หลักรัฐประศาสนศาสตร์ Module 2 ; ภาค/ปีการศึกษา 3/2564
การศึกษาประกอบร่วมกับการศึกษาในชั้นเรียน
ขอบเขตการศึกษา นักศึกษาศึกษาประเด็นต่าง ๆ ต่อไปนี้
1.การบริหารกับสภาพแวดล้อม
2. กระบวนการบริหาร
- การวางแผน
- การจัดองค์การ
- การบริหารงานบุคคล
- การอำนวยการ
- การประสานงาน
- การรายงาน
3. การบริหารการคลังและงบประมาณ
ก่อนตอบคำถามให้ศึกษาเอกสารให้เข้าใจ พร้อมทั้งกดติดตามและให้ใส่ชื่อ รูปภาพลงที่มุมกล่องข้อความเพื่อจะได้ทราบว่านักศึกษาคนใดเป็นผู้ตอบคำถาม และสามารถประเมินผลได้อย่างถูกต้อง (ดูตัวอย่างของภาคการศึกษาที่ผ่านมา)
นักศึกษาศึกษาเอกสาร Video ที่นี่
นักศึกษาทำ Assignment โดยเขียนลงในกล่องโต้ตอบ ซึ่งจะเขียนว่า Post a Comment โดยคลิกที่รูป 💬 จะปรากฎ กล่องโต้ตอบ นักศึกษาเขียนในกล่องโต้ตอบและสามารถส่งได้โดย คลิกที่ Publish your comment
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ4 .2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
นักศึกษานำเสนอความคิดและงานที่มอบหมายครั้งที่ 2 ผ่านฟอรั่มที่นี่ โดยแสดงความเห็นและนำเสนอได้อย่างมีอิสระทางความคิด โดยใช้ถ้อยคำที่เหมาะสมและไม่ละเมิดดูหมิ่นบุคคลใดๆ การนำเสนองานเป็นกลุ่มผ่านฟอรั่มจะมอบหมายใน Class โดยให้นักศึกษานำเสนอความคิดเห็น ประเด็น
การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่รวมถึงการบริหารจัดการการเงินและการคลังกับความเป็นธรรมาภิบาลในยุคปัจจุบัน
ที่ฟอรั่มนี้
Comments
Assignmentที่1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหารและความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆที่มีต่อการบริหารโดยแสดงรายละเอียดต่างๆในรูปแบบผังภาพ
ความหมายและความสำคัญสิ่งแวดล้อมทางการบริหารหมายถึงสภาพของปัจจัยต่างๆที่อยู่ภายในและภายนอกองค์กรของรัฐและเอกชนซึ่งสามารถส่งอิทธิพลมายังภายในของระบบการบริหารองค์การอันมีผลต่อประสิทธิภาพและความสำเร็จของการบริหารงานในองค์การ สิ่งแวดล้อมถือเป็นเครื่องมือมีความสำคัญอย่างยิ่งในการกำหนดนโยบายการบริหารงานนอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยชี้วัดความสำเร็จของการบริหารและถือเป็นทรัพยากรหรือวัตถุดิบสำหรับป้อนให้กับระบบการบริหารเพื่อทำการแปลรูปให้เป็นสินค้าหรือบริการตามนโยบายขององค์การ ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับกระบวนการบริหารได้กล่าวว่าทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรงและเป็นสภาพแวดล้อมที่จำเป็นในการบริหารงานขององค์การสินค้าและบริการเป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อมและเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสภาพแวดล้อมซึ่ง สภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็นสภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก
สัมพันธ์ระหว่างสภาพสิ่งแวดล้อม แต่ละประเภทขององค์การ
สภาพแวดล้อมเฉพาะสำหรับองค์การต่างๆของรัฐ(ภายใน)
วัตถุดิบ,ระบบการจัดการ,กฎระเบียบ และอุปกรณ์สำนักงาน
สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของการบริหารงานของรัฐ(ภายนอก)
วัฒนธรรม,ประเพณี,ค่านิยม,ทรัพยากรธรรมชาติ,สภาพภูมิศาสตร์,เทคโนโลยี,กฎหมาย,การเมือง,เศรษฐกิจและชนชั้นสถาบันทางสังคม
Assignmentที่2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
การพัฒนาระบบราชการที่ผ่านมาได้น าแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่มาปรับใช้ โดยมีเหตุผลหลักที่ส าคัญจากปัญหาของระบบราชการไทยที่มีหลายประการและสั่งสมมานาน และ กระแสโลกาภิวัตน์ส่งผลให้สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกประเทศ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ
ทั้งนี้ได้ก าหนดแผนกลยุทธ์และมาตรการในการพัฒนาระบบราชการ ได้แก่ 1) การลด ขั้นตอนและระยะเวลาในการปฏิบัติราชการ 2) การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชน ให้เป็นที่ยอมรับ ปรับปรุง แก้ไข ยกระดับ และพัฒนากฎหมาย ระเบียบ ขั้นตอนการให้บริการ การอ านวยความสะดวก และมาตรฐานของส่วนราชการ 3) การพัฒนาขีดสมรรถนะและศักยภาพของ ข้าราชการการน าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาใช้ในการให้บริการประชาชน (e-Service)
การแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนจากการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการและการทุจริตคอร์รัปชัน 4) การบูรณาการท างานร่วมกันระหว่างหน่วยงานและภาคส่วนต่าง ๆ โดยยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ ราชการจึงได้ก าหนดให้ปรับปรุงกลไกภาคราชการให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส สามารถตอบสนอง ความต้องการของประชาชนได้ และก่อให้เกิดความเชื่อมั่น ศรัทธาต่อการท างานของภาคราชการเพิ่มขึ้น ซึ่งจะเอื้อต่อการเสริมสร้างรากฐานที่เข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และสังคมในการพัฒนาประเทศ และพร้อม ที่จะรองรับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคต
นาย เอกรัตน์ ศรีสุวรรณ์ 63423471136
Assignmentที่3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
การจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) เป็นแนวคิดที่ก่อก าเนิดขึ้นบนพื้นฐานของ การด ารงอยู่ของแนวคิดการจัดการภาครัฐแบบดั้งเดิม (Public Administration: PA) และแนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM) และไม่ใช่กระบวนทัศน์ใหม่หรือ การท้าทายแนวคิดแบบเดิมหรือจะเข้ามาแทนที่แนวคิดทั้งสองที่กล่าวมา แต่ NPG เป็นเครื่องมือ เชิงมโนทัศน์ที่จะช่วยขยายความเข้าใจที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงไปของกระแสสังคมโลก
ที่มีความแตกต่างหลากหลายและมีความสลับซับซ้อนของปัญหาและความต้องการที่เพิ่มมากขึ้น พร้อมทั้งยังเป็นการเปิดมุมมองให้เห็นถึงสภาพความเป็นจริงของวิธีการปฏิบัติงานของ บุคคลในภาครัฐให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ดังนั้น แนวคิดการจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) จึงเป็น ความพยายามที่จะท าความเข้าใจถึงการพัฒนาการน านโยบายสาธารณะไปปฏิบัติและการส่งมอบ บริการสาธารณะในสภาพของความเป็นจริง ภายใต้สถานการณ์ของรัฐในศตวรรษที่ 21 ที่มีทั้ง ความแตกต่างหลากหลายและความสลับซับซ้อนของตัวแสดงที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับการท างาน ของภาครัฐ อีกทั้งความซับซ้อนของสังคมแบบพหุและความหลากหลายของหน่วยงานหรือองค์กร ต่าง ๆ ที่อยู่ภายในโครงสร้างของรัฐเอง
นาย เอกรัตน์ ศรีสุวรรณ์ 63423471136
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง
กระบวนการและวิธีการใน การน าหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงิน การคลังภาครัฐขององค์กรต้นแบบที่ดีภาครัฐ ที่ ครอบคลุมทั้งในส่วนของหลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักการมีส่วนร่วม หลักความโปร่งใส หลักความ รับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า ผลการศึกษา
4 .2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ปัจจัยความส าเร็จในการ น าหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการ คลังขององค์กรต้นแบบที่ดีภาครัฐ ประกอบด้วย ปัจจัยด้านการเป็นแบบอย่างของผู้น า ปัจจัยด้านการ มีส่วนร่วมของบุคลากร ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ปัจจัยด้านการอบรมและกระตุ้นจิตส านึก ด้านธรรมาภิบาลอย่างต่อเนื่องให้แก่บุคลากร และ ปัจจัยในการน าเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาใช้ในการ ปฏิบัติงาน
ตอบ สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า การบริหารการพัฒนาเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ “การบริหารงานภายนอก” (external administration) หรือต้องเกี่ยวข้องกบั ปัจจัยภายนอกองค์การ (externalities) เพื่อโน้มน้าวให้ หนว่ยงานและบคุคลหนัมาสนบัสนนุนโยบายและให้ความร่วมมือในการดาเนินการให้บรรลุเป้าหมายของ การบริหารการพัฒนา ปรากฏเช่นนี้สือให้เห็นว่าหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารการพัฒนา จาเป็นต้องเข้าไปมีปฏิกิริยาโต้ตอบกับสภาพแวดล้อม นั่นคือ หน่วยงานเหล่านี้จะได้รับผลกระทบจาก สิ่งแวดล้อม และสภาพแวดล้อมเองก็จะได้ รับผลกระทบจากการบริหารการพัฒนาของหน่วยงานด้วย เนื่องจากสภาพแวดล้อมมีความสาคญัตอ่การบริหารการพฒันาและการบริหารการพฒันามีความสาคญั ตอ่สภาพแวดล้อมดังกล่าวแล้วจึงหยิบยกเอาประเด็นเหล่านี้มาพิจารณาโดยจะกล่าวถึงหัวข้อต่างๆคือ
ความหมายของสภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา
สภาพแวดล้อม (environment) และนิเวศวิทยา (ecology) เป็นคำที่อาจใช้แทนกันได้แต่จาก การติดตามและสังเกตดูการใช้คำทั้งสองนี้ในตำรับตำราต่างๆ พบว่า มีความแตกต่างกันอยู่ไม่น้อย กล่าวคือสภาพแวดล้อมหรือ environment จะหมายถึงสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลเหนืออินทรีย์ (organism) และองค์การแต่ฝ่ายเดียวส่วนนิเวศวิทยาหรือ ecology นั้นจะหมายถึง สภาพแวดล้อมที่มี อิทธิพลเหนืออินทรีย์(organism) และองค์การฝ่ายเดียว ส่วนนิเวศวิทยาหรือ ecology นั้นจะหมายถึง สภาพแวดล้อมทีมีอิทธิพลเหนืออินทรีย์และองค์การ แต่ในขณะอินทรีย์และองค์การก็จะมีอิทธิพลเหนือ สภาพแวดล้อม นอกจากนี้ คาดว่า ecology มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก ว่า “oikos” ซึ่งเดิมหมายถึง การอยู่อาศยั หรือที่อยู่ (habitation) ต่อมาการศึกษาตามแนวนิเวศวิทยาหรือสภาพแวดล้อมนี้ หมายความรวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับเศรษฐกิจและครัวเรือนของอินทรีย์ทีครอบคลมุความสมัพนัธ์ระหว่าง อินทรีย์และสภาพแวดล้อมทัง้ที่สิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต ที่เป็นรูปธรรมนามธรรมเฉพาะอย่างยิ่ง ความสัมพันธ์ทีเอือ้ อานวย และขัดขวางการต่อสู้เพื่อยังชีวิตตามแนวความคิดของชาร์ลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin) และคาว่า ecology มีนักชีวะวิทยา ชื่อ เออร์นสต์ ฮายริค เฮกเกล (Ernst HeinrichHaeckel)นักชีวะวิทยาและนัดขียนชาวเยอรมันเป็นผู้คิดขึ้นในปีค.ศ.1870
สาหรับความหมายที่เฉพาะเจาะจงของสภาพแวดล้อมหรือนิเวศวิทยานนั้ มีผู้รู้ได้ให้ไว้หลาย ประการด้วยกนั กล่าวคือ
สรุปได้ว่า สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา หมายถึง ส่ิงท่ีเป็นรูปธรรม นามธรรมทั้งภายนอก ภายใน และรอบๆ องค์การ และส่ิงท่ีเป็นรูปธรรมและนามธรรมดังกล่าว นี้ มีอิทธิพลเหนือโครงสร้าง กระบวนการ และพฤติกรรมของการพัฒนาการบริหาร และการ บริหารเพ่อืการพัฒนา(หรือการบริหารการพัฒนา)หรือในทางกลับกันสภาพแวดล้อมที่เป็นรูปธรรม
อาจรวมถึงสภาพแวดที่เป็นรูปธรรมอาจรวมถึงสภาพภูมิศาสตร์ประชากรเทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพ ส่วนสภาพแวดล้อมที่เป็นนามธรรม ได้แก่ การประดิษฐ์คิดค้นทางสังคมอันรวมถึงสหภาพแรงงาน กล่มุ ผลประโยชน์ อุดมการณ์ อารยธรรมธุรกิจ (business civilization) บรรษัท ปัจเจกชนนิยม ระบบ การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เป็นต้น
ตอบ ยุคนี้เป็นยุคใหม่แล้ว ในการพลิกโฉม(transform) ภาครัฐหรือระบบราชการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและรองรับ โมเดลการพัฒนาประเทศไทย 4.0 โดยยึดหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเพื่อประโยชน์สุขของ ประชาชน (Better governance, happier citizens) อันจะทาให้ระบบราชการสามารถเป็นที่ไว้วางใจและเป็นที่พึ่ง ของประชาชนได้อย่างแท้จริงนั้น จาเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการทางานใหม่ กล่าวคือ
1. เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน(Open&ConnectedGovernment)โดยต้องมีความเปิดเผยโปร่งใส ในการทางาน บุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการหรือมีการแบ่งปัน ข้อมูลซึ่งกันและกัน และสามารถเข้ามาตรวจสอบการทางานได้ ตลอดจนเปิดกว้างให้กลไกหรือ ภาคส่วนอื่น ๆ เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ได้เข้ามามีส่วนร่วม และโอนถ่ายภารกิจที่ภาครัฐ ไม่ควรดาเนินการเองออกไปให้แก่ภาคส่วนอื่น ๆ เป็นผู้รับผิดชอบดาเนินการแทน โดยการจัดระเบียบ ความสัมพันธ์ในเชิงโครงสร้างให้สอดรับกับการทางานในแนวระนาบ ในลักษณะของเครือข่าย มากกว่าตามสายการบังคับบัญชาในแนวดิ่ง ขณะเดียวกันก็ยังต้องเชื่อมโยงการทางานภายในภาครัฐ ด้วยกันเองให้มีเอกภาพและสอดรับประสานกัน ไม่ว่าจะเป็นราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น
ยึดหลักธรรมาภิบาลเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน (Better Governance, Happier Citizens)
Collaboration
Innovation
ภาครัฐ ท่ีมีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย
Smart and High Performance Government
ภาพที่ 1 ระบบราชการ 4.0
ตารางที่ 1 สรุปเปรียบเทียบระหว่างระบบราชการแบบเดิมและระบบราชการแบบ
ภาครัฐที่เปิดกว้าง และเชื่มโยงกัน
Open and Connected Government
ภาครัฐต้องเป็นที่พึ่ง ของประชาชนและเช่ือถือไว้ใจได้
Credible & Trusted Government
Digitization
ภาครัฐท่ียึด ประชาชนเป็นศูนย์กลาง
Citizen-Centric Government
ใหม่ (ระบบราชการ 4.0)
เดิม การทางานแยกตามภารกิจของแต่ละหน่วยงาน แม้มีการทางานประสานงานกันระหว่างหน่วยงาน แต่ยังไม่ใช่การบูรณาการอย่างแท้จริง (Autonomy, Separation)
ใหม่
การทางานร่วมกันแบบบูรณาการอย่างแท้จริง ในเชิง ยุทธศาสตร์ตั้งแต่ระดับการวางนโยบายไปจนถึงการ นาไปปฏิบัติ
(Collaboration)
การทางานยังไม่อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ อย่างเต็มรูปแบบและยังเป็นการทางานตามสาย การบังคับบัญชาในแนวดิ่ง
(Fragmentation, Hierarchy, Silo,
Vertical approach)
การทางานมีความเชื่อมโยงผ่านระบบดิจิตอลอย่าง เต็มรูปแบบ ตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการ เชื่อมโยง ทุกส่วนราชการในการบริการประชาชนและมีการ บังคับบัญชาในแนวนอน
(End-to-end process flow, Cross-boundary management, Program/Project Management Office, Horizontal approach)
ให้บริการเป็นมาตรฐานเดียวกันอย่างตายตัว ตามสิทธิพื้นฐานของบุคคลที่รัฐกาหนด (Standardization)
ให้บริการตามความต้องการเฉพาะบุคคล ซึ่งสามารถ ออกแบบ/เลือกรูปแบบ/วิธีการในการขอรับบริการได้ (Customization, Personalization)
ระบบการทางานในแบบอนาล็อค ระบบการทางานที่ปรับเป็นดิจิตอลเต็มรูปแบบ
(Analog) (Digitization)
5
ตอบ แนวคิดการบริการสาธารณะใหม่มุ่งเน้นให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ “ฟัง” มากกว่า “สั่ง” และ “รับใช้หรือ ให้บริการพลเมือง” มากกว่า “กากับหรือควบคุม” รัฐต้องสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่ประชาชนไทยทุกคน และมุ่งที่ผลประโยชน์สาธารณะเป็นสาคัญ ในขณะเดียวกันประชาชนต้องก้าวสู่การเป็นพลเมืองเป็น ผู้ตื่นรู้ เข้าใจปัญหาของตน ลุกขึ้นมาจัดการกับปัญหาของตนเอง มีส่วนร่วมคิด ทา รับผลประโยชน์ และ ประเมินตรวจสอบ
แนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคดั้งเดิมมีความแตกต่างจากแนวคิดการบริการสาธารณะใหม่ หลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมุมมองต่อการจัดบริการสาธารณะ ที่แนวคิดยุคดั้งเดิมเน้นจัดบริการ สาธารณะในลักษณะการจัดการเชิงบริหาร โดยรวมอานาจและความรับผิดชอบไว้ที่ส่วนกลาง ในอีกด้าน หนึ่งแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่สอดคล้องกับแนวคิดการบริการสาธารณะใหม่ ได้แก่ การให้ ความสาคัญกับพลเมืองการมีส่วนร่วมความเสมอภาค และการสร้างความเป็นธรรมทางสังคม ส่วน แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่มีความแตกต่างจากแนวคิดการบริการสาธารณะใหม่เป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ เน้นกลไกตลาด และการแข่งขันในการให้บริการ เป็นต้น
หนทางสู่การสร้างการบริการสาธารณะใหม่เพื่อรับใช้พลเมือง ประกอบด้วย 1) การปรับเปลี่ยน โครงสร้างอานาจและการปรับเปลี่ยนโครงสร้างสังคม 2) การปรับเปลี่ยนบทบาทของข้าราชการ 3) สร้าง และจัดการเครือข่ายอย่างเป็นระบบ 4) สร้างสรรค์นวัตกรรมบริการสาธารณะใหม่ และ 5) สร้างแรงงาน ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง
คำสำคัญ : การบริการสาธารณะใหม่ รับใช้พลเมือง
ตอบ ความหมายและความสำคัญ
•การคลังภาครัฐ (Public Finance)
•เป็นเรื่องเกี่ยวกบั การดาเนินกิจกรรมทางการคลังการเงินต่าง ๆ ของรัฐบาลถือว่ามีผลกระทบต่อปัจจุบันและในอนาคตหรือยุคต่อไปด้วย
ความหมาย
LOGORichard A. Musgrave and Peggy B. Musgrave อธิบายว่า การ คลงัเป็นเรื่องเกยี่วกบัการเข้าไปมบีทบาทในทางเศรษฐกจิของ รัฐบาลรวม 4 ด้าน
การจัดสรรทรัพยากร(ResourceAllocation)
การกระจายรายได้ของประชาชาติ (The distribution function)
การรักษาเสถียรภาพและความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (The stabilization Function)
การประสานงบประมาณ (Coordination of Budget Function)
YOUR S
4.2 ปัจจัย ความสำเร็จตามหลักธรรมมาภิบาลในการบริหารการคลัง
ตอบ ธรรมาภิบาลจัดเป็นแนวคิดสำคัญในการบริหารงานและการปกครองในปัจจุบัน เพราะโลกปัจจุบันได้หันไปให้ความสนใจกับเรื่องของโลกาภิวัตน์และธรรมาภิบาลหรือการบริหารจัดการที่ดี มากขึ้น แทนการสนใจเรื่องการพัฒนาอุตสาหกรรมดังแต่ก่อน เพราะกระแสการพัฒนาเศรษฐกิจมีความสำคัญกระทบถึงกัน การติดต่อสื่อสาร การดำเนินกิจกรรมในที่หนึ่งมีผลกระทบต่ออีกที่หนึ่ง การพัฒนาเรื่องของการเมืองการปกครองได้มุ่งให้ประชาชนเป็นศูนย์กลางมากขึ้น หากจะให้ประเทศมีการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน การมุ่งดำเนินธุรกิจ หรือปฏิบัติราชการต่างๆโดยไม่ให้ความสนใจถึงเรื่องของสังคม ประชาชน และสิ่งแวดล้อมจึงเป็นไปไม่ได้อีกต่อไป การมีการบริหารจัดการที่ดีจึงเข้ามาเป็นเรื่องที่ทุกภาคส่วนให้ความสำคัญและเริ่มมีการนำไปปฏิบัติกันมากขึ้น
