิดทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง .
กลุ่มพัฒนากรอบแนวคิดทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มีนาคม ๒๕๔๖.
เอกสารรวบรวมเย็บเล่ม.เศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง.การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง.
พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: ๒๐ สิงหาคม ๒๕๐๗
พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรและอนุปริญญาบัตรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : ๘ กรกฎาคม
๒๕๐๘
พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ
บางแสน: ๓๐ มิถุนายน ๒๕๑๙
พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ของมหาวิทยาลัยรามคำแหง : ๒๒ ธันวาคม ๒๕๒๐
พระราชดำรัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา : ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐
19.2 เอกสารอิเล็กทรอนิกส์
วรรณกรรมปริทัศน์;
ข้อมูลการสืบค้น, HTTP: http://www.rotoratuk.blogspot.com
วรรณกรรม
ปริทัศน์, HTTP: http://www.supwat.blogspot.com
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง; HTTP:http://www.thprc.or/node;
HTTP: http://www.nesac.go.th ; HTTP: http://www.rdpb.go.th
การออกข้อสอบ (Test blueprint)
ข้อสอบเป็นแบบอัตนัย โดยจำแนก
ระดับของการวัดความรู้ด้านพุทธพิสัย ตามแบบของ (Blooms Taxonomy) ดังนี้
ความจำ
|
ความเข้าใจ
|
การวิเคราะห์
|
การสังเคราะห์
|
การประเมินค่า
|
รวม
|
|
บทที่ 1 -3
(ทดสอบย่อย)
จำนวน 2
ข้อ
|
6
|
5
|
4
|
3
|
2
|
20
|
บทที่
1-6(สอบกลางภาค)
จำนวน 3 ข้อ
|
6
|
5
|
4
|
3
|
2
|
20
|
บทที่ 7-9
จำนวน 1 ข้อ
|
6
|
5
|
4
|
3
|
2
|
20
|
บทที่
10-12
จำนวน 1 ข้อ
|
6
|
5
|
4
|
3
|
2
|
20
|
บทที่ 1-12
จำนวน 4 ข้อ
|
6
|
5
|
4
|
3
|
2
|
20
|
ร้อยละ
|
30
|
25
|
20
|
15
|
10
|
100
|
Comments