ดังกล่าวแล้วธรรมาภิบาลหรือการบริหารจัดการที่ดี เป็นประเด็นที่อยู่ในความสนใจของประชาชน โดยเฉพาะข้าราชการ และพนักงานบริษัทเอกชนเพราะธรรมาภิบาลเป็นการบริหารงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตั้งมั่นอยู่บนหลักการบริหารงานที่เที่ยงธรรม สุจริต โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีจิตสำนึกในการทำงาน มีความรับผิดชอบในสิ่งที่ได้กระทำ พร้อมตอบคำถามหรือตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและพร้อมรับผิด มีศีลธรรม จริยธรรมในการทำงาน การคำนึงถึงการมีส่วนร่วมในการรับรู้ ตัดสินใจ ดำเนินการและประเมินผล ตลอดจนร่วมรับผลจากการตัดสินใจร่วมนั้น มีการส่งเสริมสถานภาพหญิงชาย และการให้ความสำคัญกับกลุ่มต่างๆ รวมทั้งคนด้อยโอกาส ตลอดจนการ สร้างความเท่าเทียมกันทางสังคมในการรับโอกาสต่างๆที่ประชาชนพึงจะได้รับจากรัฐอีกด้วย ธรรมาภิบาลเป็นทั้งหลักการ กระบวนการและเป็นเป้าหมายไปในตัว การมีธรรมาภิบาลอาจนำมาสู่การมีประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ได้ในที่สุดและการมีประชาธิปไตยก็นำมาสู่การมีผลทางสังคมคือการมีการพัฒนาประเทศไปในทางที่สร้างความสงบสุขอย่างต่อเนื่องและสถาพร ตลอดจนนำมาสู่การแก้ปัญหาความขัดแย้งต่างๆที่จะเกิดขึ้นได้โดยสันติวิธี
ตอบความหมายและความสำคัญสิ่งแวดล้อมทางการบริหารหมายถึงสภาพของปัจจัยต่างๆที่อยู่ภายในและภายนอกองค์กรของรัฐและเอกชนซึ่งสามารถส่งอิทธิพลมายังภายในของระบบการบริหารองค์การอันมีผลต่อประสิทธิภาพและความสำเร็จของการบริหารงานในองค์การ สิ่งแวดล้อมถือเป็นเครื่องมือมีความสำคัญอย่างยิ่งในการกำหนดนโยบายการบริหารงานนอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยชี้วัดความสำเร็จของการบริหารและถือเป็นทรัพยากรหรือวัตถุดิบสำหรับป้อนให้กับระบบการบริหารเพื่อทำการแปลรูปให้เป็นสินค้าหรือบริการตามนโยบายขององค์การ ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับกระบวนการบริหารได้กล่าวว่าทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรงและเป็นสภาพแวดล้อมที่จำเป็นในการบริหารงานขององค์การสินค้าและบริการเป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อมและเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสภาพแวดล้อมซึ่ง สภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็นสภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก
สัมพันธ์ระหว่างสภาพสิ่งแวดล้อม แต่ละประเภทขององค์การ
สภาพแวดล้อมเฉพาะสำหรับองค์การต่างๆของรัฐ(ภายใน)
วัตถุดิบ,ระบบการจัดการ,กฎระเบียบ และอุปกรณ์สำนักงาน
สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของการบริหารงานของรัฐ(ภายนอก)
วัฒนธรรม,ประเพณี,ค่านิยม,ทรัพยากรธรรมชาติ,
สภาพภูมิศาสตร์
,เทคโนโลยี,กฎหมาย,การเมือง,เศรษฐกิจและชนชั้นสถาบันทางสังคม
ตอบ โจนาธาน บอสตัน
(Jonathan Boston)และคณะ
(ทศพร ศิริสัมพันธ์,2551)โดย สรุป ลักษณะสาคัญ ของ
การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ 10 ประการ ดังต่อไปนี้
1) มีความเชื่อว่าการบริหารงานมีลักษณะความเป็นสากลสภาพ หรือไม่มีความแตกต่าง
อย่างเป็นนัยสำคัญระหว่างการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชน และการบริหารงานภาครัฐ
2) ปรับเปลี่ยนการให้น้ำหนักความสำคัญจากเดิมที่มุ่งเน้นการควบคุมทรัพยากร
และกฎระเบียบ เป็นเรื่องของการควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์ หรือปรับเปลี่ยนจากการให้ความสำคัญ
ในภาระรับผิดชอบต่อกระบวนงาน(ProcessAccountability)
ไปสู่ภาระรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธิ์
(Accountability for result)
3) ให้ความสำคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย
4) โอนถ่ายอำนาจการควบคุมของหน่วยงานส่วนกลาง (Devolution of Centralized
Power) เพื่อให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน
5) ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่โดยแบ่งออกเป็น 3 ภารกิจ ได้แก่
1. งานเชิงพาณิชย์ (การกำกับดูแล ควบคุม)
2. งานเชิงพาณิชย์ (การกำกับดูแล ควบคุม)
3. งานเชิงนโยบายและการให้บริการ เพื่อให้องค์การมีขนาดเล็กลงในรูปแบบของหน่วยงานอิสระในกำกับ
6) เน้นการบริหารกิจการของรัฐเป็นรูปแบบเอกชนและให้มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอก
(Outsourcing) รวมทั้งบูรณาการวิธีการจัดจ้างและการประมูลงาน (Competitive Tendering)
เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและลดต้นทุน
7) บุคลากรของภาครัฐในเรื่องการทำสัญญาจ้างปรับให้เป็นระยะสั้น กำหนดเงื่อนไข
ข้อตกลงให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบได้
นำรูปแบบการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชนที่ประสบความสำเร็จมาประยุกต์ใช้
เช่น การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารคุณภาพเชิงรวม การจ่ายรางวัลค่าตอบแทนตามผลงาน การจัด
จ้างบุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวเฉพาะกิจ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อการบริหารงาน
9) มีการสร้างแรงจูงใจในองค์การ เช่น การจ่ายตอบแทนในรูปของตัวเงินมากขึ้นเพื่อ เป็นรางวัล
(Monetary Incentives)
10) พยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต เพื่อให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณที่คุ้มค่า
สรุป
การพัฒนาระบบราชการที่ผ่านมาได้นำแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่มาปรับใช้ โดยมีเหตุผลหลักที่สำคัญจากปัญหาของระบบราชการไทยที่มีหลายประการและสั่งสมมานาน และ
กระแสโลกาภิวัตน์ส่งผลให้สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกประเทศ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว
การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศการลดความเหลื่อมล้าที่เน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืน และทั่วถึงเป็นธรรม การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ภายใต้ปัจจัยด้านต่างๆ และการเปลี่ยนแปลงในสภาวะแวดล้อมของประเทศ ความต้องการและความคาดหวังต่อการได้รับบริการจากภาครัฐเพิ่มสูงขึ้น ตลอดจนการมุ่งแก้ไขปัญหาที่
สั่งสมมาของระบบราชการไทยในเรื่องโครงสร้างนวัตกรรม กฎหมาย กฎระเบียบ ที่เป็นอุปสรรค และซับซ้อนไม่ทันสมัยทั้งนี้ได้กำหนดแผนกลยุทธ์และมาตรการในการพัฒนาระบบราชการ
ได้แก่
1) การลดขั้นตอนและระยะเวลาในการปฏิบัติราชการ
2) การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนให้เป็นที่ยอมรับ ปรับปรุง แก้ไข ยกระดับ และพัฒนากฎหมาย ระเบียบ ขั้นตอนการให้บริการการอำนวยความสะดวก และมาตรฐานของส่วนราชการ
3) การพัฒนาขีดสมรรถนะและศักยภาพของข้าราชการการ
นำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาใช้ในการให้บริการประชาชน (e-Service)
ตอบ
ความสำคัญของการจัดการปกครอง (Governance)
ไว้คือ เป็นการเปลี่ยนความหมายของการปกครอง (Government)
และเป็นกระบวนการเปลี่ยน
เงื่อนไขข้อบังคับหรือวิธีการใหม่ในการปฏิบัติต่อสังคม โดยแบ่งการจัดการปกครอง (Governance)
เป็น 6 ลักษณะ คือ
1. การจัดการปกครอง (Governance)
ในฐานะที่เป็นรูปแบบของการแทรกแซงสาธารณะ
ของอำนาจรัฐในการตัดสินใจ ดำเนินการบริหารที่ลดน้อยลง
เป็นการใช้กลไกตลาดและกึ่งตลาดในการส่งมอบบริการสาธารณะ ซึ่งเท่ากับว่ารัฐถูกลดบทบาทลง
โดย มีการแปรรูปการให้บริการต่างๆต่อสาธารณะ
2. การจัดการปกครอง (Governance) ในฐานะที่เป็นบรรษัทภิบาล
(CorporateGovernance) เป็นรูปแบบของการชี้นําและการควบคุมหน่วยงานให้บริการมีความสามารถในการรับผิดชอบ(Accountability)เปิดเผยข้อมูลและมีความซื่อสัตย์ในการบริหารงาน คือการที่
ภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทสำคัญการดำเนินธุรกิจที่มีทิศทางและควบคุมตรวจสอบการบริหารงานของผู้บริหาร องค์กรธุรกิจที่มีความรับผิดชอบทั้งงานของบริษัทและรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และ
สังคม
3. การจัดการปกครอง (Governance) ในฐานะที่เป็นการจัดการสาธารณะแบบใหม่
(New Public Management) คือ เน้นลัทธิการจัดการนิยม (Managerialism) และเศรษฐศาสตร์
เชิงสถาบันแนวใหม่
NewInstitutionalEconomin
ด้วยการเสนอให้การบริหารจัดการสาธารณะ
ที่รัฐบาลจะต้องการแข่งขันตอบสนองประชาชนเสมือนเป็นลูกค้ามากกว่าเป็นผู้ถูกปกครอง ผู้บริหาร
งานของรัฐมีบทบาทเช่นเดียวกับผู้ประกอบการ มีการแบ่งแยกตัดซอยระบบราชการเพิ่มการแข่งขันด้วยการจ้างเหมาและใช้กลไกกึ่งตลาด และเพิ่มทางเลือกให้กับผู้มารับบริการ
4. การจัดการปกครอง (Governance) ในฐานะที่เป็นการบริหารจัดการที่ดี(GoodGovernance) เป็นการจัดการที่เน้นประสิทธิภาพ ระบบการตัดสินใจ และกรอบกฎหมายมีอิสระ
ในการทำสัญญา การบริหารเงินทุนสามารถอธิบายได้ความรับผิดชอบของตัวแทน เคารพในกฎหมายและสิทธิมนุษยชน และมีโครงสร้างทางสถาบันที่หลากหลาย ที่ธนาคารโลกนำไปใช้กับประเทศ ด้อยพัฒนา
5. การจัดการปกครอง (Governance) ในฐานะที่เป็นระบบการเชื่อมโยงทางสังคม
(Socio-cybernetic System) ผ่านประเด็นนโยบายสาธารณะ เป็นการให้ความสำคัญกับการจำกัด
อำนาจส่วนกลาง เป็นสังคมที่ไร้ศูนย์กลางเพียงแหล่งเดียว แต่จะมีอยู่หลาย ๆ ที่และมีตัวแสดง ที่หลากหลายในบริบทของนโยบายสาธารณะ ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของภาครัฐที่จะกระตุ้นให้เกิด การรวมตัวกันของภาคส่วนต่างๆเพื่อมาแสดงพลังในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน อีกทั้งยังช่วยกันกำหนด
กติกาในการจัดการร่วมกันอีกด้วย
6. การจัดการปกครอง (Governance) ในฐานะที่เป็นเครือข่ายขององค์การที่จัดการดูแลได้ด้วยตนเอง (Self-organizing Network) เป็นการเปิดโอกาสให้มีตัวแสดงที่มากมายในการส่งมอบ
บริการภาครัฐทั้งฝ่ายรัฐ เอกชน และประชาชน ทำให้องค์กรต้องแลกเปลี่ยนทรัพยากรเพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายจึงต้องมีเครือข่าย โดยเครือข่ายไม่ได้มีเพียงภาครัฐ เครือข่ายเป็นความสัมพันธ์ทางสังคม ที่กว้างขวาง รวมถึงกระจายอำนาจให้รัฐบาลท้องถิ่นผ่านการจัดการเครือข่ายที่อยู่บนพื้นฐานของ
ความไว้วางใจ (Trust) และการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน หน่วยงานลักษณะนี้ต้องสามารถจัดการดูแล
ตนเองได้มิใช่มีความเป็นอิสระเพียงอย่างเดียว
โดยสรุป
การจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) เป็นวาทกรรมทางเลือก (AlternativeDiscourse)
ที่เปิดมุมมองทั้งทางทฤษฎีและวิธีการปฏิบัติงานของภาครัฐให้มีความชัดเจนและสอดรับ
กับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของสังคมโลกในศตวรรษที่ 21 การเปลี่ยนแปลงที่ทำให้การบริหารภาครัฐแบบดั้งเดิมที่ใช้ “กลไกราชการ” และแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) ที่ใช้ “กลไกตลาด” ในการบริหารงานอาจจะมีจุดอ่อน และไม่สามารถรับมือกับกระแสการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้
ได้ แนวคิด NPG ได้นำเสนอมุมมองในการวิเคราะห์และการทำความเข้าใจในกิจกรรมสาธารณะที่ไม่ได้มีภาครัฐเป็นเจ้าภาพผูกขาดอำนาจแต่เพียงฝ่ายเดียว ทั้งการกำหนดและการนำนโยบาย
สาธารณะไปสู่การปฏิบัติ การส่งมอบบริการสาธารณะและ/หรือกิจกรรมสาธารณะอื่น ๆ ล้วนแล้วแต่มีภาคส่วนและตัวแสดงอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากรัฐเข้ามามีส่วนร่วมด้วยทั้งสิ้น ทำให้กลายเป็นสังคมแบบ
พหุลักษณ์และพหุนิยม การเปลี่ยนแปลงบทบาทของภาครัฐตามแนวคิด NPG นี้ ทําให้รัฐมีสภาพที่เล็กลงด้วยอำนาจและภาระหน้าที่ แต่สังคมจะใหญ่ขึ้น (SmallerGovernment, Bigger Society) ดังนั้น
แนวคิด NPG จึงเป็นการใช้ “กลไกเครือข่ายและหุ้นส่วนภาคี” เป็นตัวขับเคลื่อนการดำเนินนโยบายสาธารณะและการส่งมอบบริการสาธารณะ
ตอบ
การบริหารการคลัง
พื้นฐานการบริหารการคลังที่มีประสิทธิภาพ และสร้าง
ประสิทธิผลต่องานทางด้านการคลัง หน่วยงานภาครัฐจะต้องกำหนดประเด็นสำคัญในการบริหารให้แยกออกเป็นขอบข่ายที่สำคัญ 4 ขอบข่าย ดังต่อไปนี้
การจัดการและการคัดเลือกผู้นำ (Organizational Alignment and Leadership) การจัดการนโยบายและการวางแผน (Policies and
Processes)การจัดการส่วนบุคคล (PersonnelManagement) และข้อมูลข่าวสาร (Information)
การจัดการและการคัดเลือกผู้นำเพื่อเป็นผู้กำหนด
ทิศทางการคลังในทุกภาคส่วน จะต้องมีการบริหารงานด้าน
การจัดซื้อจัดจ้างให้สอดคล้องกับหน่วยงาน สอดคล้องกับ
ความต้องการในด้านประโยชน์และสอดคล้องกับเป้าประสงค์
ของแผนงาน หรือแผนกลยุทธ์รวมทั้งกำหนดขอบเขตความ
รับผิดชอบและบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน ทั้งนี้ผู้นำจะต้องมี
ความสามารถ มีความซื่อสัตย์และสามารถประสานงานได้ดี
ทุกภาคส่วนของหน่วยงานภาครัฐ การจัดการนโยบายและการวางแผน จะต้องใช้หลักการ
เชิงกลยุทธ์เข้ามาเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนมีการประเมิน
ผลกระทบภายในองค์การในการจัดสรรงบประมาณ และต้องมีการประเมินผลกระทบภายนอกควบคู่ด้วยเช่นกัน เพื่อการจัดการที่มีประสิทธิภาพ การคลังจะต้องสร้างความร่วมมือกับทุกองค์การ และทุกหน่วยงานทั้งหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานภาคเอกชน มีการจัดการผู้จัดจำหน่าย (Supplier)
ลดการผูกขาด
(Reduce Monopoly)
เน้นประสิทธิภาพใน
การตรวจสอบและการกำกับดูแลสัญญาใส่ใจในการรับผิดชอบทางการเงินการจัดการงานบุคคล การสั่งสมทุนมนุษย์การสร้างวัฒนธรรมในองค์การมีแต่ความซื่อสัตย์และมีกระบวนการกำกับดูแลที่มีประสิทธิภาพมีการควบคุมอย่างชัดเจนสนับสนุนการสร้างพฤติกรรมที่มีจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ข้อมูลข่าวสาร การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาจัดการข้อมูล มีการติดตามผล การวางฐานข้อมูลทางการเงินและระบบนั้นจะต้องให้ง่ายต่อความเข้าใจในระดับผู้บริหาร มีระบบป้องกัน และการจัดการให้ข้อมูลเป็นความลับ
ปัจจัยความสำเร็จตามหลัก
ธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลังกระบวนการและวิธีการในการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลัง
ขององค์กรต้นแบบที่ดีภาครัฐ
(1) หลักนิติธรรม
(2) หลักความมีส่วนร่วม
(3) หลักคุณธรรม
(4) หลักความรับผิดชอบ
(5) หลักความโปร่งใส
(6) หลักความคุ้มค่า
ปัจจัยความสำเร็จในการนําหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลัง
ขององค์กรต้นแบบที่ดีภาครัฐ
(1) ด้านกลยุทธ์
(2) ด้านการจัดการบุคคลเข้าทำงาน
(3) ด้านโครงสร้าง
(4) ด้านทักษะ
(5) ด้านระบบ
(6) ด้านค่านิยมร่วม
(7) ด้านรูปแบบ
ปัญหาและอุปสรรคในการนําหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหาร
การเงินการคลังขององค์กรต้นแบบที่ดีภาครัฐ
(1) ปัญหาด้านบุคลากร
(2) ปัญหาด้านงบประมาณ
(3) ปัญหาด้านวัสดุ อุปกรณ์เทคโนโลยี
(4) ปัญหาด้านการจัดการ
สภาพแวดล้อม (environment) และนิเวศวิทยา (ecology) เป็ นค าที่อาจใช้แทนกันได้แต่จาก
การติดตามและสังเกตดู การใช้ค าทั ้งสองนี ้ในต ารับต าราต่างๆ พบว่า มีความแตกต่างกันอยู่ไม่น้อย
กล่าวคือสภาพแวดล้อมหรือ environment จะหมายถึงสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลเหนืออินทรีย์
(organism) และองค์การแต่ฝ่ ายเดียวส่วนนิเวศวิทยาหรือ ecology นั ้นจะหมายถึง สภาพแวดล้อมที่มี
อิทธิพลเหนืออินทรีย์ (organism) และองค์การฝ่ ายเดียว ส่วนนิเวศวิทยาหรือ ecology นั ้นจะหมายถึง
สภาพแวดล้อมทีมีอิทธิพลเหนืออินทรีย์และองค์การ แต่ในขณะอินทรีย์และองค์การก็จะมีอิทธิพลเหนือ
สภาพแวดล้อม นอกจากนี ้ ค าว่า ecology มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก ว่า “oikos” ซึ่งเดิมหมายถึง
การอยู่อาศัย หรือที่อยู่ (habitation) ต่อมาการศึกษาตามแนวนิเวศวิทยาหรือสภาพแวดล้อมนี ้
หมายความรวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับเศรษฐกิจและครัวเรือนของอินทรีย์ทีครอบคลุมความสัมพันธ์ระหว่าง
อินทรีย์และสภาพแวดล้ อมทั ้งที่สิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต ที่เป็ นรูปธรรมนามธรรมเฉพาะอย่างยิ่ง
ความสัมพันธ์ทีเอื ้ออ านวย และขัดขวางการต่อสู้เพื่อยังชีวิตตามแนวความคิดของชาร์ลส์ ดาร์วิน
(Charles Darwin) และค าว่า ecology นี ้นักชีวะวิทยา ชื่อ เออร์นสต์ ฮายริค เฮกเกล (Ernst
Heinrich Haeckel) นักชีวิวิทยาและนักเขียนชาวเยอรมันเป็ นผู้คิดขึ ้นในปี ค.ศ. 1870
ส าหรับความหมายที่เฉพาะเจาะจงของสภาพแวดล้อมหรือนิเวศวิทยานั ้น มีผู้รู้ ได้ให้ไว้หลาย
ประการด้วยกัน กล่าวคือ (1) เฟ-ลิก เอ ไนโกร และ ลอยด์ จี ไนโกร (Felix A. Nigro and Lloyd G. Nigro) ให้ความหมายของ
สภาพแวดล้อมไว้ว่า หมายถึง สรรพสิ่งทางกายภาพและสังคม ซึ่งอยู่ล้อมรอบองค์การและมีอิทธิพลเหนือ
พฤติกรรมการบริหารและในทางกลับกัน นั่นคือ สภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลเหนือพฤติกรรมการบริหาร
ในขณะเดียวกัน พฤติกรรมการบริหารก็มีอิทธิพลเหนือสภาพแวดล้อมด้วย ฉะนั ้นถ้าเรายึดเกณฑ์ที่กล่าว
ไว้ข้างต้น ค านิยามสภาพแวดลล้อมของไนโกรนั ้นมุ่งเน้นความหมายในแง่ของนิเวศวิทยา
(2) เอ็ดการ์ เอฟ ฮิวส์ และ เจมส์ แอล โบวดิช์ (Edgar F. Huse และ James L. Bowditch) ได้ให้ค า
จ ากัดความของสภาพแวดล้อมไว้ว่า หมายถึง คนสภาพการณ์ หรือเงื่อนไขซึ่งอยู่ภายนอกองค์การที่มี
ผลกระทบต่อ หรือได้รับผลกระทบจากองค์การ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ปัจจัยทั ้งหมดที่มีนอกองค์การ
ประกอบกันเป็ นสภาพแวดล้อม ทั้งนี ้ไม่เพียงแต่จะหมายถึงบุคคลและสภาพพื ้นที่เท่านั ้น แต่จะรวมถึง
แนวความคิดที่เป็ นนามธรรม เช่น ความรู้สึกนึกคิดของคนด้วย
(3) เฮอร์เกตร์ต จี ฮิกส์ (Herbert G. Hicks) ให้ความหมายของสภาพแวดล้อมไว้ว่า หมาถึง ผลรวมของ
ปัจจัยต่างๆที่อยู่รอบๆองค์การ เช่น สงครามและสันติภาพ วัฒนธรรม จริยธรรม ทัศนคติทางด้านการเมือง
และเศรษฐกิจระหว่างประเทศของประเทศพันธมิตร รูปแบบทางด้านประเพณีและวัฒนธรรม สภาพทาง
การเมืองและเศรษฐกิจระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ สหภาพแรงงาน ทัศนคติของประชาชน และ
ผลประโยชน์ของกลุ่มผู้บริโภค ผู้ถือหุ้นประชาชนทั่วๆไป
(4) วอเรน บี บราวน์ และ เดนนิส เจ โมเบอร์ก (Warren B Brown and Dennis J. Moberg) ให้
ความหมายสภาพแวดล้อมไว้ว่า หมายถึง สิ่งของ บุคคลและองค์การอื่นๆ ที่อยู่รอบๆ องค์การ
เป้ าหมาย ทั ้งนี ้รวมถึงแหล่งองค์การเหล่านัยได้อาศัยวัตถุดิบ และตลาดที่องค์การเหล่านั ้นใช้ที่จ าหน่าย
สินค้าและบริการอีกด้วย
(5) ลิน ตัน เค คอลด์เวลล์ (Ltnton K.Caldwell) ให้นิยามสภาพแวดล้อมไว้ว่า หมายถึง แหล่งรวม
ปัจจัยทางชีววิทยา กายภาพ จิตวิทยา และสังคมที่มีปฏิกิริยาโต้ตอบกับคนและสังคม
(6) ปี เตอร์ บาร์เทลมัส (Peter Bartelmus) ให้คำจำกัดความสภาพแวดล้อมแต่เพียงสั ้นๆ ว่า หมายถึง
สภาพ และอิทธิพลภายนอกที่มีผลต่อชีวิต และพัฒนาของอินทรีย์
สรุปได้ว่า สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา หมายถึง สิ่งท่ีเป็นรูปธรรม
นามธรรมทั้งภายนอก ภายใน และรอบๆ องค์การ และส่ิงท่ีเป็นรูปธรรมและนามธรรมดังกล่าว
นี้ มีอิทธิพลเหนือโครงสร้าง กระบวนการ และพฤติกรรมของการพัฒนาการบริหาร และการ
บริหารเพื่อการพัฒนา (หรือการบริหารการพัฒนา) หรือในทางกลับกันสภาพแวดล้อมที่เป็ นรูปธรรม
อาจรวมถึงสภาพแวดที่เป็ นรูปธรรมอาจรวมถึงสภาพภูมิศาสตร์ ประชากร เทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพ
ส่วนสภาพแวดล้อมที่เป็ นนามธรรม ได้แก่ การประดิษฐ์คิดค้นทางสังคม อันรวมถึงสหภาพแรงงาน กลุ่ม
ผลประโยชน์ อุดมการณ์ อารยธรรมธุรกิจ (business civilization) บรรษัท ปัจเจกชนนิยม ระบบ
การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เป็นต้น
การนําแนวคิดการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมมาใช้เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ประเทศไทย
ในยุค 4.0 โดยการปรับเปลี่ยนระบบราชการที่เน้นประชาชนเป็นศูนย์กลางภายใต้แนวคิดการบริหารราชการ
แบบมีส่วนร่วม การปรับระบบราชการและการนําตัวแบบต่าง ๆ มาใช้ในการปรับตัวของระบบราชการ การใช้
นวัตกรรม เทคโนโลยีในยุคดิจิทัลเป็นเครื่องมือ โดยใช้กรอบการวิเคราะห์จากแนวคิดการบริหารราชการแบบมี
ส่วนร่วมที่ภาครัฐพยายามผลักดันเพื่อใช้เป็นกลไกในการทํางานในยุคประเทศไทย 4.0 เพื่อรองรับยุทธศาสตร์
การพัฒนาประเทศไทย 4.0 โดยที่ระบบราชการหรือภาครัฐ ได้เป็นส่วนหนึ่งในการทํางานที่ตอบสนองต่อความ
ต้องการของประชาชน ภาครัฐต้องอาศัยการทํางานที่เน้นหลักธรรมาภิบาลเพื่อให้ประชาชนสามารถตรวจสอบ
เข้าถึง และได้รับบริการได้ง่าย รวดเร็ว ซึ่งการพัฒนาภาครัฐให้สอดคล้องกับแนวคิดประเทศไทย 4.0 นั้น
จําต้องมีการปรับปรุงระบบการทํางานของภาครัฐ เน้นการเป็นภาครัฐที่เปิดกว้างเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน การ
เป็นภาครัฐที่มีขีดสมรรนะที่สูงทันสมัย พร้อมกับการเปลี่ยนแปลง และเน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง
ดังนั้น การนําแนวคิดการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม และแนวคิดกระบวนการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในการบริหารราชการ เป็นส่วนหนึ่งที่สามารถนําไปสู่การผลักดันให้ระบบราชการสามารถเปิดกว้าง
และตอบสนองต่อการพัฒนายุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 นอกจากนี้การนํานวัตกรรมในการทํางานของภาครัฐ
การสร้างระบบรัฐบาลเปิดที่สร้างการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนอื่น ๆ ที่นอกจากภาครัฐที่นําไปสู่การมีส่วนร่วม
อย่างกว้างขวางที่เป็นการมีส่วนร่วมของประชาชน การที่ภาครัฐปรับตัวและปรับบทบาทมากยิ่งขึ้น เป็น
แนวทางหนึ่งที่ภาครัฐในประเทศต่าง ๆ ในทั่วโลกพยายามดําเนินการ อันเป็นส่วนหนึ่งของกระแสความคิดที่ให้
ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมของประชนชน และแนวคิดประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม ที่ให้ความสําคัญกับการ
บริหารราชการแบบร่วมมือกัน การพัฒนาในทุกมิติพร้อม ๆ กัน ทั้งในทางด้านกฎหมาย และรบบโครงสร้าง
ของภาครัฐที่เปิดกว้างมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการมีกฎหมายให้สอดคล้องกับยุคดิจิทัล เช่น พระราชบัญญัติการ
อํานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตทางราชการ พ.ศ. 2558 เพื่อให้หน่วยงานราชการอํานวยความ
สะดวกในการใช้บริการในหน่วยงานราชการ หรือการใช้ระบบดิจิทัล จะสามารถทําให้เกิดการพัฒนาระบบ
ราชการหรือภาครัฐให้ทันสมัย จะส่งผลให้เกิดการปรับบทบาทในภาครัฐ การมีส่วนร่วมในการบริหารราชการ
ของประชาชน เน้นประชาชนเป็นศูนย์กลางในการดําเนินงานมากยิ่งขึ้นสามารถไปสู่การเป็นภาครัฐไทยในยุค
ประเทศไทย 4.0 ได้
การจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) เป็นวาทกรรมทางเลือก (Alternative
Discourse) ที่เปิดมุมมองทั้งทางทฤษฎีและวิธีการปฏิบัติงานของภาครัฐให้มีความชัดเจนและสอดรับ
กับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของสังคมโลกในศตวรรษที่ 21 การเปลี่ยนแปลงที่ท าให้การบริหาร
ภาครัฐแบบดั้งเดิมที่ใช้ “กลไกราชการ” และแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) ที่ใช้ “กลไก
ตลาด” ในการบริหารงานอาจจะมีจุดอ่อน และไม่สามารถรับมือกับกระแสการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้
ได้ แนวคิด NPG ได้น าเสนอมุมมองในการวิเคราะห์และการท าความเข้าใจในกิจกรรมสาธารณะที่
ไม่ได้มีภาครัฐเป็นเจ้าภาพผูกขาดอ านาจแต่เพียงฝ่ายเดียว ทั้งการก าหนดและการน านโยบาย
สาธารณะไปสู่การปฏิบัติ การส่งมอบบริการสาธารณะและ/หรือกิจกรรมสาธารณะอื่น ๆ ล้วนแล้วแต่
มีภาคส่วนและตัวแสดงอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากรัฐเข้ามามีส่วนร่วมด้วยทั้งสิ้น ท าให้กลายเป็นสังคมแบบ
พหุลักษณ์และพหุนิยม การเปลี่ยนแปลงบทบาทของภาครัฐตามแนวคิด NPG นี้ ท าให้รัฐมีสภาพที่เล็ก
ลงด้วยอ านาจและภาระหน้าที่ แต่สังคมจะใหญ่ขึ้น (Smaller Government, Bigger Society) ดังนั้น
แนวคิด NPG จึงเป็นการใช้ “กลไกเครือข่ายและหุ้นส่วนภาคี” เป็นตัวขับเคลื่อนการด าเนินนโยบาย
สาธารณะและการส่งมอบบริการสาธารณะ
แนวคิดการจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) สามารถน ามาประยุกต์ใช้กับ
การจัดการปกครองท้องถิ่น (Local Governance) ที่สามารถปรับเปลี่ยนการบริหารจากแนวคิดแบบ
ดั้งเดิมที่เน้นระบบราชการและสายการบังคับบัญชาไปสู่การจัดการแบบเครือข่ายที่เปิดโอกาสให้เกิด
ความร่วมมือกันของทุก ๆ ภาคส่วนในท้องถิ่นมามีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายและการส่งมอบ
บริการสาธารณะหรือกิจกรรมสาธารณะอื่น ๆ ได้ เพื่อเป็นการเสริมสร้างพลังอ านาจและความเข้มแข็ง
ให้กับชุมชนท้องถิ่น มีทุนทางสังคม (Social Capital) ที่จะเป็นพลังอ านาจในการต่อรองและสร้าง
ความสมานฉันท์ให้เกิดขึ้นในสังคมต่อไป
สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาอาจแบ่งออกได้เป็นหลายประเภทตามมติต่างๆ คือ
สภาพแวดล้อมการบริหารการพัฒนาที่แบ่งตามมติสถานที่ เช่น ผลงานของวอลโด และเฮฟฟีย์ ดังกล่าว
มาแล้ว สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาที่แบ่งตามมติเฉพาะด้าน เช่น สภาพแวดล้อมทาง
การเมือง เศรษฐกิจและสังคม สภาพแวดล้อมทางการเมืองและเศรษฐกิจยังแบ่งออกได้เป็น
สภาพแวดล้อมทางการเมืองและเศรษฐกิจภายนอก และสภาพแวดล้อมทางการเมืองเศรษฐกิจภายใน
สภาพแวดล้อมการบริหารการพัฒนาที่แบ่งตามมติ คงที่-ไหวตัว (เปลี่ยนแปลง) และสภาพแวดล้อมการ
บริหารการพัฒนาที่แบ่งตามมติผลกระทบ แต่ในที่นี้ผู้เขียนจะกล่าวถึงเฉพาะสภาพแวดล้อมของการ
บริหารการพัฒนาที่แบ่งตามมติเฉพาะด้าน และที่แบ่งตามผลกระทบนั้นซึ่งสภาพแวดล้อมของการบริหาร
การพัฒนาเหล่านี้อาจแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาจากภายนอกประเทศ อันได้แก่ ประชากร
เทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพ สิ่งประดิษฐ์คิดค้นทางสังคม และอุดมการณ์ เป็นต้น
1) สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาจากภายนอกประเทศ อันได้แก่ ประชากร
เทคโนโลยีและชีวภาพ สิ่งประดิษฐ์คิดค้นด้านสังคม และอุดมการณ์ เป็นต้น
2) สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาภายในประเทศ อันได้แก่ สภาพแวดล้อมทาง
การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ
3) สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาภายในองค์การ ซึ่งรวมถึงปฏิกิริยาโต้ตอบหรือ
ความขัดแย้งระหว่างองค์การและบุคคล ความขัดแย้งระหว่างความคาดหวังขององค์การและความ
ต้องการของบุคคล ทั้งนี รวมถึงสถานการณ์ต่างๆ ภายในองค์การด้วย และปฏิกิริยาโต้ตอบและความ
ขัดแย้งดังกล่าวนี้นี่เองที่เป็ นบ่อเกิดของพฤติกรรม (ที่พัฒนาหรือไม่พัฒนา) ของบุคคล
(4.1) การบริหารภาคการคลังจะต้องมีการกำ หนดมาตรการ
การควบคุมและการดำ เนินการครอบคลุมในทุกมิติการนำ
การจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้เพื่อการกำ หนดมาตรการ
หรือแนวทางการบริหาร จะทำ ให้การบริหารมีประสิทธิภาพ
ยิ่งขึ้น เพราะการจัดการภาครัฐแนวใหม่มีรูปแบบตั้งแต่การ
ศึกษาสภาพแวดล้อมและปัญหา การศึกษาเอกสารและ
ผลการดำ เนินการที่ผ่านมารวมไปถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น เพื่อ
เป็นแนวทางในการกำ หนดการดำ เนินการ เพราะการดำ เนิน
การภายใต้โครงการต่างๆต้องลดปัญหาแม้ว่าจะถูกจำกัดด้วย
สภาพแวดล้อมและทรัพยากรที่มีอยู่ปัจจุบันหลายประเทศใน
อาเซียนประสบปัญหาคือการที่รัฐบาลไม่สามารถดำ เนินการ
บริหารได้ตามที่แถลงจุดอ่อนปัญหาการบริหารการคลังที่ไม่มี
คุณภาพ ขาดการวางแผน ขาดการศึกษาในเชิงลึกและขาด
การวางรากฐานนโยบายสาธารณะเพื่อประชาชน เนื่องจาก
หน่วยงานภาครัฐเป็นองค์การขนาดใหญ่ทำ ให้การจัดการ
บริหารจัดการเพื่อให้เป็นไปตามแบบแผนเดียวกันเป็นเรื่องที่
ยากเช่น การดำ เนินการตามนโยบายผู้ที่ออกนโยบายกับผู้ที่
ดำ เนินการเป็นบุคคลคนละกลุ่มกัน ถือว่าเป็นอุปสรรคที่สำคัญ
ดังนั้น การร่วมมือกันของทุกภาคส่วนเป็นขั้นตอนที่สำคัญ โดย
ต้องมีการกำ หนดเป้าหมายที่ชัดเจน แนวทางการดำ เนินงานที่
แน่นอน เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้ดำ เนินการตามแนวทางเดียวกัน
(4.2) 1. ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการและวิธีการใน
การน าหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงิน
การคลังภาครัฐขององค์กรต้นแบบที่ดีภาครัฐ ที่
ครอบคลุมทั้งในส่วนของหลักนิติธรรม หลักคุณธรรม
หลักการมีส่วนร่วม หลักความโปร่งใส หลักความ
รับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า ผลการศึกษา
ดังกล่าวนี้แตกต่างไปจากการศึกษาของก.พ.ร.
(2556) เรื่อง การประเมินผลการน าหลักธรรมาภิ
บาลมาใช้ในการบริหารภาครัฐไทย: กรณีศึกษา
ส านักงานสรรพากรภาค 7 ที่พบว่า ส านักงานสรร
พากรภาค 7 มีการน าหลักธรรมาภิบาลมาใช้ใน
องค์กร โดยเน้นไปที่หลักประสิทธิภาพและหลักการ
ตอบสนอง เพื่อมุ่งเป็นส านักงานบริการขวัญใจประ
ชาชน (Service Excellence Tax Office) และผล
การศึกษาดังกล่าวยังแตกต่างไปจากการศึกษาก.พ.ร.
(2556) เรื่อง การประเมินผลการน าหลักธรรมาภิ
บาลมาใช้ในการบริหารภาครัฐไทย : กรณีศึกษา
กรมการขนส่งทางบก ที่พบว่า กรมการขนส่งทางบก
ได้ด าเนินการตามหลัก ธรรมาภิบาลของการบริหาร
กิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้าน
หลักการตอบสนอง : การพัฒนางานบริการเพื่ออ า
นวยความสะดวกแก่ประชาชนอย่างต่อเนื่อง ส่งผล
ให้สามารถให้บริการประชาชนที่มาติดต่อราชการได้
อย่างหลากหลายช่องทางและได้รับความสะดวก
รวดเร็ว ตอบสนองความต้องการและวิถีชีวิตของ
ประชาชน โดยไม่จ ากัดว่าต้องอยู่ภายในเวลาราช
การเท่านั้น ผลการศึกษาที่มีความแตกต่างกันดัง
กล่าวนี้อาจเนื่องมาจากในการศึกษา กระบวนการ
และวิธีการในการน าหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการ
บริหารการเงินการคลังภาครัฐขององค์กรต้นแบบที่ดี
ภาครัฐ เป็นการศึกษาในด้านการน าหลัก ธรรมาภิ
บาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังของหน่วย
งาน ซึ่งเรื่องของการเงินการคลังนั้นเป็นเรื่องที่เชื่อม
โยงกับหลักธรรมาภิบาลในทั้ง 6 หลัก แตกต่างไป
จากในเรื่องการน าหลักธรรมาภิบาลไปใช้ในการ
พัฒนางานที่เป็นภารกิจหลักของหน่วยงาน อาทิ
กรมการขนส่งทางบก ที่ภารกิจหลักคือการให้บริการ
ประชาชนในด้านงานทะเบียนและยานพาหนะ
ดังนั้นหลักธรรมาภิบาลที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับการ
พัฒนางานจะเป็นด้านหลักการตอบสนองที่มีความ
เกี่ยวข้องมากที่สุด
ในยุค Thailand 4.0 ที่ประเทศขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ ส่งผลให้ทุกองค์กรนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อบริหารจัดการงานด้านต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นเช่นเดียวกัน ‘หน่วยงานราชการ’ ก็นำเทคโนโลยีเข้าไปปรับใช้เพื่อให้มีความทันสมัยมากขึ้นถือเป็นการยกระดับบุคลากรสู่การเป็นข้าราชการยุคใหม่ เพื่อลบล้างภาพจำเดิมๆ ที่เคยมีในอดีต และเพื่อให้สอดรับกับกระแสโลกยุค 4.0 และกติกาใหม่ของโลก โดยนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในระบบการทำงานทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน พร้อมทั้งพัฒนาช่องทางการให้บริการใหม่ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ให้สามารถเข้าถึงบริการได้อย่าง่ายดายและรวดเร็วยิ่งขึ้น
หากต้องการยกระดับข้าราชการยุคใหม่ จำเป็นที่จะต้องเสริมทักษะให้แก่บุคลากรทุกคน หากมีความพร้อมมากเท่าไหร่ก็เปรียบเสมือนการมีต้นทางที่ดี ทำให้การพัฒนาในด้านต่างๆ ก้าวหน้ามากขึ้น โดยการพัฒนาและส่งเสริมทักษะบุคลากรนั้นประกอบไปด้วย การพัฒนากระบวนการคิดที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ได้ ทักษะการยืดหยุ่นที่สามารถปรับตัวเพื่อทำงานได้ทุกหน้าที่พร้อมรับความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทักษะด้านเทคโนโลยีที่ช่วยให้สามารถเข้าใจวิธีการทำงานในรูปแบบดิจิทัล กล่าวได้ว่าเมื่อพัฒนาบุคลากรก็สามารถยกระดับหน่วยงานให้ก้าวทันโลกยุคใหม่ได้ไม่ยาก อีกทั้งอาจได้ค้นพบศักยภาพใหม่ๆ ในตัวบุคลากร สามารถต่อยอดและพัฒนาขีดความสามารถในการทำงานทั้งในปัจจุบันและอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากปรับโครงสร้างบุคลากรแล้ว เรื่องทัศนคติในการทำงานเป็นทีมก็สำคัญไม่น้อยไปกว่ากัน โดยทีมต้องมีส่วนในการกำหนดเป้าหมายร่วมกัน รู้หน้าที่ของตนเองอย่างชัดเจน ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำงานในระบบราชการได้ เพื่อนำไปสู่แนวทางการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ สามารถเดินไปข้างหน้าร่วมกัน พร้อมตอบรับนโยบายได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
การเปลี่ยนแปลงหน่วยงานให้เข้าสู่ระบบดิจิทัลถือเป็นเรื่องท้าทาย เนื่องจากภาพรวมของระบบการทำงานยุค 4.0 จะเน้นเข้าไปสู่แพลตฟอร์มออนไลน์ ด้วยวิธีการเชื่อมโยงข้อมูลในหน่วยงานมาไว้ในระบบกลาง ทำให้ทุกหน่วยงานสามารถเข้าถึงข้อมูลของกันและกันได้ ซึ่งหน่วยงานใดมีระบบ Back Office อยู่แล้วแต่ยังมีข้อจำกัดในการใช้งานอยู่ จึงต้องปรับระบบให้สามารถรองรับการทำงานในยุคดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ยิ่งหากมีการผนวกทักษะ Digital Literacy เข้าไปเพื่อให้ทุกคนมีความเข้าใจในเทคโนโลยีและสามารถประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการทำงาน ก็ถือเป็นตัวช่วยเสริมแก่ข้าราชการยุคใหม่ให้ก้าวไปสู่ความทันสมัยได้ง่ายยิ่งขึ้น นอกจากนี้ บางหน่วยงานยังได้มีการสร้างแอปพลิเคชัน HR ขึ้นมาเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาด้านการขาดแคลนบุคลากรในส่วนต่างๆ ให้พร้อมอำนวยความสะดวกในทุกส่วน ซึ่งช่วยให้สามารถดูข่าวสารการรับสมัครงาน ดูข้อมูลส่วนบุคคล สมัครเข้าอบรม และยื่นคำร้องต่างๆ ได้ ถือว่าครอบคลุมทุกความต้องการ
การใช้แอปพลิเคชันเข้ามาช่วยในการทำงาน ไม่เพียงแค่ให้ความสะดวกสบายเท่านั้น ยังมีผลพลอยได้อื่นๆ อีกมากมาย เช่น ช่วยลดขั้นตอนการทำงานไม่ให้ซ้ำซ้อนกัน จัดการข้อมูลได้ง่ายขึ้น สามารถนำข้อมูลไปต่อยอดในอนาคต ลดการใช้วัสดุที่สิ้นเปลืองงบประมาณ เช่น ลดการใช้เอกสารเพื่อกรอกรายละเอียดสมัครงาน ตลอดจนมีความโปร่งใส จึงสามารถนำงบประมาณที่เหลือไปสร้างประโยชน์และต่อยอดทางด้านอื่นๆ ได้ด้วย
หน่วยงานต้องนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาช่องทางการให้บริการประชาชนแบบก้าวล้ำทันยุคดิจิทัล เช่น ระบบจองคิวก่อนเข้าใช้บริการผ่านช่องทางออนไลน์ หรือแอปพลิเคชันสำหรับติดตามคำร้องขอต่างๆ เพื่อให้ประชาชนสามารถติดตาม หรือเช็กสถานะการติดต่องานต่างๆ ได้ผ่านช่องทางออนไลน์ สามารถคาดเดาช่วงเวลาการรับบริการได้อย่างแม่นยำยิ่งขึ้น
การจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) เป็นแนวคิดที่ก่อกำเนิดขึ้นบนพื้นฐานของการดำรงอยู่ของแนวคิดการจัดการภาครัฐแบบดั้งเดิม (Public Administration: PA) และแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM) และไม่ใช่กระบวนทัศน์ใหม่หรือ การท้าทายแนวคิดแบบเดิมหรือจะเข้ามาแทนที่แนวคิดทั้งสองที่กล่าวมา แต่ NPG เป็นเครื่องมือ เชิงมโนทัศน์ที่จะช่วยขยายความเข้าใจที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงไปของกระแสสังคมโลก
ที่มีความแตกต่างหลากหลายและมีความสลับซับซ้อนของปัญหาและความต้องการที่เพิ่มมากขึ้น พร้อมทั้งยังเป็นการเปิดมุมมองให้เห็นถึงสภาพความเป็นจริงของวิธีการปฏิบัติงานของ บุคคลในภาครัฐให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ดังนั้น แนวคิดการจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) จึงเป็น ความพยายามที่จะทำความเข้าใจถึงการพัฒนาการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติและการส่งมอบ บริการสาธารณะในสภาพของความเป็นจริง ภายใต้สถานการณ์ของรัฐในศตวรรษที่ 21 ที่มีทั้ง ความแตกต่างหลากหลายและความสลับซับซ้อนของตัวแสดงที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับการทำงาน ของภาครัฐ อีกทั้งความซับซ้อนของสังคมแบบพหุและความหลากหลายของหน่วยงานหรือองค์กรต่างๆ ที่อยู่ภายในโครงสร้างของรัฐ
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง
พื้นฐานการบริหารการคลังที่มีประสิทธิภาพ และสร้างประสิทธิผลต่องานทางด้านการคลัง หน่วยงานภาครัฐจะต้องกำหนดประเด็นสำคัญในการบริหารให้แยกออกเป็นขอบข่าย
ที่สำคัญ 4 ขอบข่าย ดังต่อไปนี้การจัดการและการคัดเลือกผู้นำ (Organizational Alignment and Leadership) การจัดการนโยบายและการวางแผน (Policies and Processes)การจัดการส่วนบุคคล (Personnel Management) และข้อมูลข่าวสาร (Information)การจัดการและการคัดเลือกผู้นำ เพื่อเป็นผู้กำ หนดทิศทางการคลังในทุกภาคส่วน จะต้องมีการบริหารงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างให้สอดคล้องกับหน่วยงาน สอดคล้องกับความต้องการในด้านประโยชน์และสอดคล้องกับเป้าประสงค์ของแผนงาน หรือแผนกลยุทธ์รวมทั้งกำ หนดขอบเขตความรับผิดชอบและบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน ทั้งนี้ผู้นำ จะต้องมีความสามารถ มีความซื่อสัตย์และสามารถประสานงานได้ดีทุกภาคส่วนของหน่วยงานภาครัฐ การจัดการนโยบายและการวางแผนจะต้องใช้หลักการเชิงกลยุทธ์เข้ามาเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อน มีการประเมิน
ผลกระทบภายในองค์การในการจัดสรรงบประมาณ และต้องมีการประเมินผลกระทบภายนอกควบคู่ด้วยเช่นกัน เพื่อการจัดการที่มีประสิทธิภาพ การคลังจะต้องสร้างความร่วมมือ
กับทุกองค์การ และทุกหน่วยงานทั้งหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานภาคเอกชน มีการจัดการผู้จัดจำ หน่าย (Supplier)ลดการผูกขาด(Reduce Monopoly) เน้นประสิทธิภาพในการตรวจสอบและการกำกับดูแลสัญญาใส่ใจในการรับผิดชอบทางการเงิน การจัดการงานบุคคล การสั่งสมทุนมนุษย์การสร้างวัฒนธรรมในองค์การมีแต่ความซื่อสัตย์และมีกระบวนการกำกับดูแลที่มีประสิทธิภาพมีการควบคุมอย่างชัดเจนสนับสนุนการสร้างพฤติกรรมที่มีจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ ข้อมูลข่าวสาร การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้า
มาจัดการข้อมูล มีการติดตามผล การวางฐานข้อมูลทางการเงินและระบบนั้นจะต้องให้ง่ายต่อความเข้าใจในระดับผู้บริหาร มีระบบป้องกัน และการจัดการให้ข้อมูลเป็นความลับ
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
-ความเหมาะสมในงาน
-การจัดการภายใต้วัตถุประสงค์ตามกลยุทธ์
-กำหนดความรับผิดชอบและบทบาทที่ชัดเจน
-ผู้นำมีความเข้มแข็งและความสามารถ
-ผู้นำมีความซื่อสัตย์และเป็นแบบอย่างที่ดี
-ผู้นำมีความสามารถในการสื่อสาร
-การประเมินความต้องการภายในและผลกระทบจากสถานการณ์ภายนอก
-การจัดการที่มีประสิทธิภาพ
-สร้างความร่วมมือกับองค์การอื่น
-การจัดการกับตัวแทนจำหน่าย
-การตรวจสอบและกำกับดูแลสัญญาที่มีประสิทธิภาพ
-มีความรับผิดชอบทางการเงิน
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
1. ผู้รับบริการ หรือลูกค้า ซึ่งนับว่าเป็นองค์ประกอบของการบริการที่มีความสำคัญที่สุด เนื่องจากเป้าหมายหลักของการบริการ คือ ความพึงพอใจอย่างสูงสุดของผู้รับบริการ องค์ประกอบอื่นๆ อีก 4 องค์ประกอบนั้นต่างก็ถูกกำหนดหรือสร้างสรรค์ขึ้นมาเพื่อการสร้างความพึงพอใจอย่างสูงสุดให้เกิดขึ้นกับผู้รับบริการทั้งสิ้น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ ผู้รับบริการ เป็นจุดเริ่มต้นของการบริการ หากไม่มีผู้รับบริการแล้ว องคืประกอบอื่นๆ ย่อมไม่เกิดขึ้น
2. หน่วยบริการ หมายถึง หน่วยงานที่ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อผลิตงานบริการในด้านต่างๆ เพื่ออำนวยความสะดวกหรือช่วยเหลือแก่บุคคลอื่น โดยอาจดำเนินการในลักษณะเจ้าของคนเดียว ห้างหุ้นส่วน หรือบริษัทจำกัดก็ได้ และเป็นได้ทั้งหน่วยงานของรัฐและหน่วยงานเอกชน หน่วยงานบริการจะมีบุคคลหรือกลุ่มบุคคลเป็นผู้นำในการดำเนินงานทางธุรกิจ ซึ่งเรียกว่า ผู้บริหารหน่วยงาน โดยผู้บริหารหน่วยงานมีบทบาทสำคัญต่อการกำหนดคุณภาพของการบริการ เนื่องจากอยู่ในฐานะผู้นำของหน่วยงานที่มีอำนาจโดยตรงและมีหน้าที่ความรับผิดชอบหลักในการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของหน่วยงาน โดยการกำหนดนโยบาย วิสัยทัศน์ กลยุทธ์การบริการ จัดสรรทรัพยากร วางระเบียบและกฎเกณฑ์ต่างๆ ตลอดจนเป็นผู้นำของผู้ปฏิบัติงานให้บริการของหน่วยงานด้วย
3. ผู้ปฏิบัติให้งานบริการ เป็นผู้ที่ดำเนินการบริการ หรือลงมือให้บริการต่อผู้รับบริการโดยตรง โดยอาจะมีปฏิสัมพันธ์และปรากฏตัวต่อผู้รับบริการหรือไม่ก็ได้
4. ผลิตภัณฑ์บริการ เป็นกระบวนการ หรือวิธีการนำเสนออรรถประโยชน์หรือคุณค่าต่างๆ ที่หน่วยงานบริการและผู้ปฏิบัติงานให้บริการมอบให้กับผู้รับบริการ
5. ลักษณะทางกายภาพและสภาพแวดล้อมของการบริการ หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่ผู้รับบริการสามารถสัมผัสได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
แนวคิดที่มีอิทธิพลต่อการปฏิรูปการบริหารภาครัฐทั่วโลก แนวคิดใหม่ไม่ใช่การปฏิรูประบบ
ราชการอย่างเดียวแต่ยังแปลงโฉมภาครัฐใหม่ด้วยการจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับสังคม
ใหม่ เหตุผลหลักที่ได้รับการยอมรับคือ ตัวแบบระบบราชการเดิมใช้ไม่ได้อีกต่อไป รัฐบาลหลายประเทศ
เริ่มไม่เห็นด้วยกับการทํางานแบบราชการ จึงจ้างนักเศรษฐศาสตร์ที่อบรมการจัดการเข้ามาทํางานแทน
นักบริหารพร้อมกับหยิบยืมเทคนิคการจัดการจากภาคเอกชนมาใช้ย้อนกลับไปใช้วิธีการแบ่งกิจกรรม
ภาครัฐกับภาคเอกชนออกจากกันเพื่อหาทางตัดค่าใช้จ่าย และเริ่มเปลี่ยนระบบการทํางานใหม่ สาเหตุ
พื้นฐานมาจากรัฐบาลหลายประเทศเผชิญกับปัญหารายได้ที่แท้จริงตกตํ่ า แต่นักการเมืองยังคงอยาก
ให้บริการอยู่ในระดับเดิม จึงไม่มีทางอื่นนอกจากปรับปรุงประสิทธิภาพประกอบกับนักทฤษฎีท้วงติงว่า
ระบบราชการเดิมไม่มีประสิทธิภาพ และเมื่อนักเศรษฐศาสตร์ศึกษาก็ได้ค าตอบแบบเดียวกัน จึงเริ่มมี
คําถามว่าทําไมต้องจ้างข้าราชการถาวร ทําไมไม่จ้างตามสัญญา หากจ้างตามสัญญาจะเกิดปัญหา
อะไรบ้าง ส่วนแรงต่อต้านจากระบบราชก็มีน้อย เพราะประชาชนไม่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงจึงเกิดขึ้น
และเป็นเหตุให้การทํางานแบบระบบราชการบางอย่างหายไป ดังนั้นแนวโน้มของ“การจัดการภาครัฐ”
ในอนาคตจึงมุ่งไปสู่ “การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ” (Privatization) และการใช้ “บุคคลที่สาม” (Third
Party) ในการดําเนินการต่าง ๆ แทนภาครัฐเพิ่มมากขึ้นซึ่งทําให้ภาครัฐจํ าเป็นต้องอาศัย “แนวความคิด
และวิธีการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชน” มาใช้มากขึ้นทุกทีการบริหารจัดการแบบภาคเอกชน
เช่นว่านี้ทําให้เจ้าหน้าที่ของภาครัฐต้องมีความเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพมากขึ้น (Qualityfied
Personnel) พร้อม ๆ กับการต้องเป็น “มืออาชีพ” มากขึ้นด้วย (Higher-Quality Professional)
แต่โดยที่การบริหารในภาครัฐราชการจะต้องอยู่ภายใต้กฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ มากมาย ซึ่งต่าง
จากการบริหารของภาคเอกชน และอยู่ภายใต้หลักการปกครองแบบ “นิติรัฐ” (Rule of Law)
ด้วยจึงทําให้ภาครัฐจําเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบของการปกครองแบบเข้มงวดเคร่งครัดมายึดหลักการ
ผ่อนปรนภายใต้ “ธรรมาภิบาล” หรือ “การก ากับดูแลที่ดี” (Good Governance) มากขึ้น ปัญหาใน
ปัจจุบันจึงอยู่ที่การเร่งสร้างองค์กรเครือข่ายของภาครัฐและภาคเอกชนที่อาศัยหลักการของ
“ธรรมาภิบาล” ซึ่งอยู่ภายใต้การกํากับของหลักแห่งศีลธรรมที่ดีงามทุกวันนี้ภาคเอกชนไม่เพียงแต่
เรียกร้องและต้องการ Good Governance เท่านั้นแต่ยังเรียกร้อง “Good Judgment” จากเจ้าหน้าที่
ของรัฐทุกระดับชั้นมากยิ่งขึ้นด้วย
การน้าแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้ในการปฏิรูประบบราชการของ
ต่างประเทศ
ประเทศอังกฤษ การปฏิรูประบบราชการในประเทศอังกฤษเกิดขึ้นเมื่อปีค.ศ.1979 เมื่อ
อังกฤษประสบปัญหาทางเศรษฐกิจตกต่ าอย่างรุนแรง ปัญหาการว่างงานและภาวะเงินเฟ้อ ขณะที่
คุณภาพและประสิทธิภาพของการบริหารงานภาครัฐได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างมาก ทําให้เกิดเสียง
เรียกร้องของประชาชนให้มีการปรับปรุงการบริการของรัฐให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ประกอบกับความ
สนใจของนางแท็ตเชอร์ที่มีความนิยมการบริหารราชการเชิงธุรกิจและนโยบายของพรรคอนุรักษ์นิยม
ที่ต้องการลดการจัดเก็บภาษีรายได้ของประชาชน ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ผลักดันให้รัฐบาลอังกฤษ ซึ่งนํา
โดยนางมาร์กาแร็ต แท็ตเชอร์ได้ริเริ่มการปฏิรูปขนานใหญ่
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
เป็นกระบวนการใช้ข้อมูล ข้อเท็จจริง ประสบการณ์และองค์ความรู้ของฝ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้อง มาพูดคุยแลกเปลี่ยนกันอย่างสันติวิธี มีกติกาและมีเทคนิควิธีการ ทั้งนี้จุดมุ่งหมายใหญ่คือการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม และเป็นกระบวนการที่ให้ความสำคัญต่อสุขภาพมาประกอบการกำหนดและตัดสินใจทางนโยบายทุกด้าน
แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM) เน้นการ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารงานภาครัฐ โดย ประยุกต์ใช้แนวทางการบริหารธุรกิจของ ภาคเอกชน และมองที่ผลสัมฤทธิ์ หรือการ วัดผลจากการปฏิบัติงาน ความประหยัด กลไก ตลาด รวมถึงการมีส่วนร่วม และสิ่งส าคัญ คือ มองประชาชนในฐานะลูกค้า หรือผู้รับบริการ การบริหารงานของรัฐ ทางเลือกที่น่าจะเหมาะสมในยุคปัจจุบันที่รัฐบาลมิได้ทำหน้าในการปกครองเพียงอย่างเดียวแต่ยังต้องทำหน้าที่เสมือนผู้ให้การสนับสนุนช่วยเหลือแก่พลเมืองให้ความสำคัญแก่ความเป็นพลเมืองหรือให้ความสำคัญต่อการเป็นมนุษย์มากกว่าความเป็นผู้ประกอบการหรือผลผลิตที่ได้
รัฐประศาสนศาสตร์สายรัฐศาสตร์ที่ให้ความสำคัญกับเรื่องคุณค่าหรืออุดมการณ์โดยเฉพาะคุณค่าความเป็นประชาธิปไตยมากกว่าเรื่องประสิทธิภาพหรือผลิตภาพ โดยมีแนวคิดพื้นฐานหรือรากฐานของแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่4 ประการหลัก คือ
(1)ทฤษฎีประชาธิปไตยพลเมือง (Theories of DemocraticCitizenship)
(2)ตัวแบบชุมชนและประชาสังคม (Models of Community and CivilSociety)
(3)มนุษย์นิยมองค์การและรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (OrganizationalHumanism and the New Public Administration)
(4)รัฐประศาสนศาสตร์หลังสมัยใหม่ (Postmodern PublicAdministration)
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
4.1 การบริหารงานคลัง หมายถึง การบริหารหรือการจัดการเกี่ยวกับกิจกรรมทางการคลังในด้านต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยจะต้องวิเคราะห์ถึงประเด็น หรือตัวประเมินผล รวมทั้งกระบวนการตัดสินใจและระบบข้อมูลของหน่วยงานที่รับผิดชอบในด้านต่างๆ
4.2 การมุ่งให้บริการแก่ประชาชนไม่ใช่การกำกับ ข้าราชการจึงไม่เพียงแต่ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนแต่ต้องสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับประชาชนด้วย
• การสำรวจความสนใจและความต้องการของสาธารณชน เพื่อสร้างความสนใจร่วมและรับผิดชอบร่วมกัน
• การให้คุณค่าแก่ประชาชนในฐานะของการเป็นพลเมืองมากกว่าการเป็นผู้ประกอบการ โดยข้าราชการจะยอมรับที่จะเป็นผู้ช่วยเหลือสังคมมากกว่าการเป็นผู้จัดการธุรกิจที่คิดและทำเสมือนเงินหลวงเป็นเงินของตนเอง
• การคิดอย่างมีกลยุทธ์ แต่ปฏิบัติอย่างเป็นประชาธิปไตย นโยบายและโครงการต่างๆจะสนองความต้องการของสาธารณชนได้อย่างมีประสิทธิผลหากมีการทำงานร่วมกัน
• การตระหนักว่าการมีสำนึกรับผิดชอบไม่ใช่เรื่องง่าย ข้าราชการไม่ควรสนใจแค่เรื่องของการทำงานตามนโยบาย หรือเรื่องการตลาด และการอยู่รอดของตน แต่ต้องสนใจเรื่องของกฎหมาย รัฐธรรมนูญ ค่านิยมของชุมชน สังคม บรรทัดฐานทางการเมือง มาตรฐานวิชาชีพ และความสนใจสาธารณะด้วย
• การบริการมากกว่ากำกับ มีการสร้างค่านิยมร่วม การเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการทางนโยบายถือเป็นการสร้างความสัมพันธ์และค่านิยมร่วมกันด้วย
• การคำนึงว่าประชาชนเป็นผู้มีคุณค่าไม่ใช่แค่ผลผลิต หน่วยงานราชการต่างๆจะประสบความสำเร็จในระยะยาวหากดำเนินการด้วยการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและสร้างการเป็นผู้นำร่วมกันกับประชาชนบนพื้นฐานของการเคารพประชาชน
เมื่อพิจารณาหลักการบริหารรัฐกิจแนวใหม่ที่กล่าวแล้วจะพบว่าประชาชนเป็นปัจจัยสำคัญ เป็นหัวใจของการบริหารรัฐกิจแนวใหม่นี้ เพราะประชาชนมีฐานะของการเป็นพลเมือง และการเป็นหุ้นส่วนในการดำเนินกิจกรรมเป็นสิ่งสำคัญ เมื่อเป็นพลเมืองและหุ้นส่วนการปรึกษาหารือการเปิดเผยข้อมูลการมีส่วนร่วม การทำงานอย่างโปร่งใส การทำงานที่มีหลักการการยึดหลักนิติธรรมจึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540จัดเป็นคัมภีร์สำคัญของการบริหารรัฐกิจแนวใหม่ที่ครอบคลุมประเด็นต่างๆทั้งหมด โดยพิจารณาได้จากการมีเจตนารมณ์ที่มุ่งส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีของการเป็นมนุษย์ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน การตรวจสอบอำนาจรัฐ การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติหน้าที่และส่งเสริมการกระจายอำนาจเป็นสำคัญ ทั้งนี้จึงกล่าวได้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับนี้นอกจากมุ่งก่อให้เกิดการปฏิรูปทางการเมืองแล้วยังมุ่งให้เกิดการปฏิรูปทางการบริหารราชการแผ่นดินโดยยึดหลักการบริหารแนวใหม่อีกด้วยอนึ่งหลักการการบริหารแนวใหม่ที่กำลังเป็นกระแสอยู่ในขณะนี้คือ การบริหารจัดการที่ดีหรือธรรมาภิบาล(Good Governance)ซึ่งองค์กรภาครัฐและเอกชนให้ความสนใจและพยายามที่จะนำมาใช้เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ของการทำงานที่ดีที่สุดโดยอยู่บนพื้นฐานของการมีหลักการ
ตอบ.
สภาพแวดล้อม (environment) และนิเวศวิทยา (ecology) เป็นคำที่อาจใช้แทนกันได้แต่จากการติดตามและสังเกตดู การใช้คำทั้งสองนี้ในตำรับตำราต่างๆ พบว่า มีความแตกต่างกันอยู่ไม่น้อย กล่าวคือ สภาพแวดล้อมหรือ environment จะหมายถึงสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลเหนืออินทรีย์ (organism) และองค์การแต่ฝ่ายเดียวส่วนนิเวศวิทยาหรือ ecology นั้นจะหมายถึง สภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลเหนืออินทรีย์ (organism) และองค์การฝ่ายเดียว ส่วนนิเวศวิทยาหรือ ecology นั้นจะหมายถึง
สภาพแวดล้อมทีมีอิทธิพลเหนืออินทรีย์และองค์การ แต่ในขณะอินทรีย์และองค์การก็จะมีอิทธิพลเหนือ สภาพแวดล้อม
นอกจากนี้คำว่า ecology มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก ว่า “oikos” ซึ่งเดิมหมายถึง การอยู่อาศัย หรือที่อยู่ (habitation) ต่อมาการศึกษาตามแนวนิเวศวิทยาหรือสภาพแวดล้อมนี้ หมายความรวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับเศรษฐกิจและครัวเรือนของอินทรีย์ทีครอบคลุมความสัมพันธ์ระหว่าง อินทรีย์และสภาพแวดล้อมทั้งที่สิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิตที่เป็นรูปธรรมนามธรรมเฉพาะอย่างยิ่ง
ความสัมพันธ์ทีเอื้ออำนวย และขัดขวางการต่อสู้เพื่อยังชีวิตตามแนวความคิดของชาร์ลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin) และคำว่า ecology นี้ นักชีวะวิทยา ชื่อ เออร์นสต์ ฮายริค เฮกเกล (Ernst Heinrich Haeckel) นักชีวิวิทยาและนักเขียนชาวเยอรมันเป็นผู้คิดขึ้นในปี ค.ศ. 1870
ตอบ.
การพัฒนาระบบราชการที่ผ่านมาได้นำแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่มาปรับใช้ โดยมีเหตุผลหลักที่สำคัญจากปัญหาของระบบราชการไทยที่มีหลายประการและสั่งสมมานาน และ กระแสโลกาภิวัตน์ส่งผลให้สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกประเทศ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ
ทั้งนี้ได้กำหนดแผนกลยุทธ์และมาตรการในการพัฒนาระบบราชการ ได้แก่
1) การลดขั้นตอนและระยะเวลาในการปฏิบัติราชการ
2) การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชน ให้เป็นที่ยอมรับ ปรับปรุง แก้ไข ยกระดับ และพัฒนากฎหมาย ระเบียบ ขั้นตอนการให้บริการ การอำนวยความสะดวก และมาตรฐานของส่วนราชการ
3) การพัฒนาขีดสมรรถนะและศักยภาพของ ข้าราชการการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาใช้ในการให้บริการประชาชน (e-Service) การแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนจากการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการและการทุจริตคอร์รัปชัน
4) การบูรณาการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานและภาคส่วนต่าง ๆ โดยยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการจึงได้กำหนดให้ปรับปรุงกลไกภาคราชการให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส สามารถตอบสนอง ความต้องการของประชาชนได้ และก่อให้เกิดความเชื่อมั่น ศรัทธาต่อการทำงานของภาคราชการเพิ่มขึ้น ซึ่งจะเอื้อต่อการเสริมสร้างรากฐานที่เข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และสังคมในการพัฒนาประเทศ และพร้อม ที่จะรองรับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคต
ตอบ.
การจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) มีรากฐานมาจากการศึกษาสถาบันและเครือข่าย (Institutional and Network Theory) ที่ตั้งอยู่บนการพิจารณารัฐในลักษณะที่มีความแตกต่างหลากหลายภายในตนเองหรือรัฐพหุลักษณ์ (Plural State) ซึ่งเป็นการมองว่ารัฐเป็นตัวแสดงที่ประกอบด้วยองค์กรและองค์กรและหน่วยงานต่าง ๆ ที่พึ่งพาอาศัยกัน หลากหลายระดับ
และหลายรูปแบบเข้ามามีบทบาทในการจัดให้มีบริการสาธารณะให้แก่ประชาชน (A Plural State:Where Multiple Interdependent Actors Contribute to The Delivery of Public Services) ส่วนรัฐพหุนิยม (Pluralist State) เป็นบริบทที่ภาครัฐต้องเผชิญกับสภาพสังคมที่มีความแตกต่างหลากหลายในมิติต่างๆ(A Pluralist State: Where MultipleProcesses Inform ThePolicy-MakingSystem) (Osborne, 2010) ดังนั้น แนวคิดการจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) จึงเป็น
ความพยายามที่จะทำความเข้าใจถึงการพัฒนาการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติและการส่งมอบบริการสาธารณะในสภาพของความเป็นจริง ภายใต้สถานการณ์ของรัฐในศตวรรษที่ 21 ที่มีทั้งความแตกต่างหลากหลายและความสลับซับซ้อนของตัวแสดงที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับการทำงานของภาครัฐ อีกทั้งความซับซ้อนของสังคมแบบพหุและความหลากหลายของหน่วยงานหรือองค์กร
ต่าง ๆ ที่อยู่ภายในโครงสร้างของรัฐเอง
ตอบ.
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง การบริหารการคลังสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เกิดขึ้นเมื่อมีการกระจายอำนาจของรัฐบาลกลาง เป็นการมอบอำนาจการตัดสินใจในการปกครองและการบริหารของส่วนกลางให้อย่างเป็นทางการ มีตัวบทกฎหมายและแนวทางการมอบอำนาจ ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร มอบความเป็นอิสระในการตัดสินใจ มีความสามารถในการบริหารจัดการระดับหนึ่ง มีความสามารถในการมีทรัพย์สิน งบประมาณ บุคลากร ทั้งทางด้านรายได้ และรายจ่าย โดยการกระจายอำนาจทางการคลัง (Fiscal Decentralization) ท้องถิ่นสามารถมีรายได้เป็นของตนเองเพื่อประกันความเป็นอิสระของท้องถิ่น การปกครองส่วนท้องถิ่นในรับอิทธิพลของการปฏิรูปการปกครอง ตามแนวทางกระแสการปฏิรูประบบราชการร่วมกับการปฏิรูประบบการบริหารจัดการภาครัฐ ตามแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM) และการบริการสาธารณะแนวใหม่ (New public service: NPS) ที่มีการผนวกเอาแนวคิดด้านเศรษฐศาสตร์ และแนวคิดการบริหารจัดการ มาปรับใช้ในหน่วยงานภาครัฐมากขึ้น เกณฑ์ในการประเมินวัตถุประสงค์ของการบริหารการเงินขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น แนวคิดในการวัดการกระจายอำนาจการคลังของรอย และโจฮาเนส (Roy W. Bahl&Johanes F. Linn, 1992 ) และมัสเกรฟส์(Musgrave, 1959) นั้นสามารถวัดได้ทั้งในส่วนแบ่งด้านรายรับ และส่วนแบ่งด้านรายจ่ายที่รัฐบาลท้องถิ่นได้รับ โดยการวัดในด้านรายรับจะช่วยอธิบายถึงขอบเขตอำนาจที่รัฐบาลท้องถิ่นสามารถระดมทรัพยากรสาธารณะโดยใช้ระบบภาษีและค่าบริการจากการจัดบริการสาธารณะซึ่งจะเป็นตัวบ่งชี้ถึงสิทธิของท้องถิ่นที่มีต่อรายได้ของประเทศโดยรวม และใช้การวัดส่วนแบ่ง
ในด้านการใช้จ่ายซึ่งมีข้อจำกัด เช่น การไม่ได้สะท้อนถึงการกระจายอำนาจทางการคลังอย่างแท้จริง การวัดการกระจายอำนาจทางการคลังจึงต้องมีเครื่องมือการวัดที่ดีที่มีการอธิบายรายละเอียดให้เห็นถึงระบบการคลัง ระบบการบริหารและงบประมาณ
ตอบ.
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
-ความเหมาะสมในงาน
-การจัดการภายใต้วัตถุประสงค์ตามกลยุทธ์
-กำหนดความรับผิดชอบและบทบาทที่ชัดเจน
-ผู้นำมีความเข้มแข็งและความสามารถ
-ผู้นำมีความซื่อสัตย์และเป็นแบบอย่างที่ดี
-ผู้นำมีความสามารถในการสื่อสาร
-การประเมินความต้องการภายในและผลกระทบจากสถานการณ์ภายนอก
-การจัดการที่มีประสิทธิภาพ
-สร้างความร่วมมือกับองค์การอื่น
-การจัดการกับตัวแทนจำหน่าย
-การตรวจสอบและกำกับดูแลสัญญาที่มีประสิทธิภาพ
-มีความรับผิดชอบทางการเงิน
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
ตอบ
การบริหารและการพัฒนาองค์การถือเป็นศิลปะอย่างหนึ่งในการดำเนินงานให้เป็นผลสำเร็จ กล่าวคือ ผู้บริหารไม่ใช่เป็นผู้ลงมือปฏิบัติ แต่จะเป็นผู้ใช้ศิลปะในการทำให้ผู้ปฏิบัติ ทำงานจนสำเร็จตามจุดมุ่งหมายตามที่ผู้บริหารตั้งใจ ผู้บริหารยุคปัจจุบันต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่หลากหลาย ท้าทาย และเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก จะต้องทำงานโดยมุ่งเน้นแก้ปัญหาที่ซับซ้อนตลอดเวลา ต้องเผชิญกับการแข่งขัน ต้องปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับต่างๆ นับวันงานบริหารจะยิ่งยุ่งยากมากขึ้น
. อันเนื่องมาจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด ภาวะวิกฤติทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น ลักษณะงานบริหารจึงไม่แน่นอน เสี่ยงกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและความหลากหลายต่างๆ แต่ในขณะเดียวกันเมื่อเกิดภาวะที่ท้าทาย เหล่านี้ ผู้บริหารก็ควรแสวงหาโอกาสและสร้างความได้เปรียบให้เกิดแก่องค์การ (เปลี่ยนวิกฤติให้เป็นโอกาส) โดยการมุ่งเน้นพัฒนาองค์การในรูปแบบต่างๆ อย่างเป็นระบบ โดยไม่คำนึงถึงตัวบุคคลแต่ให้พิจารณาที่ผลงานเป็นหลัก
กระบวนการบริหาร
ปัจจัยส่งผลเมื่อมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงระบบใดๆ ในองค์การ ย่อมส่งผลกระทบต่อระบบอื่นในองค์การเสมอ มีผู้กล่าวว่าประสิทธิภาพของงานจะมุ่งตรงไปสู่ถนนที่ตัดผ่านการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นหากมีการเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนามักมีปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดในสิ่งต่อไปนี้
1.เกิดบทบาทและเป้าหมายใหม่ขึ้นในองค์การ
2.การประเมินค่าของคนในองค์การสูงขึ้น
3.การวินิจฉัยสถานการณ์จะได้มาจากการสังเกตจากคนหลายกลุ่ม
4.เกิดการแสวงหาการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
5.เกิดการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
6.คนทุกคนในองค์การสามารถระบายความทุกข์ร้อนใจได้
7.เกิดประสบการณ์ใหม่ขึ้น
8.มีการประกาศเป้าหมายใหม่
9.เริ่มมีการวางแผนเป็นระยะๆ
10.สมาชิกเริ่มรู้ตัวเองว่ามีอะไรบ้างที่ตนยังไม่รู้
11.ตัดสินใจร่วมกันและสำนึกดีว่า ต้องทำงานร่วมกัน ไม่ใช่ทำงานบนคน
12.พบเป้าหมายที่เป็นจริง แต่ละคนมีความเสี่ยงมากขึ้น
13.สามารถลบล้างระบบเก่า (Unfreezing) กลายเป็นเกิดสิ่งใหม่ๆ ขึ้น
สรุป
องค์การจำเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ ความคิดสร้างสรรค์จะเป็นกระบวนการที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยเกิดเป็นนวัตกรรมใหม่ ก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลงานใหม่ การให้บริการระบบใหม่ ที่จะตอบสนองความต้องการของลูกค้า ปัจจัยต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง อาทิ สภาพแวดล้อมทั่วไป การเมือง เศรษฐกิจ เทคโนโลยี สังคม ผู้บริหารจึงควรจะต้องแสวงหาความคิดใหม่ๆ องค์ความรู้ใหม่ เพื่อพัฒนาองค์การต่อไปให้ประสบผลสำเร็จ
ตอบ
ในยุคหลอมรวมเทคโนโลยีมีผลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับ ผลิต และใช้ข้อมูลของผู้รับข่าวสาร และสื่อกระแสหลักทำให้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) กลายเป็นแหล่งข้อมูลข่าวสาร เกิดการ ปฏิสัมพันธ์ ในชุมชนออนไลน์ เชื่อมโยงเรื่องราวจากกลุ่มหนึ่งสู่อีกกลุ่มหนึ่ง ผู้รับสารบนสื่อออนไลน์สามารถผลิตสื่อได้เอง ในหลายรูปแบบและมีจำนวนมาก มีผลให้เกิดกระบวนการสื่อข่าวในลักษณะการสื่อสารแบบสองทาง (Twoway communication) คือ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตสื่อและผู้รับสารบนสื่อสังคม มีการใช้สื่อสังคมเป็น เครื่องมือรวบรวมข้อมูล ติดตามแหล่งข่าวและประเด็นที่น่าสนใจเพิ่มเติมจาก สิ่งที่ผู้ใช้สื่อออนไลน์นํามา เผยแพร่และ เกิดการสนทนา แลกเปลี่ยนข่าวสารกัน ประโยชน์ของ กระบวนการหาข้อมูลจากสื่อสังคม ออนไลน์คือเปิดโอกาสให้ผู้สื่อข่าว สำนักข่าว และผู้ผลิตสื่อรูปแบบต่างๆ สามารถเข้าถึงข้อมูลจำนวนมาก และ กว้างมากขึ้น เข้าถึงกลุ่มคนที่แตกต่าง หลากหลาย และกลุ่มคนใหม่ๆ ที่อาจไม่เคยเป็นแหล่งข้อมูลของสื่อมา ก่อน ดังนั้น สื่อสังคมออนไลน์จึงมีตัวเลือกของผู้เชี่ยวชาญ ผู้เกี่ยวข้องกับเรื่องราว และแหล่งข่าวที่หลากหลาย รวมถึงมีโอกาสในการพัฒนาขยายเครือข่ายการเข้าถึงกลุ่มผู้รับสารที่แตกต่างได้ความท้าทายที่เกิดขึ้นท่ามกลาง การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี อีกทั้งบทบาทของข้อมูลจากสื่อสังคมออนไลน์ต่อการนำเสนอ ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานภาครัฐที่สามารถกำหนดวาระข่าวสารความสนใจของสังคมมาใช้ในการ ประชาสัมพันธ์และการรับรู้ของประชาชนจากการรายงานข่าวของสื่อสังคมออนไลน์จึงเป็นความท้าทาย บทบาทของภาครัฐต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อพัฒนาคุณภาพในการรายงานข่าวและควบคุมมาตรฐานใน การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการรับข้อมูล ใช้ข้อมูล และผลิตจากสื่อสังคมออนไลน์ต่อประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ ระดับท้องถิ่นจนถึงระดับชาติ เพื่อยกระดับบทบาทของหน่วยงานภาครัฐต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์ใน สังคมไทยให้มีคุณภาพและเป็นการพัฒนาคนจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยผ่านสื่อสังคมออนไลน์ในอีกทางหนึ่ง (สุภารักษ์ จูตระกูล, 2557) ด้วยความสำคัญของที่มาและปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาเรื่องบทบาทของ หน่วยงานภาครัฐต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์ เพื่อนำผลการศึกษาไปใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมบทบาทของ หน่วยงานภาครัฐต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน
ดังนั้น ในการนำมาใช้ควรจะกำหนดเงื่อนไขการใช้และข้อกำหนดความรับผิดชอบให้ชัดเจน นอกจากนี้ สื่อสังคมออนไลน์ยังเป็นสื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และเป็นสื่อที่มีการปรับปรุงแก้ไข ข้อมูลได้ตลอดเวลา จำเป็นที่จะต้องติดตาม
ตอบ
การจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) เป็นอีกหนึ่งแนวคิดในการจัดการภาครัฐที่มี การกล่าวถึงในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 เมื่อโลกได้เข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งเอกชน ภาคประชาสังคม ชุมชน ท้องถิ่น และองค์กรอื่น ๆ ที่มิใช่เฉพาะแต่องค์กรของรัฐเท่านั้น ได้มีบทบาทในกิจกรรมสาธารณะมากขึ้น ถึงแม้ว่า NPG จะไม่ได้เข้าไปแทนที่แนวคิดการจัดการภาครัฐในรูป แบบเดิม ๆ ที่เคยมีอยู่แต่ก็เป็นแนวคิดที่น่าจับตามองเพราะมีการขยายตัวอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา และได้มีการนำแนวคิด NPG มาประยุกต์ใช้ในการจัดการปกครองท้องถิ่นเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วนในท้องถิ่น อันจะเป็นการตอบสนองต่อการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืนสืบไป วัตถุประสงค์ ของบทความนี้ คือ
1) เพื่อนำเสนอถึงแนวคิดและที่มาเกี่ยวกับการจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่
2) เพื่อนำเสนอถึงแนวทางและวิธีการในการประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ ในการจัดการปกครองท้องถิ่น
จากบทความนี้ทำให้ทราบว่า NPG เป็นเครื่องมือเชิงมโนทัศน์ที่จะช่วยขยายความเข้าใจต่อ การเปลี่ยนแปลงที่หลากหลายของสังคมโลก ความซับซ้อนของปัญหาและความต้องการ ที่ทุกภาคส่วนต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ ดังนั้นการประยุกต์ใช้ NPG ในการจัดการปกครองท้องถิ่นจึง เป็นการเปิดโอกาสให้เกิดความร่วมมือกันของทุก ๆ ภาคส่วนในท้องถิ่นมามีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายและการส่งมอบบริการสาธารณะหรือกิจกรรมสาธารณะอื่น ๆ ได้เพื่อเป็นการเสริมสร้างสร้าง พลังอำนาจและความเข้มแข็งให้กับประชาชนและท้องถิ่นต่อไป
บทสรุป
การจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) เป็นวาทกรรมทางเลือก (Alternative Discourse) ที่เปิดมุมมองทั้งทางทฤษฎีและวิธีการปฏิบัติงานของภาครัฐให้มีความชัดเจนและสอดรับ กับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของสังคมโลกในศตวรรษที่ 21 การเปลี่ยนแปลงที่ทำให้การบริหาร ภาครัฐแบบดั้งเดิมที่ใช้ “กลไกราชการ” และแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) ที่ใช้ “กลไก ตลาด” ในการบริหารงานอาจจะมีจุดอ่อน และไม่สามารถรับมือกับกระแสการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ ได้แนวคิด NPG ได้นำเสนอมุมมองในการวิเคราะห์และการทำความเข้าใจในกิจกรรมสาธารณะที่ ไม่ได้มีภาครัฐเป็นเจ้าภาพผูกขาดอำนาจแต่เพียงฝ่ายเดียว ทั้งการกำหนดและการนำนโยบาย สาธารณะไปสู่การปฏิบัติ การส่งมอบบริการสาธารณะและ/หรือกิจกรรมสาธารณะอื่น ๆ ล้วนแล้วแต่ มีภาคส่วนและตัวแสดงอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากรัฐเข้ามามีส่วนร่วมด้วยทั้งสิ้น ทำให้กลายเป็นสังคมแบบ พหุลักษณ์และพหุนิยม การเปลี่ยนแปลงบทบาทของภาครัฐตามแนวคิด NPG นี้ ทำให้รัฐมีสภาพที่เล็ก ลงด้วยอำนาจและภาระหน้าที่ แต่สังคมจะใหญ่ขึ้น (Smaller Government, Bigger Society) ดังนั้น แนวคิด NPG จึงเป็นการใช้ “กลไกเครือข่ายและหุ้นส่วนภาคี” เป็นตัวขับเคลื่อนการดำเนินนโยบาย สาธารณะและการส่งมอบบริการสาธารณะ
แนวคิดการจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับ การจัดการปกครองท้องถิ่น (Local Governance) ที่สามารถปรับเปลี่ยนการบริหารจากแนวคิดแบบ ดั้งเดิมที่เน้นระบบราชการและสายการบังคับบัญชาไปสู่การจัดการแบบเครือข่ายที่เปิดโอกาสให้เกิด ความร่วมมือกันของทุก ๆ ภาคส่วนในท้องถิ่นมามีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายและการส่งมอบ บริการสาธารณะหรือกิจกรรมสาธารณะอื่น ๆ ได้ เพื่อเป็นการเสริมสร้างพลังอำนาจและความเข้มแข็ง ให้กับชุมชนท้องถิ่น มีทุนทางสังคม (Social Capital) ที่จะเป็นพลังอำนาจในการต่อรองและสร้าง ความสมานฉันท์ให้เกิดขึ้นในสังคมต่อไป
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง
ตอบ
บทบาทหน้าที่ของภาครัฐในรูปแบบการจัดการภาครัฐแนวใหม่ ที่จะต้องศึกษากระบวนการหลัก การวางแผนการบริหาร เพื่อเป็นหลักพื้นฐานของการจัดการด้านงานบริการสาธารณะ ในที่นี้ได้แก่การบริหารการคลัง ซึ่งการ บริหารการคลังที่มีประสิทธิภาพจะสามารถขับเคลื่อนให้เกิดความยั่งยืนของเศรษฐกิจในสังคม โดยนำเสนอแนวทางการบริหาร ขอบข่ายการบริหารและกรอบการจัดระเบียบการคลังที่จะสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการบริหารภาครัฐในปัจจุบัน เพื่อให้เกิด การบริหารงานที่มีประสิทธิภาพได้ต่อไป
องค์การหน่วยงานภาครัฐต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน และการเพิ่มขึ้นของข้อมูลด้าน งานบริการต่างๆ มากมาย ดังนั้น การพัฒนาด้านการบริหาร โดยยึดหลักของการบริหารหลายมิติและการประยุกต์ศาสตร์ การบริหารของภาคเอกชน (PrivateSector Management Science) เพื่อขับเคลื่อนงานบริการสาธารณะในมุมมองการ จัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM) จึงเป็นกุญแจสำคัญในการจัดการงานของภาครัฐ เพื่อให้เกิด ประโยชน์และประสิทธิภาพในด้านงานบริการสาธารณะ (Preston & Post, 2013) ทั้งนี้การจัดการภาครัฐแนวใหม่มีบทบาทในสหราชอาณาจักรกว่าทศวรรษ มีการถกเถียงและค้นคว้าเพื่อพิจารณาถึงแผนการและการดำเนินงานที่เกี่ยวข้อง กับหน่วยงานภาครัฐโดยมีวัตถุประสงค์ร่วมกันเพื่อให้เกิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่จากการที่หน่วยงานภาครัฐแต่ละภาคส่วนมีแนวทางการดำเนินงานแตกต่างกันการนำการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาเป็นฐานคิดในการบริหารจึงอาจแตกต่าง กันในแต่ละภาคส่วน ทั้งด้านงบประมาณการเงินและการคลัง ฐานประชาชนที่รับบริการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการวางแผนงานระหว่างหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานภาคเอกชน ผู้นำของหน่วยงานต้องพินิจพิเคราะห์และศึกษาหลัก การการจัดการภาครัฐแนวใหม่ วามีขั้นตอนและรายละเอียดสอดคล้อง และเพียงพอต่อการบริหารในหน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบเพียงใด
พื้นฐานด้านการสั่งสมองค์ความรู้ของการจัดการภาค รัฐแนวใหม่มีความสำคัญยิ่ง เนื่องจากจะสร้างให้เกิดการ บริหารที ่มีรูปแบบการจัดการแนวใหม่ที่ชัดเจน และจะส่งผลต่องานบริการสาธารณะอย่างแท้จริง ดังนั้น ผู้นำหรือผู้บริหารหน่วยงานภาครัฐมีความจำเป็นที่จะต้องศึกษาและวิจัยสถานการณ์ รวมทั้งวิเคราะห์เชิงนโยบายด้านต่างๆ เพื่อเป็นพื้นฐานในการกำหนดร่างนโยบายการควบคุม และ การประเมินผล ทั้งนี้จะต้องจัดการภายใต้ระบบ หรือกฎระเบียบราชการในส่วนราชการนั้นๆ โดยจะต้องศึกษาหลักการออกแบบกระบวนการและการจัดการองค์การรวมทั้ง การจัดการนโยบายภายใต้หลักการและทฤษฎีเพื่อนำไปสู่ ประเด็นเนื้อหาที่ชัดเจน ตอบโจทย์ในการแก้ไขปัญหาสังคม (SocialProblem)และสามารถนำนโยบายไปปฏิบัติได้อย่าง มีประสิทธิภาพ และก่อให้เกิดประสิทธิผลของภาคประชาชน ทุกภาคส่วน
สรุป
การบริหารภาคการคลังจะต้องมีการกำหนดมาตรการ การควบคุมและการดำเนินการครอบคลุมในทุกมิติการนำการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้เพื่อการกำหนดมาตรการ หรือแนวทางการบริหาร จะทำให้การบริหารมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพราะการจัดการภาครัฐแนวใหม่มีรูปแบบตั้งแต่การ ศึกษาสภาพแวดล้อมและปัญหา การศึกษาเอกสารและ ผลการดำ เนินการที่ผ่านมารวมไปถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดการดำเนินการ เพราะการดำเนินการภายใต้โครงการต่างๆต้องลดปัญหาแม้ว่าจะถูกจำกัดด้วย สภาพแวดล้อมและทรัพยากรที่มีอยู่ปัจจุบันหลายประเทศในอาเซียนประสบปัญหาคือการที่รัฐบาลไม่สามารถดำเนินการบริหารได้ตามที่แถลงจุดอ่อนปัญหาการบริหารการคลังที่ไม่มี คุณภาพ ขาดการวางแผน ขาดการศึกษาในเชิงลึกและขาดการวางรากฐานนโยบายสาธารณะเพื่อประชาชน เนื่องจากหน่วยงานภาครัฐเป็นองค์การขนาดใหญ่ทำให้การจัดการ บริหารจัดการเพื่อให้เป็นไปตามแบบแผนเดียวกันเป็นเรื่องที่ ยากเช่น การดำเนินการตามนโยบายผู้ที่ออกนโยบายกับผู้ที่ ดำเนินการเป็นบุคคลคนละกลุ่มกัน ถือว่าเป็นอุปสรรคที่สำคัญ ดังนั้น การร่วมมือกันของทุกภาคส่วนเป็นขั้นตอนที่สำคัญ โดยต้องมีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจนแนวทางการดำเนินงานที่แน่นอน เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้ดำเนินการตามแนวทางเดียวกัน
ตอบ
ปัญหาเกี่ยวกับธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นปัญหาที่มีความสำคัญต่อระบบการปกครองท้องถิ่นอย่างยิ่ง สาเหตุของปัญหาแบ่งออกเป็นสามด้านคือ ปัญหาที่เกิดจากรัฐ ปัญหาที่เกิดจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและปัญหาที่เกิดจากภาคประชาชน แนวทางในการแก้ไขในส่วนของรัฐคือการปฏิรูปนโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ
ท้องถิ่นให้มีความชัดเจนเหมาะสมและเป็นธรรมภายใต้หลักการการกระจายอำนาจที่เป็นหลักสากลโดยเฉพาะการกำหนดในเรื่องของฐานภาษีซึ่งจะทำให้ท้องถิ่นมีรายได้เพียงพอกับการทำภารกิจโดยไม่ผูกพันอยู่กับงบอุดหนุนจากรัฐบาลเป็นหลักดังเช่นในปัจจุบัน ในส่วนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปัญหาที่สำคัญที่สุดคือการพัฒนาธรรมาภิบาลของผู้นำองค์กรและระบบการบริหารให้อยู่ภายใต้หลักธรรมาภิบาลที่แท้จริงโดยมีมาตรการทั้งจากหลักการในพระพุทธศาสนาและการผลักดันเป็นกฎหมาย
ควบคู่กัน ในส่วนของภาคประชาชน หัวใจสำคัญที่สุดคือการสร้างการมีส่วนร่วมและสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้โดยมีการประสานการใช้ทรัพยากรและเครือข่ายภาคประชาชนหรือประชาสังคมที่เข้มแข็งบนหลักการแห่งการสำนึกรักท้องถิ่นของตนอย่างแท้จริง
การปกครองท้องถิ่นและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งในระบบบริหารราชการแผ่นดิน เนื่องจากเป็นระบบราชการที่มีความใกล้ชิดกับประชาชนและมีจำนวนมากที่สุดเมื่อเทียบกับหน่วยงานราชการส่วนกลาง และหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาค ดังนั้นความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จึงมีความสำคัญยิ่งต่อการบริหาร
ราชการแผ่นดินของประเทศ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายที่ความผาสุกของประชาชนในการบริหารราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระบบการบริหารงานคลังถือได้ว่าเป็นหัวใจสำคัญของความสำเร็จหรือความล้มเหลวในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อประชาชนตามที่กฎหมายกำหนด ไม่ว่าจะเป็นด้านรายได้และรายจ่าย ตลอดจนกระบวนการในการจัดทำแผนงานและโครงการต่างๆให้ตอบสนองกับความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นนั้นๆจึงเป็นจุดหมายที่แท้จริงของการปกครองท้องถิ่น การพัฒนาประชาธิปไตยและการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน
แต่อย่างไรก็ตามนับตั้งแต่เริ่มใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๔๐ ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิรูปการปกครองท้องถิ่นครั้งสำคัญของประเทศไทยแต่จากการศึกษากลับพบว่าการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นกลไกสำคัญของการปกครองท้องยังมีปัญหาในทางปฎิบัติหลายประการโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาที่เกี่ยวกับการบริหารงานคลังซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการจัดทำบริการสารธารณะให้กับประชาชนในท้องถิ่นบทความนี้ต้องการนำเสนอเนื้อหาในสี่ประเด็นคือ ขอบเขตของการบริหารงานคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หลักธรรมมาภิบาลและแนวทางการบริหารงานภาครัฐสมัยใหม่ สภาพปัญหาของการบริหารงานบริหารงานคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแนวทางในการแก้ไขปัญหาธรรมาภิบาลทางการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทสรุป
ปัญหาเกี่ยวกับธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นปัญหาที่มีความสำคัญต่อระบบการปกครองท้องถิ่นอย่างยิ่ง สาเหตุของปัญหาแบ่งออกเป็นสามด้านคือปัญหาที่เกิดจากรับ ปัญหาที่เกิดจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและปัญหาที่เกิดจากภาคประชาชนแนวทางในการแก้ไขในส่วนของรัฐคือการปฏิรูปนโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่นให้มีความชัดเจนเหมาะสมและเป็นธรรมภายใต้หลักการการกระจายอำนาจที่เป็นหลักสากลโดยเฉพาะการกำหนดในเรื่องของฐานภาษีซึ่งจะทำให้ท้องถิ่นมีรายได้เพียงพอกับการทำภารกิจโดยไม่ผูกพันอยู่กับงบอุดหนุนจากรัฐบาลเป็นหลักดังเช่นในปัจจุบันในส่วนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปัญหาที่สำคัญที่สุดคือการพัฒนาธรรมาภิบาลของผู้นำองค์กรและระบบการบริหารให้อยู่ภายใต้หลักธรรมาภิบาลที่แท้จริงโดยมีมาตรการทั้งจากหลักการในพระพุทธศาสนาและการผลักดันเป็นกฎหมายควบคู่กันในส่วนของภาคประชาชน หัวใจสำคัญที่สุดคือการสร้างการมีส่วนร่วมและสร้างสังคมแห่ง
สิ่งแวดล้อมทางการบริหาร หมายถึง สภาพของปัจจัยต่างๆ ที่อยู่ภายในและภายนอกองค์การของรัฐ และเอกชนซึ่งสามารถส่งอิทธิพลมายังภายในของระบบการบริหารองค์การ อันมีผลต่อประสิทธิภาพและความสำเร็จของการบริหารงานในองค์การ ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับขบวนการบริหาร กล่าวได้ว่า ทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรง และเป็นสภาพแวดล้อมที่จำเป็นในการบริหารงานขององค์การ สินค้าและบริการเป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อม และจะกลายเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสภาพแวดล้อม ซึ่งสภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็นสภาพแวดล้อมภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอก
ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับการบริหาร
ทรัพยากรในการบริหาร(input) ระบบการบริหาร (process)
Feed back การบริการของรัฐ (output)
ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับสิ่งแวดล้อม
ระดับการบริหาร
ระดับสูง = เกี่ยวพันธ์กับสภาพแวดล้อมภายใน และภายนอก (สูง) เพื่อการกำหนดนโยบายและการวางแผน
ระดับกลาง = เกี่ยวพันธ์กับสภาพแวดล้อมภายใน และภายนอก เพื่อการประสานงานและการควบคุมการปฏิบัติงาน
ระดับต้น = เกี่ยวพันธ์กับสภาพแวดล้อมภายในเพื่อปฏิบัติงานตามหน้าที่ (Function)
สรุป การศึกษาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของการบริหารรัฐกิจเป็นความพยายามที่จะให้ผู้ศึกษาได้ตระหนักถึงอิทธิพล อันเนื่องมาจากปัจจัยภายนอกระบบการบริหารงานของรัฐ ในการที่จะเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยแวดล้อมกับระบบการบริหารงานของรัฐ จะต้องกำหนดขอบเขตระหว่างหน่วยงานของรัฐกับสภาพแวดล้อมให้ชัดเจน ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานของรัฐกับปัจจัยสภาพแวดล้อมจะนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงแก้ไขระบบบริหารเพื่อที่จะสร้างดุลยภาพเพื่อให้การทำงานของหน่วยงานของรัฐเป็นประโยชน์ต่อสังคมโดยส่วนรวม
การบริหารที่ดีจะต้องมีการจัดการอย่างเหมาะสมที่ทำให้เกิดประสิทธิผล และ
ประสิทธิภาพในการท างาน เพราะทุกๆองค์การนั้นย่อมมือเครื่องมือในการจัดการบริหารเพื่อให้งาน
มีคุณภาพ ปัจจุบันนี้จะเห็นได้ว่าการบริหารจัดการมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้การ
เปลี่ยนแปลงนั้นนำไปสู่ยุคโลกาภิวัตน์ ที่นำไปสู่การเจริญเติบโตของความสัมพันธ์ด้านต่างๆ ทั้งทาง
เศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และรัฐบาล รวมไปถึงทั่วโลกด้วย คงจะเป็นเรื่องยุ่งยากเป็นอย่างมาก ถ้าจะให้ก าหนดว่าควรใช้รูปแบบและวิธีการใดใน การบริหารจัดการเพื่อให้การดำเนินการขององค์การนั้นประสบความสำเร็จ เพราะจะต้องพิจารณา จากปัจจุบันหลาย ๆ ประการประกอบกัน แต่อย่างไรก็ตามในทัศนะของผู้เขียนเห็นว่า แนวคิดการ บริหารเชิงสถานการณ์หรือตามเหตุการณ์น่าจะเป็นรูปแบบและวิธีการที่เหมาะสมกับการบริหาร จัดการในยุคปัจจุบันนี้ ทั้งนี้เพราะสภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและส่งผลกระทบ ต่อองค์การทั้งในแง่ของการสร้างโอกาสและข้อจ ากัด รวมทั้งจุดอ่อนและจุดแข็งแก่องค์การ ทำให้ ผู้บริหารต้องเปลี่ยนแปลงองค์การและรูปแบบทางการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา จึงไม่สามารถจะยึดถือรูปแบบหรือวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยเฉพาะได้ ในการบริหารเชิงสถานการณ์หรือตามเหตุการณ์นั้นเป็นเรื่องที่มีความอ่อนไหวมาก ที่สุด เพราะยากที่จะคาดเดาถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นได้ในอนาคต ดังนั้นการจะก าหนดรูปแบบและวิธีการ บริหารและการจัดการที่เหมาะสมได้ จึงต้องอาศัยความสามารถของผู้บริหารหรือฝ่ายจัดการที่เกิด จากการเรียนรู้และสั่งสมประสบการณ์ในอดีตที่ผ่านมา แต่อย่างไรก็ตามแม้ว่าการบริหารเชิง สถานการณ์จะเป็นเรื่องยากแต่ทว่าผู้บริหารหรือฝ่ายจัดการก็สามารถจะใช้การจัดการเป็นเครื่องมือ ในการควบคุมสถานการณ์ไว้ได้ การบริหารจัดการที่สามารถนำมาใช้ได้ก็คือ งานในหน้าที่ของ ผู้บริหารหรือฝ่ายจัดการ ซึ่งได้แก่
(1) งานทางด้านการวางแผน (planning) (2) งานทางด้านการ จัดองค์การ (organizing)
(3) งานทางด้านการน า (leading) และ (4) งานทางด้านการควบคุม (controlling)
(DeCenzo and Robbins, 1996:4)
สรุป โดยสรุปแล้วจะเห็นได้ว่าในการบริหารจัดการในยุคโลกาภิวัตน์นั้นเป็นเรื่องที่มีความ ยากลำบากสำหรับผู้บริหาร เพราะสภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การ เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และการเปลี่ยนแปลงนี้ส่งผลกระทบหรือสร้างอิทธิพลทำให้การ ด าเนินงานขององค์การประสบกับอุปสรรคจนยากที่จะกำหนดรูปแบบและวิธีการบริหารจัดการที่ แน่นอนได้ แต่อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงขององค์การก็มิได้อยู่เหนือความสามารถที่ผู้บริหาร จะช่วยบริหารจัดการและควบคุมได้ เพียงแต่ว่ารูปแบบลักษณะและวิธีการบริหารจัดการจ าเป็นต้อง เปลี่ยนแปลงไปให้เหมาะสมและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม การบริหาร จัดการดังกล่าวนี้จะต้องกระท าทั้งทางด้านการวางแผน การจัดการด้านองค์การ การจัดการ ทางด้านการนำ และการจัดการงานทางด้านการควบคุม เพื่อให้การดำเนินงานขององค์การ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมและสามารถดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายและ วัตถุประสงค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ในช่วงทศวรรษ 1980 และ 1990 เกิดการจัดการแนวใหม่ภาครัฐขึ้นในโลก มีชื่อเรียกว่า “การจัดการภาครัฐ” (Public Management) หรือ “การจัดการภาครัฐแนวใหม่” (New Public Management) หรือบางทีก็มีชื่อเรียกย่อว่า “NPM” นักวิชาการบางคน เช่น คาร์มาร์ก เห็นว่าเป็นการ ปฏิวัติการบริหารภาครัฐซ่งมีอิทธิพลอย่างมากเหมือนกับ ทฤษฎีระบบราชการของเวเบอร์เลยทีเดียว หลักใหญ่ของการจัดการภาครัฐแนวใหม่ คือ เน้นการเปลี่ยนแปลงระเบียบและวิธีการของระบบราชการ ไปสู่การบริหารแบบใหม่ โดยใช้กระบวนการของภาคเอกชนมาบูรณาการการทำงานซึ่งเน้นผลสำเร็จ และความรับผิดชอบ (ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร, 2552 : 56) แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM) เป็นการบริหารงานที่ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ มีมาตรฐานวัดได้ ใช้กลไกการตลาดเปิดโอกาสในการแข่งขันทั้งภาคเอกชนและภาค ประชาชนในการเข้าร่วมการลงทุนอย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ การให้บริการที่ตอบสนองต่อความ ต้องการของประชาชน ดังนั้นเพื่อให้ระบบราชการมีความสอดคล้องกับแนวคิดการปฏิรูประบบราชการ ควรมีลักษณะ คือ รัฐจะมีบทบาทหน้าที่เฉพาะในส่วนที่จ าเป็นจะต้องท าเท่านั้นเพื่อเปิดโอกาสให้ ประชาชนและชุมชนมีบทบาทมากขึ้น มีการบริหารจัดการภายในภาคราชการที่มีความรวดเร็ว คุณภาพสูง และมีประสิทธิภาพ มีการจัดองค์กรที่มีความกะทัดรัดคล่องตัวและปรับเปลี่ยนได้อย่าง รวดเร็ว เน้นการทำงานที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือตามลักษณะของการทำงานที่ทันสมัย ใช้อุปกรณ์ที่ เหมาะสมต่อการทำงาน มีการพัฒนาสมรรถนะข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีคุณภาพสูง ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์โดยมีประชาชนเป็นเป้าหมาย มีกลไกการบริหารงานบุคคล ที่หลากหลาย มีระบบค่าตอบแทนที่เป็นธรรมเพื่อเปิดโอกาสให้บุคคลที่มีความรู้ความสามารถเต็มใจ มารับราชการอย่างมืออาชีพ มีวัฒนธรรมองค์กรและมีบรรยากาศในการทำงานแบบมีส่วนร่วม มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ (พัชราวลัย ศุภภะ, 2562)
ดังนั้น การบริหารจัดการภาครัฐเป็นนวัตกรรมทางการบริหารอย่างหนึ่งเพื่อดำเนินการ ขับเคลื่อนการปฏิรูประบบราชการไทย ได้มีการประยุกต์ใช้เป็นหลักคิด หลักปฏิบัติ โดยมีเป้าประสงค์ หลักของการพัฒนาระบบราชการไทย คือ พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้น ปรับบทบาท ภารกิจให้มีความเหมาะสม ยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทำงานให้เทียบเท่าเกณฑ์สากล และตอบสนองต่อการบริหารปกครองอย่างมีประสิทธิภาพ
สรุป การบริหารนโยบายสาธารณแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องร ได้แก่
1) การลด ขั้นตอนและระยะเวลาในการปฏิบัติราชการ
2) การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชน ให้เป็นที่ยอมรับ ปรับปรุง แก้ไข ยกระดับ และพัฒนากฎหมาย ระเบียบ ขั้นตอนการให้บริการ การอำนวยความสะดวก และมาตรฐานของส่วนราชการ
3) การพัฒนาขีดสมรรถนะและศักยภาพของ ข้าราชการการน าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาใช้ในการให้บริการประชาชน (e-Service) การแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนจากการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการและการทุจริตคอร์รัปชัน
4) การบูรณาการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานและภาคส่วนต่าง ๆ โดยยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ ราชการจึงได้ก าหนดให้ปรับปรุงกลไกภาคราชการให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส สามารถตอบสนอง ความต้องการของประชาชนได้ และก่อให้เกิดความเชื่อมั่น ศรัทธาต่อการท างานของภาคราชการเพิ่มขึ้น ซึ่งจะเอื้อต่อการเสริมสร้างรากฐานที่เข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และสังคมในการพัฒนาประเทศ และพร้อม ที่จะรองรับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคต
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง
การบริหารภาคการคลังจะต้องมีการกำ หนดมาตรการ การควบคุมและการดำ เนินการครอบคลุมในทุกมิติการนำ การจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้เพื่อการกำหนดมาตรการ หรือแนวทางการบริหาร จะทำให้การบริหารมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น เพราะการจัดการภาครัฐแนวใหม่มีรูปแบบตั้งแต่การ ศึกษาสภาพแวดล้อมและปัญหา การศึกษาเอกสารและ ผลการดำ เนินการที่ผ่านมารวมไปถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น เพื่อ เป็นแนวทางในการกำ หนดการดำ เนินการ เพราะการดำ เนิน การภายใต้โครงการต่างๆต้องลดปัญหาแม้ว่าจะถูกจำกัดด้วย สภาพแวดล้อมและทรัพยากรที่มีอยู่ปัจจุบันหลายประเทศใน อาเซียนประสบปัญหาคือการที่รัฐบาลไม่สามารถดำ เนินการ บริหารได้ตามที่แถลงจุดอ่อนปัญหาการบริหารการคลังที่ไม่มี คุณภาพ ขาดการวางแผน ขาดการศึกษาในเชิงลึกและขาด การวางรากฐานนโยบายสาธารณะเพื่อประชาชน เนื่องจาก หน่วยงานภาครัฐเป็นองค์การขนาดใหญ่ทำ ให้การจัดการ บริหารจัดการเพื่อให้เป็นไปตามแบบแผนเดียวกันเป็นเรื่องที่ ยากเช่น การดำ เนินการตามนโยบายผู้ที่ออกนโยบายกับผู้ที่ ดำ เนินการเป็นบุคคลคนละกลุ่มกัน ถือว่าเป็นอุปสรรคที่สำคัญ ดังนั้น การร่วมมือกันของทุกภาคส่วนเป็นขั้นตอนที่สำคัญ โดย ต้องมีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน แนวทางการดำเนินงานที่ แน่นอน เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้ดำ เนินการตามแนวทางเดียวกัน
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
1. องค์กรต้นแบบที่ดีภาครัฐทั้ง 6 องค์กร มีกระ บวนการและวิธีการในการนำหลักธรรมาภิบาลมา ใช้ในการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ ที่ครอบ คลุมทั้งในด้านหลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักการ มีส่วนร่วม หลักความโปร่งใส หลักความ รับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า
2. ปัจจัยความสำเร็จในการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังขององค์กร ต้น แบบที่ดีภาครัฐทั้ง 6 องค์กร ส่วนใหญ่เป็น ปัจจัยด้านรูปแบบ (Style) และด้านการจัดบุคคล เข้าทำงาน (Staff) ซึ่งประกอบด้วย (1) การเป็น แบบอย่างที่ดีของผู้นำ (Style) (2) การเปิดโอกาส ให้ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการ เสนอความคิด เห็นและปัญหา (Style) และ (3) มี กิจกรรมและการอบรมการนำหลักธรรมาภิบาลมา ใช้ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง (Staff)
3. ปัญหาและอุปสรรคในการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังขององค์กร ต้นแบบที่ดีภาครัฐทั้ง 6 องค์กร ส่วนใหญ่เป็น ปัญหาและอุปสรรคด้านบุคลากร (Man) และด้าน การจัดการ (Management) ประกอบด้วย (1) บุคลากรบางส่วนมีความรู้ความสามารถไม่เพียงพอ และไม่ตรงกับงานที่ปฏิบัติ (Man) (2) บุคลากร ขาดการมีส่วนร่วมและการแสดงออก (Man) (3) ปัญหาการสื่อสาร ทั้งภายในและภายนอกองค์การ ยังขาดประสิทธิภาพ (Management) และ (4) กฎระเบียบข้อบังคับบางส่วนมีความซ้าซ้อนทำให้ เกิดความไม่คล่องตัว และความล่าช้าในการ ปฏิบัติงาน (Management)
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
สิ่งแวดล้อมทางการบริหาร หมายถึง สภาพของปัจจัยต่างๆ ที่อยู่ภายในและภายนอกองค์การของรัฐ และเอกชนซึ่งสามารถส่งอิทธิพลมายังภายในของระบบการบริหารองค์การ อันมีผลต่อประสิทธิภาพและความสำเร็จของการบริหารงานในองค์การสิ่งแวดล้อม ถือเป็นเครื่องมือที่มีความสำคัญยิ่งในการกำหนดนโยบายการบริหารงาน นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยชี้วัดความสำเร็จของการบริหาร และถือเป็นทรัพยากรหรือวัตถุดิบสำหรับป้อนให้กับระบบการบริหารเพื่อทำการแปรรูปให้เป็นสินค้าหรือบริการตามนโยบายขององค์การ
ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับขบวนการบริหาร กล่าวได้ว่า ทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรง และเป็นสภาพแวดล้อมที่จำเป็นในการบริหารงานขององค์การ สินค้าและบริการเป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อม และจะกลายเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสภาพแวดล้อม ซึ่งสภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็นสภาพแวดล้อมภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอก
ระดับการบริหารงาน
ระดับสูง เกี่ยวพันธ์กับสภาพแวดล้อมภายใน และภายนอก เพื่อการกำหนดนโยบายและการวางแผน
ระดับกลาง เกี่ยวพันธ์กับสภาพแวดล้อมภายใน และภายนอก เพื่อการประสานงานและการควบคุมการปฏิบัติงาน
ระดับต้น เกี่ยวพันธ์กับสภาพแวดล้อมภายใน เพื่อปฏิบัติงานตามหน้าที่
สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของการบริหารงานของรัฐ เป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อระบบการบริหารงานของรัฐในทุกๆส่วน หรือกล่าวได้ว่า ปัจจัยดังกล่าวมีอิทธิพลต่อองค์การของรัฐทุกๆองค์การ ระดับของความสัมพันธ์ต่อองค์การอาจแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับ “ขอบเขต” ของแต่ละองค์การ เนื่องจากปัจจัยประเภทนี้เป็นปัจจัยที่เกิดจากลักษณะร่วมกันของสังคม ดังนั้นองค์การทุกๆประเภทที่ดำรงอยู่ในสังคมดังกล่าวจะต้องเผชิญและได้รับผลกระทบจากสภาพแวดล้อมประเภทนี้เสมอ หรืออาจเรียกว่า “ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก”
สภาพแวดล้อมเฉพาะสำหรับองค์การต่างๆของรัฐ เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับระบบการบริหารงานในแต่ละองค์การ เรียกได้ว่าเป็นปัจจัยที่มีผลกระทบโดยตรงต่อระบบการบริหารขององค์การ อาจพิจารณาระบบสภาพแวดล้อมประเภทนี้ว่าเป็นระบบของทรัพยากรในการบริหาร สภาพแวดล้อมประเภทนี้มีลักษณะเฉพาะที่จำเป็นในการดำเนินการสำหรับองค์การหนึ่งๆแต่อาจจะเป็นสิ่งที่ไม่มีความจำเป็นสำหรับองค์การอื่นๆเลยก็ได้ หรือที่เรียกว่า “ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน”
ปัจจัยทางเศรษฐกิจมีอิทธิพลต่อการบริหารงานของรัฐ ทั้งในทางตรงและทางอ้อม การปฏิบัติงานของหน่วยงานใดๆจำเป็นต้องอาศัยงบประมาณเป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากร ดังนั้นหากประเทศมีสภาพเศรษฐกิจที่ย่ำแย่ย่อมเป็นผลให้รัฐบาลเก็บภาษีได้น้อย หน่วยงานต่างๆของรัฐย่อมได้รับงบประมาณในการดำเนินงานน้อยตามไปด้วย และสภาพเศรษฐกิจยังมีอิทธิพลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในสังคมอีกด้วย
ปัจจัยทางการเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการแสวงหาอำนาจเพื่อการปกครองประเทศ ในการดำเนินการดังกล่าวจำเป็นต้องคำนึงถึงความต้องการของประชาชน กรอบกติกาที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ และกฎหมายต่างๆ ตลอดจนประเพณีและวัฒนธรรมทางการเมืองของชาติด้วย ในทัศนะของนักการเมืองจะมองว่าระบบการบริหารเป็นระบบหนึ่งของการเมืองการปกครอง แต่ในทัศนะของนักบริหารจะมองว่าการเมืองเป็นระบบย่อยที่จัดอยู่ในระบบสภาพแวดล้อมทางการบริหาร
ปัจจัยทาง กฎหมายเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการโดยทางตรงและทางอ้อม กฎหมายจึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการบริหารงานของรัฐ และเป็นปัจจัยที่สามารถส่งอิทธิพลทำให้ปัจจัยแวดล้อมอื่นๆของการบริหารเปลี่ยนแปลงได้ อันจะนำมาซึ่งผลกระทบต่อการบริหารในระยะยาว การเปลี่ยนแปลงแก้ไขกฎหมายจึงเป็นสิ่งที่ควรกระทำด้วยความระมัดระวังและต้องคำนึงถึงผลกระทบทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมต่อการบริหารงานของรัฐ
ปัญหาและวิกฤติการณ์ทางสังคมเป็นปัจจัยแวดล้อมที่มักมีที่มาจากปัจจัยเบื้องต้นดังที่กล่าวมาข้างต้น และเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบการบริหารงานของรัฐ มีลักษณะเป็นปัญหาเฉพาะหน้า ที่รัฐบาลจะต้องเผชิญและแก้ไข เช่น ปัญหาการว่างงาน ปัญหาพลังงานและมลภาวะ เป็นต้น
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
ระบบราชการถือเป็นกลไกสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งของรัฐในการให้บริการสาธารณะแก่ประชาชนดังนั้นการพัฒนาระบบราชการให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศในแต่ละยุค ระบบราชการไทยแต่เดิมในอดีตเกิดขึ้นภายใต้สังคมในระบบเกษตรกรรมที่สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองดำรงอยู่ภายใต้ระบบการผลิตและความสัมพันธ์ทางสังคมและการเมืองของผู้คนเป็นไปอย่างเรียบง่าย ไม่สลับซับซ้อน แต่ในปัจจุบัน ระบบเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ได้เปิดกว้างและมีความสลับซับซ้อนมากขึ้นจึงจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
องค์ประกอบของระบบราชการ ประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานสำคัญ 7 ประการ ดังนี้
1.หลักลำดับขั้น หลักการนี้ มีเป้าหมายที่จะทำให้องค์กรต้องอยู่ภายใต้การควบคุม โดยเชื่อว่า การบริหารที่มีลำดับขั้นจะทำให้ระบบการสั่งการและการควบคุมมีความรัดกุม ทำให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพการบริหารที่เน้นกฎเกณฑ์และขั้นตอนมีความเหมาะสมในช่วงศตวรรษที่ 19-20 แต่เมื่อสถานการณ์โลกเปลี่ยนไปการบริหารตามลำดับขั้นจึงเริ่มมีปัญหา เพราะการทำงานในปัจจุบันต้องการความรวดเร็ว คนต้องการเสรีภาพ
2.หลักความสำนึกแห่งความรับผิดชอบ เจ้าหน้าที่ทุกคนต้องมีความสำนึกแห่งความรับผิดชอบต่อการกระทำของตน ความรับผิดชอบ หมายถึง การรับผิดและรับชอบการกระทำใด ๆ ที่ตนได้กระทำลงไปและความพร้อมที่จะให้มีการตรวจสอบโดยผู้บังคับบัญชาอยู่ตลอดเวลาด้วย
3.หลักแห่งความสมเหตุสมผล ความถูกต้องเหมาะสมของแนวปฏิบัติที่จะนำมาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานให้บรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพ คือ มีการกำหนดระเบียบ วิธีปฏิบัติงานไว้อย่างชัดเจนในรูปของกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับเพราะวิธีการทำงานจะแสดงให้เห็นว่าจะทำงานอย่างไร วิธีการใดที่ทำให้งานสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ
4.หลักการมุ่งสู่ผลสำเร็จ การปฏิบัติงานใด ๆ ต้องมุ่งสู่เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์การ ผู้ปฏิบัติงานต้องมีหลักการและวิธีการในการตัดสินใจเลือกทางปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง โดยยึดถือหลักประสิทธิภาพหรือหลักประหยัด การบริหารจะได้รับประสิทธิผลสูงสุดต่อเมื่อมีการกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกต้องเหมาะสมกับลักษณะงาน สถานที่ ช่วงเวลา สภาพแวดล้อม ในทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเป้าหมายหรือผลสำเร็จที่ต้องการ
5.หลักการทำให้เกิดความแตกต่างหรือมีความชำนาญเฉพาะด้าน ลักษณะทางโครงสร้างขององค์การแบบระบบราชการ ต้องมีการแบ่งงาน และจัดแผนกงาน หรือจัดส่วนงานขึ้นมา เพราะภารกิจการงานขององค์การขนาดใหญ่มีจำนวนมากจึงต้องมีการแบ่งงานที่ต้องทำออกเป็นส่วน ๆ แล้ว หน่วยงานมารองรับการจัดส่วนงานอาจยึดหลักการจัดองค์การได้หลายรูปแบบ คือ
-การแบ่งส่วนงานตามพื้นที่ เป็นการแบ่งงานโดยการกำหนดพื้นที่ที่ต้องรับผิดชอบไว้อย่างชัดเจนและมีการกำหนดภารกิจ บทบาท อำนาจหน้าที่ที่องค์การต้องบริหารจัดการไว้ด้วย เช่น การแบ่งพื้นที่การบริหารราชการออกเป็น จังหวัด อำเภอ องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนตำบล เทศบาล
-การแบ่งงานตามหน้าที่ หรือภารกิจที่องค์การจะต้องปฏิบัติ เช่น การจัดแบ่งงานของกระทรวงต่าง ๆ เช่น กระทรวงกลาโหม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงการคลัง
-การแบ่งงานตามลูกค้า หรือผู้รับบริการ เช่น การแบ่งโรงพยาบาล ออกเป็น โรงพยาบาลเด็กโรงพยาบาลหญิง โรงพยาบาลสงฆ์
-การแบ่งงานตามขั้นตอนหรือกระบวนการทำงาน โดยคำนึงว่างานที่จะทำสามารถแบ่งออกเป็น
ขั้นตอนอะไรบ้าง แล้วกำหนดหน่วยงานมารองรับ
6.หลักระเบียบวินัย ต้องมีการกำหนดระเบียบ วินัย และบทลงโทษ ขึ้นมาเพื่อเป็นกลไกการควบคุมความประพฤติของผู้ปฏิบัติงานทุกคนในองค์การ
7.หลักความเป็นวิชาชีพ ผู้ปฏิบัติงานในองค์การราชการ ถือเป็นอาชีพอย่างหนึ่ง และต้องปฏิบัติงานเต็มเวลา ซึ่งผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนตัวบทกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในภาระหน้าที่ของตนด้วย สาเหตุที่ระบบราชการประสบความสำเร็จ เพราะ
-มีวิธีการจัดองค์การที่ มีระบบการทำงานที่ชัดเจน ตั้งอยู่บนหลักการของความสมเหตุสมผล
-มีการใช้อำนาจตามสายการบังคับบัญชา มีการแบ่งงานตามหลักความชำนาญเฉพาะด้าน ทำให้ระบบราชการสามารถทำงานที่มีขนาดใหญ่ และสลับซับซ้อนได้อย่างดี
-คนส่วนใหญ่ยังมีความจำเป็นและต้องการบริการสาธารณะจากรัฐ เช่น บริการทางด้านการรักษาพยาบาล การศึกษา สาธารณูปโภคต่าง ๆ องค์การภาครัฐที่บริหารแบบระบบราชการจึงสามารถดำเนินงานได้อย่างไม่มีปัญหามากนัก
Assignment ที่ 3.อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
-นโยบายสาธารณะ การสร้างนโยบายสาธารณะเป็นหนึ่งในองค์ประกอบสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพทั้งด้านบวกและลบ นโยบายสาธารณะไม่จำเป็นต้องเป็นนโยบายของรัฐเท่านั้น แต่นโยบายสาธารณะสามารถเกิดจากภาคประชาชน ภาคเอกชน ชุมชนและสังคมด้วย นโยบายสาธารณะจึงหมายถึง “ทิศทางหรือแนวทางที่สังคมโดยรวมเห็นว่า หรือเชื่อว่าควรจะดำเนินการไปในทิศทางนั้น” หัวใจสำคัญของนโยบายสาธารณะไม่ได้อยู่ที่คำประกาศ หรือข้อเขียนที่เป็นลายลักษณ์อักษร หรือเป็นทางการ แต่อยู่ที่ “กระบวนการ” ที่ต้องเกิดจากการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นั่นคือ นโยบายสาธารณะที่ดีต้องเป็น “นโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม”
-กระบวนการนโยบายสาธารณะในอุดมคติควรประกอบด้วยกุศล 3 ประการ คือ (1) เป็นกระบวนการทางปัญญา ใช้หลักฐานข้อเท็จจริงที่ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์มาอย่างดีจนเป็น “ความรู้” ที่เรียกว่าเป็นการสร้างนโยบายที่อยู่บนฐานของความรู้ (2) เป็นกระบวนการทางสังคม นโยบายกระทบสังคมทั้งหมดอย่างรุนแรง ผู้มีส่วนได้เสีย สังคมควรเข้ามามีบทบาทร่วมเรียนรู้ ร่วมกำหนดนโยบาย เป็นกระบวนการเปิดเผยโปร่งใส (3) กระบวนการทางศีลธรรม กระบวนการนโยบายสาธารณะควรมีอุดมคติเพื่อความถูกต้องดีงามและประโยชน์สุขของคนทั้งหมด ไม่แฝงเร้นเพื่อประโยชน์เฉพาะตนเฉพาะกลุ่ม
-การบริการสาธารณะแนวใหม่ คือชุดของแนวคิดเกี่ยวกับบทบาทของการบริหารรัฐกิจภายใต้ระบบการบริหารปกครองที่ให้ความสำคัญกับการบริการสาธารณะการบริหารปกครองแบบประชาธิปไตย และการสร้างความผูกพันของพลเมืองซึ่งปฏิเสธตรรกะที่เน้นตลาดของกลุ่มการจัดการนิยมหรือกลุ่มการจัดการภาครัฐแนวใหม่เป็นทางเลือกที่น่าจะเหมาะสมในยุคปัจจุบันที่รัฐบาลมิได้ทำหน้าในการปกครองเพียงอย่างเดียวแต่ยังต้องทำหน้าที่เสมือนผู้ให้การสนับสนุนช่วยเหลือแก่พลเมืองให้ความสำคัญแก่ความเป็นพลเมืองหรือให้ความสำคัญต่อการเป็นมนุษย์มากกว่าความเป็นผู้ประกอบการหรือผลผลิตที่ได้
แนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่4 ประการหลัก คือ
(1)ทฤษฎีประชาธิปไตยพลเมือง (2)ตัวแบบชุมชนและประชาสังคม (3)มนุษย์นิยมองค์การและรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่
(4)รัฐประศาสนศาสตร์หลังสมัยใหม่
-เนื่องจากNPS มีรากฐานจากทฤษฎีเกี่ยวกับประชาธิปไตยและแนวทางอื่น ๆ ในการแสวงหาความรู้ ซึ่งรวมถึงแนวทางแบบประจักษ์นิยม แนวทางการตีความ แนวทางเชิงวิพากษ์วิจารณ์ และแนวทางแบบโพสต์โมเดิร์น จึงมองข้าราชการว่าเป็นคนมีเหตุผลในเชิงยุทธศาสตร์ที่ใช้เหตุผลทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ และองค์การมองผลประโยชน์สาธารณะว่าเป็นผลจากการพูดคุยเกี่ยวคุณค่าที่มีร่วมกันมองประชาชนว่าเป็นพลเมืองซึ่งมีทั้งสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบนักบริหารหรือข้าราชการมีบทบาทรับใช้ประชาชน เพราะประชาชนคือเจ้าของประเทศตัวจริงข้าราชการต้องมีบทบาทในการเจรจาไกล่เกลี่ยและเป็นตัวกลางที่จะทำให้เกิดค่านิยมร่วมกันในหมู่พลเมือง ชุมชน และกลุ่มต่าง ๆกลไกที่จะทำให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของนโยบายคือการสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อให้บรรลุผลที่ตกลงร่วมกันมองว่ากลไกการตรวจสอบมีหลากหลาย ทั้งด้านกฎหมาย ค่านิยมของชุมชนบรรทัดฐานทางการเมือง มาตรฐานทางด้านวิชาชีพ และผลประโยชน์ของพลเมืองข้าราชการควรมีดุลยพินิจแต่ต้องมีการควบคุมและตรวจสอบโครงสร้างองค์การควรเป็นแบบร่วมมือกันโดยมีผู้นำร่วมทั้งจากภายในและภายนอกองค์การส่วนปัจจัยจูงใจข้าราชการและนักบริหารคือการได้รับใช้ประชาชนและการได้ทำประโยชน์ให้แก่สังคม โดยแนวคิด NPS นี้มีหลักสำคัญ 7 ประการได้แก่
(1)บริการรับใช้พลเมือง ไม่ใช่ลูกค้า (2)เน้นการค้นหาผลประโยชน์สาธารณะ (3)เน้นคุณค่าความเป็นพลเมืองมากกว่าการเป็นผู้ประกอบการ (4)คิดเชิงกลยุทธ์ ปฏิบัติแบบประชาธิปไตย (5)การตระหนักในความรับผิดชอบไม่ใช่เรื่องง่าย (6)การให้บริการมากกว่าการกำกับทิศทาง (7)ให้คุณค่ากับคน ไม่ใช่แค่ผลิตภาพ
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง
-พื้นฐานการบริหารการคลังที่มีประสิทธิภาพ และสร้าง ประสิทธิผลต่องานทางด้านการคลัง หน่วยงานภาครัฐจะต้อง กำาหนดประเด็นสำาคัญในการบริหาร ให้แยกออกเป็นขอบข่าย ที่สำาคัญ 4 ขอบข่าย ดังต่อไปนี้ การจัดการและการคัดเลือก ผู้นำา (Organizational Alignment and Leadership) การ จัดการนโยบายและการวางแผน (Policies and Processes) การจัดการส่วนบุคคล (Personnel Management) และ ข้อมูลข่าวสาร (Information) การจัดการและการคัดเลือกผู้นำา เพื่อเป็นผู้กำาหนด ทิศทางการคลังในทุกภาคส่วน จะต้องมีการบริหารงานด้าน การจัดซื้อจัดจ้างให้สอดคล้องกับหน่วยงาน สอดคล้องกับ ความต้องการในด้านประโยชน์ และสอดคล้องกับเป้าประสงค์ ของแผนงาน หรือแผนกลยุทธ์ รวมทั้งกำาหนดขอบเขตความ รับผิดชอบและบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน ทั้งนี้ ผู้นำาจะต้องมี ความสามารถ มีความซื่อสัตย์ และสามารถประสานงานได้ดี ทุกภาคส่วนของหน่วยงานภาครัฐ
-การจัดการนโยบายและการวางแผนจะต้องใช้หลักการ เชิงกลยุทธ์เข้ามาเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อน มีการประเมิน ผลกระทบภายในองค์การในการจัดสรรงบประมาณ และต้อง มีการประเมินผลกระทบภายนอกควบคู่ด้วยเช่นกัน เพื่อการ จัดการที่มีประสิทธิภาพ การคลังจะต้องสร้างความร่วมมือ กับทุกองค์การ และทุกหน่วยงานทั้งหน่วยงานภาครัฐและ หน่วยงานภาคเอกชน มีการจัดการผู้จัดจำาหน่าย (Supplier) ลดการผูกขาด (Reduce Monopoly) เน้นประสิทธิภาพใน การตรวจสอบและการกำากับดูแลสัญญาใส่ใจในการรับผิดชอบ ทางการเงิน
-การบริหารภาคการคลังจะต้องมีการกำาหนดมาตรการ การควบคุมและการดำาเนินการครอบคลุมในทุกมิติ การนำ การจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้เพื่อการกำาหนดมาตรการ หรือแนวทางการบริหาร จะทำาให้การบริหารมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น เพราะการจัดการภาครัฐแนวใหม่มีรูปแบบตั้งแต่การ ศึกษาสภาพแวดล้อมและปัญหา การศึกษาเอกสารและ ผลการดำาเนินการที่ผ่านมา รวมไปถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการกำาหนดการดำาเนินการ เพราะการดำาเนิน การภายใต้โครงการต่างๆ ต้องลดปัญหาแม้ว่าจะถูกจำากัดด้วย สภาพแวดล้อมและทรัพยากรที่มีอยู่ ปัจจุบันหลายประเทศใน อาเซียนประสบปัญหา คือ การที่รัฐบาลไม่สามารถดำาเนินการ บริหารได้ตามที่แถลง จุดอ่อนปัญหาการบริหารการคลังที่ไม่มี คุณภาพ ขาดการวางแผน ขาดการศึกษาในเชิงลึก และขาด การวางรากฐานนโยบายสาธารณะเพื่อประชาชน เนื่องจาก หน่วยงานภาครัฐเป็นองค์การขนาดใหญ่ทำาให้การจัดการ บริหารจัดการเพื่อให้เป็นไปตามแบบแผนเดียวกันเป็นเรื่องที่ยาก เช่น การดำาเนินการตามนโยบาย ผู้ที่ออกนโยบายกับผู้ที่ ดำาเนินการเป็นบุคคลคนละกลุ่มกัน ถือว่าเป็นอุปสรรคที่สำาคัญ การเติบโตทางเศรษฐกิจ ดังนั้น การร่วมมือกันของทุกภาคส่วนเป็นขั้นตอนที่สำาคัญ โดย ต้องมีการกำาหนดเป้าหมายที่ชัดเจน แนวทางการดำาเนินงานที่ แน่นอน เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้ดำาเนินการตามแนวทางเดียวกัน
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง 4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
หลักธรรมาภิบาล
1) หลักนิติธรรม
-มีการบังคับใช้กฎ ระเบียบอย่างเคร่งครัด และเป็นธรรม
-มีหน่วยงานควบคุม ดูแลและตรวจสอบการท างาน
-มีการปรับปรุงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับให้ทันสมัย
2) หลักคุณธรรม
-ส่งเสริมให้บุคลากรอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับธรรมภิบาล
-ส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรเรื่องการยึดมั่นคุณธรรม
-รณรงค์ให้บุคลากรปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นตัวอย่างแก่สังคม
3) หลักความมีส่วนร่วม
-เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในทุกกระบวนการปฏิบัติงาน
-ส่งเสริมให้บุคลากรร่วมแสดงความคิดเห็นด้านการปรับปรุงการทำงาน และการแก้ไขปัญหาการดำเนินงานต่าง ๆ
4) หลักความโปร่งใส
-มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและผลการดำเนินงานต่อสาธารณะ
-เปิดโอกาสให้สังคมภายนอกเข้าถึงข้อมูลผลการดำเนินงาน
-มีหน่วยงานตรวจสอบกระบวนการดำเนินงาน
5) หลักความรับผิดชอบ
-ส่งเสริมให้บุคลากรตระหนักในหน้าที่ และรับผิดชอบต่อสังคม
-ส่งเสริมให้บุคลากรกระตือรือร้นในการแก้ปัญหา และกล้ายอมรับผลจากการกระทำ
6) หลักความคุ้มค่า
-ส่งเสริมให้มีการจัดการและใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
-รณรงค์การใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่าและรักษาทรัพยากรธรรมชาติให้ยั่งยืน
Assignment ที่ 1 นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหารและความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
ตอบ=รูปแบบปัจจัยสภาพแวดล้อมทางการบริหารและความสัมพันธ์ปัจจัยต่าง ๆ โดยการนำเอาทฤษฎีระบบมาใช้และเป็นปัจจัยในการบริหารและแสดงความสัมพันธ์ด้านต่าง ๆ ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน สภาพแวดล้อมมีความสำคัญและที่มีผลกระทบต่อองค์การ เช่น การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีไปมีผลกระทบกับการบริหาร กฎหมายเรื่อง พระราชบัญญัติว่าด้วยเทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์ พระราชบัญญัติงบประมาณและการบริหารการคลัง ไปกระทบกับกฎหมายกฎระเบียบขององค์การเกี่ยวกับการบริหารงบประมาณ กฎระเบียบข้าราชการพลเรือน ซึ่งส่วนนี้เป็นปัจจัยภายใน ในการกำหนดกฎระเบียบจำเป็นต้องกำหนดให้มีความสอดคล้องกับกฎหมายแม่ สภาพแวดล้อมภายในของรัฐที่มีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมภานนอก เช่น การเลือกตั้งเปลี่ยนผู้ว่า
ราชการ เปลี่ยนตัว คนใหม่เข้าไป จะมีการเปลี่ยนนโยบายและกำหนดนโยบายใหม่ รูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหารภาครัฐจะประกอบไปด้วยปัจจัยทางด้านวัฒนธรรม ประเพณี ค่านิยม ระบบชนชั้นทางสังคม ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยของประชากร ทรัพยากรธรรมชาติ การศึกษาของประชาชน ปัจจัยทางการเมือง ปัจจัยทางกฎหมาย เทคโนโลยี ปัญหาและวิกฤติการณ์ทางสังคม
แนวคิดการบริหารทฤษฎีระบบประกอบด้วย Input-->Process-->Output-->Feedback //Input คือ ทรัพยากรต่าง ๆ รูปแบบปัจจัยสภาพแวเล้อมการบริหาร วัฒนธรรมองค์การ ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก /Process คือ ระบบการบริหาร /Output คือผลผลิตสิ่งที่ได้จากการดำเนินการต่าง ๆ บริการของรัฐ /Feedback คือ ข้อมูลมาจากปัญหาจากการดำเนินงานสิ่งที่เกิดจากผลผลิตของโครงการต่าง ๆในการบริหาร//Environment คือ สภาพแวดล้อมทางการเมือง ภายใน นำเอาข้อมูลเหล่านั้น ดึงเอาข้อมูลเหล่านั้นมาจากปัจจัยภายในสิ่งแวดล้อม คุณภาพงาน ความตั้งใจในการทำงานซึ่งข้อมูลเหล่านี้จำเป็นต้องป้อนเข้าไปสู่กระบวนการ Input /รัฐประศาสนศาสตร์จึงมีความสำคัญต่อการบริการการพัฒนาสาธารณะ ซึ่งเป็นกลไกในการขับเคลื่อนการบริหาร สังคมในปัจจุบันเป็นสังคมเดี่ยว ในลักษณะสังคมเมือง สถาบันพุทธศาสนาเสื่อมถอย เมื่อเปรียบเทียบกับในอดีต วัดเป็นศูนย์กลางที่พึ่งทางจิตใจแต่ปัจจุบันสังคมเปลี่ยนแปลงไป รัฐประศาสนศาสตร์ จึงเป็นระบบการเมือง สังคมประชาธิปไตยที่เป็นอยู่เปลี่ยนแปลงไป มีกลุ่มผลประโยชน์ เช่นเครือข่ายพิทักษ์ผลประโยชน์ต่าง ๆ กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียกับกลุ่มผลประโยชน์ รวมทั้งภาคประชาชน การจัดการบริหารต่อการพัฒนาสาธารณะจึงมีความสำคัญในการกำหนดทิศทางสังคม การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน การสร้างค่านิยม เกิดขึ้นใหม่ทำให้วัฒนธรรมองค์กร สังคมเปลี่ยนแปลงไป ต่อสภาพสังคม การเมือง เศรษฐกิจ รัฐประศาสนศาสตร์จึงมีความสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อทุกภาคส่วนในการผลักดันให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม เกิดประสิทธิผล เช่น ผลผลิตต่าง ๆทางสังคม การนำแนวคิดทางสังคมศาสตร์ พฤติกรรมศาสตร์ จิตวิทยาสังคมการบริหารการพัฒนา การมีส่วนร่วมสังคมให้ประชาชนเกิดการพัฒนาศักยภาพและเกิดการพัฒนา แนวคิดสังคมศาสตร์ เป็นการนำแนวคิดพฤติกรรมศาสตร์มาใช้ แนวคิดจิตวิทยาการศึกษา เช่น การเน้นนักศึกษาผู้เรียนเป็นศูนย์กลางมาใช้ การใช้ตัวเองเป็นศูนย์กลาง การตั้งอยู่บนตรรกะใดตรรกะหนึ่ง การนำเอาระบบสังคมศาสตร์มาใช้ มีการชี้นำสังคม มีการบูรณาการสังคมเชิงพัฒนา ขอบเขตการพัฒนาสาธารณะจะครอลคลุมถึงของบเขตพฤติกรรมสังคม บทบาทหน้าที่ การทบทวนความรู้
Assignment ที่ 4 ให้นักศึกษา อภิปรายถึงกรอบ 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ 4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ตอบ=กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง การนำหลักการบริหารองค์การที่ดีมาใช้ในกระบวนการในการนำเอาหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงิน การคลังภาครัฐที่ครอบคลุมทางด้านหลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักการมีส่วนร่วม หลักความโปร่งใส หลักความรับผิดชอบและหลักความคุ้มค่า เนื่องจากหลักการเหล่านี้เป็นเครื่องป้องกันปัญหาการทุจริต คอรัปชั่นซึ่งเป็นตัวเหนี่ยวรั้งการพัฒนาประเทศ และการนำปัจจัยความสำเร็จในการนำหลักธรรมภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังได้แก่ ด้านกลยุทธ์ ด้านโครงสร้าง ด้านระบบ ด้านรูปแบบ ด้านการจัดการบุคคลเข้าทำงาน ด้านทักษะ ด้านค่านิยมร่วม
จากปัญหา การคอรัปชั่นในประเทศไทยสูงมาก จึงมีการนำกรอบการบริหารการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลังมาใช้ในองค์กรภาครัฐและหน่วยงานต่าง ๆเพื่อลดปัญหาต่าง ๆลงและเป็นการสร้างเสริมความเข้มแข็งให้กับระบบการเงินการคลังในการบริหาร และปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง เนื่องจากปัญหาและอุปสรรคในการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังขององค์กรต้นแบบที่ดีของภาครัฐประกอบด้วย ปัญหาบุคลากร ปัญหาด้านงบประมาณ ปัญหาด้านวัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ปัญหาด้านการจัดการ องค์กรภาครัฐต้นแบบควรมีกระบวนการและวิธีการในการนำธรรมาภิบาลในการบริหารการเงินภาครัฐมาใช้ให้ครอบคลุมทั้งด้าน หลัก นิติธรรม หลักคุณธรรม หลักการมีส่วมร่วม หลักความโปร่งใส หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า โดยปัจจัยที่มีผลต่อรูปแบบการบริหารการเงินการคลังขององค์กรเป็นปัจจัยความสำเร็จในด้านรูปแบบและด้านการจัดการบุคคลเข้าทำงาน ซึ่งประกอบด้วย การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ การเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนร่วมได้เสียมีส่วนร่วมในการนำเสนอความคิดเห็นและปัญหา การมีกิจกรรมและการอบรมการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการปฎิบัติงานอย่างต่อเนื่อง มีการวิเคราะห์ประเมินผล ติดตามการดำเนินการ ปัญหาต่าง ๆ เช่น ปัญหาการจัดการ ปัญหาบุคลากร ปัญหาการสื่อสาร ปัญหาภายในองค์กร ปัญหาภายนอกองค์การ การขาดประสิทธิภาพการทำงาน กฎระเบียบข้อบังคับ การมีส่วนร่วมกันในการองค์การทำให้เกิดปัญหาไม่มีความต่อเนื่อง ความล่าช้าในการปฎิบัติงาน การนำระบบการจัดการทำงานที่มาใช้ ความโปร่งใสในการปฎิบัติงาน การบริหารแบบมีส่วนร่วม มีผู้รับผิดชอบผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การปลูกจิตนึกให้กับบุคลากรในองค์การในด้านต่าง ๆ เช่นศีลธรรม คุณธรรม ความซื่อสัตย์ หน้าที่ความรับผิดชอบ ส่งเสริมการเป็นต้นแบบที่ดีให้กับองค์การให้เกิดการพัฒนาเพื่อลดปัญหาต่าง ๆ
การนำหลักการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลังมาใช้จึงมีความสำคัญต่อกระบวนการบริหารองค์การ มีการจัดการกระบวนทัศน์ผู้นำองค์การในรูปแบบต่าง ๆ การวางนโยบายการวางแผน การจัดการข้อมูล ข้อมูลสื่อสารองค์การ ผู้นำองค์กรต้องมีวิสัยทัศน์ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางสังคมในด้านต่าง ๆ การนำเอาทฤษฎีระบบมาปรับใช้ในรูปแบบกระบวนการต่าง ๆให้เหมาะสมกับสภาวะที่เปลี่ยนแปลงไปในปัจจุบันให้ทันกับยุคโลกาภิวัฒน์ Input--->ทรัพยากรต่าง ๆได้แก่บุคลากรที่จ้างมาทำงาน Output-->การออกไปประกอบอาชีพต่าง ๆ--->Outcome บัณฑิตที่ไปทำงานในที่ต่าง ๆดังนั้นการใช้หลักธรรมภิบาลมาเป็นหลักในการบริหารองค์การให้สัมฤทธิ์ผลสังคมหรือบุคลากรที่ออกไปประกอบอาชีพในสถานที่ต่าง ๆจะมีหลักในการดำเนินชีวิตและเป็นการป้องกันปัฐหาต่าง ๆตามมา มีการดำเนินชีวิตที่ดี นำความรู้ไปพัฒนาสัมคม ชุมชน และการดำรงชีพชองประชาชนมีความสุข องค์กรจึงต้องมีวิสัยทัศน์ (Ultimate Outcome) ตัวอย่าง เช่น การพัฒนาชุมชน การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพยั่งยืน ส่งเสริมการมีส่วนร่วม การบูรณาการร่วมกันระหว่างชุมชน สังคม หน่วยงานภาครัฐ เอกชน ทุกภาคส่วนให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ ในการพัฒนาโดยไม่ต้องพึ่งพาภาครัฐสามารถพึ่งพาตนเองได้
Assignment ที่ 2 นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ระบบเน็ตเวิร์ค
ตอบ=องค์ประกอบของการบริหารการจัดการระบบราชการจะมีลักษณะที่เป็นสภาวะแวดล้อมทางการบริหารประกอบด้วย รูปแบบปัจจัย นำเข้า ส่งออก Input -->Process-->Output-->Feedback/ Input ประกอบด้วยทรัพยากร ผ่านกระบวนการ Process คือ สิ่งที่ได้จากการดำเนินการคือ Output -->Feedback คือ ข้อมูล ปัญหาต่างๆ/Output คือ สิ่งที่ได้จากการดำเนินการ คุณภาพการทำงาน ปริมาณการทำงาน ความตั้งใจในการทำงาน/Feedback คือข้อมูล ข่าวสาร สิ่งที่เกิดจากผลผลิตภายในองค์การว่ามีปัญหาอย่างไร ปัญหาการดำเนินงานต่าง ๆ โดยดึงเอาปัจจัยเหล่านั้นมา
การบริหารระบบราชการภายใต้ยุคใหม่จะเน้นการนำหลักการบูรณาการต่าง ๆมาใช้ในการบริหารเช่น หลักธรรมมาภิบาล หลักคุณธรรม หลักการมีส่วนร่วม หลักผลประโยชน์ส่วนรวม และ การปรับเปลี่ยนรูปแบบไปตามสถานการณ์ที่เป็นพลวัตในปัจจุบันทันกับเทคโนโลยีมากขึ้น เพื่อให้เกิดประโยชน์กับประชาชนและส่วนรวมมากที่สุด
หลักการบริหารระบบราชการภายใต้ยุคใหม่หรือสมัยใหม่จะเน้นการให้ความสำคัญปัญหาความต้องการของสังคมเป็นหลักซึ่งเป็นนโยบายสาธารณะในการบริหารของภาครัฐและฝ่ายการเมืองในการกำนหนดกลยุทธ์ การวางแผนเป้าหมายและการดำเนินการร่วมกับฝ่ายบริหาร ฝ่ายการเมือง มีหน้าที่ในการกำหนด ควบคุมการบริหารภาครัฐ ส่วนฝ่ายบริหาร นำนโยบายของฝ่ายการเมืองไปปฎิบัติตามแบบแผน กฎระเบียบ บังคับใช้กับองค์กรต่าง ๆ เช่น การบริหารราชการส่วนกลาง องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนตำบล และประชาชนให้เป็นไปตามเป้าหมาย เป็นต้น องค์ประกอบสำคัญของการบริหารการจัดระบบราชการคือ คน เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญ อุปกรณ์ สภาพแวดล้อม มีการศึกษาการออกแบบและกระบวนการจัดการ รวมทั้งการจัดการนโยบายภายใต้หลักและทฤษฎี เพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาอย่างแท้จริง การทบทวนกรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่ก่อนการตัดสินใจดำเนินนโยบายหรือมาตรการใดๆ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ในระบบราชการ ภาครัฐ ควรเสนอ ทบทวนหลักการบริหารก่อนคือ การวิจัยกระบวนการเพื่อให้ได้รูปแบบที่เป็นไปได้ และการนำมาใช้ประกอบการตัดสินใจเพื่อกำหนดนโยบายที่มีการปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ปัจจุบันมากที่สุด
การรวมกลุ่มกันเป็นทีมเพื่อทำงานตามเป้าหมายที่วางไว้ของฝ่ายบริหาร สภาพแวดล้อมขององค์การ วัฒนธรรมองค์กร การยอมรับและการขึ้นอยู่กับผู้บริหารองค์กรนั้น ค่านิยม การทำงานเป็นทีม การนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อลดขั้นตอนลงในการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนที่มาใช้บริการ การพัฒนาศักยภาพของคน ตามความต้องการของภาคสังคม การกำหนดยุทธ์ศาสตร์เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ความโปร่งใส
Assignment ที่ 3 อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
ตอบ=การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารการจัดการสาธารณะแนวใหม่ได้แก่ อิทธิพล ปัจจัยที่มีส่วนร่วม ผลที่มีต่อการบริหาร ผลการวิเคราะห์ ด้านทรัพยากรสิ่งแวดล้อม การมีส่วนร่วมในท้องถิ่นสภาพแวดล้อมภายใน สภาพแวดล้อมภายนอก เช่น อาชีพ ความเป็นอยู่ การศึกษา เศรษฐกิจ การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีปัญหาด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ การประกอบอาชีพ และการจัดการในด้านต่าง ๆในด้านต่าง ๆ ที่สังคมต้องการให้แก้ไข
การบริหารนโยบายสาธารณะให้สอดคล้องกับการจัดการบริหารสาธารณณะแนวใหม่ ปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมของกลุ่มต่าง ๆ โดยภาครัฐ เอกชน ภาคประชาชน จะต้องมีการบูรณาการร่วมกัน ประสานงาน เชื่อมโยงกันในหลายมิติ การมีส่วนได้ส่วนเสียผลประโยชน์ของกลุ่มต่าง ๆ การนำการบริหารเชิงกลยุทธ์มาใช้ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป กระบวนการการเชิงการบริหารแบบมีส่วนร่วม ด้านสังคม ด้านการศึกษาให้กลุ่มต่าง ๆได้แสดงความต้องการทางสังคมและการสร้างมิติสัมพันธ์กันภายในสังคมที่มีความคิดเห็นที่แตกต่างกันแต่ประสานผลประโยชน์ส่วนรวมร่วมกัน ในการกำหนดทิศทาง แนวทาง แผนงาน โครงการและกิจกรรมให้มีความเหมาะสม มีการผสมผสานกันระหว่างกลุ่มต่าง ๆเพื่อให้เกิดการบูรณาการ ก่อให้เกิดประสิมธิผลตามเป้าหมายที่วางไว้ มีการเก็บรวมรวมข้อมูล การดำเนินงาน การวิเคราะห์ ผลดีผลเสีย ความเป็นไปได้ในแผนงานต่าง ๆ ปัจจัยด้านการบริหารภาครัฐควรให้ความสำคัญในการดำเนินโครงการในการจัดการองค์กรที่เกี่ยวกับนโยบายอย่างเป็นรูปธรรม การมีส่วนร่วม ภาครัฐควรสนับสนุนกลุ่มต่าง ๆในการบริหารนโยบายสาธารณะให้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นทราบถึงปัญหาต่าง ๆและความต้องการของสังคม ท้องถิ่น และให้ความสำคัญกับนโยบายสาธารณะร่วมกันและรับผิดชอบร่วมกัน
การบริหารนโยบายสาธารณะกับการจัดการบริหารสาธารณะแนวใหม่จึงมีความสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะแวดล้อมต่าง ๆให้เหมาะสม มีการใช้ทรัพยากร คน งบประมาณ การดำเนินงาน มีการส่งเสริมนวัตกรรมใหม่ ๆที่เกิดขึ้นให้เกิดการแพร่กระจายในลักษณะที่เป็นประโยชน์กับส่วนรวมการพัฒนาศักยภาพของคนให้มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา การให้คำแนะนำ การให้ความรู้ ความเข้าใจในการนำเสนอนโยบายสาธารณะกับสังคมและตอบสนองความต้องการของสังคมตลอดจนกลุ่มต่าง ๆที่มีส่วนได้ส่วนเสียจากนโยบายสาธารณะ การใช้แนวทางการบริหารเชิงกลยุทธ์ กระบวนการบริหาร รูปแบบนโยบายสาธารณะให้มีความเหมาะสมกับรูปแบบการมีส่วนร่วม ความพึงพอใจ ค่านิยม วัฒนธรรมองค์กร ท้องถิ่น เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา การเมืองที่แตกต่างกันมีผลต่อรูปแบบนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมแนวใหม่
ธีรวัฒน์ ชาตะลี รหัสนักศึกษา 634-234-711-45 รุ่น 46
Module - 2
Assignment ที่ 2 นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ระบบเน็ตเวิร์ค
ตอบ
องค์ประกอบของการบริหารการจัดการระบบราชการจะมีลักษณะที่เป็นสภาวะแวดล้อมทางการบริหารประกอบด้วย รูปแบบปัจจัย นำเข้า ส่งออก Input -->Process-->Output-->Feedback/ Input ประกอบด้วยทรัพยากร ผ่านกระบวนการ Process คือ สิ่งที่ได้จากการดำเนินการคือ Output -->Feedback คือ ข้อมูล ปัญหาต่างๆ/Output คือ สิ่งที่ได้จากการดำเนินการ คุณภาพการทำงาน ปริมาณการทำงาน ความตั้งใจในการทำงาน/Feedback คือข้อมูล ข่าวสาร สิ่งที่เกิดจากผลผลิตภายในองค์การว่ามีปัญหาอย่างไร ปัญหาการดำเนินงานต่าง ๆ โดยดึงเอาปัจจัยเหล่านั้นมา
การบริหารระบบราชการภายใต้ยุคใหม่จะเน้นการนำหลักการบูรณาการต่าง ๆมาใช้ในการบริหารเช่น หลักธรรมมาภิบาล หลักคุณธรรม หลักการมีส่วนร่วม หลักผลประโยชน์ส่วนรวม และ การปรับเปลี่ยนรูปแบบไปตามสถานการณ์ที่เป็นพลวัตในปัจจุบันทันกับเทคโนโลยีมากขึ้น เพื่อให้เกิดประโยชน์กับประชาชนและส่วนรวมมากที่สุด
หลักการบริหารระบบราชการภายใต้ยุคใหม่หรือสมัยใหม่จะเน้นการให้ความสำคัญปัญหาความต้องการของสังคมเป็นหลักซึ่งเป็นนโยบายสาธารณะในการบริหารของภาครัฐและฝ่ายการเมืองในการกำนหนดกลยุทธ์ การวางแผนเป้าหมายและการดำเนินการร่วมกับฝ่ายบริหาร ฝ่ายการเมือง มีหน้าที่ในการกำหนด ควบคุมการบริหารภาครัฐ ส่วนฝ่ายบริหาร นำนโยบายของฝ่ายการเมืองไปปฎิบัติตามแบบแผน กฎระเบียบ บังคับใช้กับองค์กรต่าง ๆ เช่น การบริหารราชการส่วนกลาง องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนตำบล และประชาชนให้เป็นไปตามเป้าหมาย เป็นต้น องค์ประกอบสำคัญของการบริหารการจัดระบบราชการคือ คน เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญ อุปกรณ์ สภาพแวดล้อม มีการศึกษาการออกแบบและกระบวนการจัดการ รวมทั้งการจัดการนโยบายภายใต้หลักและทฤษฎี เพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาอย่างแท้จริง การทบทวนกรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่ก่อนการตัดสินใจดำเนินนโยบายหรือมาตรการใดๆ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ในระบบราชการ ภาครัฐ ควรเสนอ ทบทวนหลักการบริหารก่อนคือ การวิจัยกระบวนการเพื่อให้ได้รูปแบบที่เป็นไปได้ และการนำมาใช้ประกอบการตัดสินใจเพื่อกำหนดนโยบายที่มีการปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ปัจจุบันมากที่สุด
การรวมกลุ่มกันเป็นทีมเพื่อทำงานตามเป้าหมายที่วางไว้ของฝ่ายบริหาร สภาพแวดล้อมขององค์การ วัฒนธรรมองค์กร การยอมรับและการขึ้นอยู่กับผู้บริหารองค์กรนั้น ค่านิยม การทำงานเป็นทีม การนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อลดขั้นตอนลงในการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนที่มาใช้บริการ การพัฒนาศักยภาพของคน ตามความต้องการของภาคสังคม การกำหนดยุทธ์ศาสตร์เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ความโปร่งใส
ขอบคุณครับ
เอกสารอ้างอิง : ผศ. ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ : บรรยาย
ฉัตรชัย นาถ้ำพลอย : การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
ดร.กฤษณ์ รักชาติเจริญ : การบรริหารการคลังภายใต้แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่
ธีรวัฒน์ ชาตะลี รหัสนักศึกษา 634-234-711-45 รุ่น 46
Module - 2
Assignment ที่ 3 อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
ตอบ
การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารการจัดการสาธารณะแนวใหม่ได้แก่ อิทธิพล ปัจจัยที่มีส่วนร่วม ผลที่มีต่อการบริหาร ผลการวิเคราะห์ ด้านทรัพยากรสิ่งแวดล้อม การมีส่วนร่วมในท้องถิ่นสภาพแวดล้อมภายใน สภาพแวดล้อมภายนอก เช่น อาชีพ ความเป็นอยู่ การศึกษา เศรษฐกิจ การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีปัญหาด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ การประกอบอาชีพ และการจัดการในด้านต่าง ๆในด้านต่าง ๆ ที่สังคมต้องการให้แก้ไข
การบริหารนโยบายสาธารณะให้สอดคล้องกับการจัดการบริหารสาธารณณะแนวใหม่ ปัญหาการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมของกลุ่มต่าง ๆ โดยภาครัฐ เอกชน ภาคประชาชน จะต้องมีการบูรณาการร่วมกัน ประสานงาน เชื่อมโยงกันในหลายมิติ การมีส่วนได้ส่วนเสียผลประโยชน์ของกลุ่มต่าง ๆ การนำการบริหารเชิงกลยุทธ์มาใช้ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป กระบวนการการเชิงการบริหารแบบมีส่วนร่วม ด้านสังคม ด้านการศึกษาให้กลุ่มต่าง ๆได้แสดงความต้องการทางสังคมและการสร้างมิติสัมพันธ์กันภายในสังคมที่มีความคิดเห็นที่แตกต่างกันแต่ประสานผลประโยชน์ส่วนรวมร่วมกัน ในการกำหนดทิศทาง แนวทาง แผนงาน โครงการและกิจกรรมให้มีความเหมาะสม มีการผสมผสานกันระหว่างกลุ่มต่าง ๆเพื่อให้เกิดการบูรณาการ ก่อให้เกิดประสิมธิผลตามเป้าหมายที่วางไว้ มีการเก็บรวมรวมข้อมูล การดำเนินงาน การวิเคราะห์ ผลดีผลเสีย ความเป็นไปได้ในแผนงานต่าง ๆ ปัจจัยด้านการบริหารภาครัฐควรให้ความสำคัญในการดำเนินโครงการในการจัดการองค์กรที่เกี่ยวกับนโยบายอย่างเป็นรูปธรรม การมีส่วนร่วม ภาครัฐควรสนับสนุนกลุ่มต่าง ๆในการบริหารนโยบายสาธารณะให้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นทราบถึงปัญหาต่าง ๆและความต้องการของสังคม ท้องถิ่น และให้ความสำคัญกับนโยบายสาธารณะร่วมกันและรับผิดชอบร่วมกัน
การบริหารนโยบายสาธารณะกับการจัดการบริหารสาธารณะแนวใหม่จึงมีความสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะแวดล้อมต่าง ๆให้เหมาะสม มีการใช้ทรัพยากร คน งบประมาณ การดำเนินงาน มีการส่งเสริมนวัตกรรมใหม่ ๆที่เกิดขึ้นให้เกิดการแพร่กระจายในลักษณะที่เป็นประโยชน์กับส่วนรวมการพัฒนาศักยภาพของคนให้มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา การให้คำแนะนำ การให้ความรู้ ความเข้าใจในการนำเสนอนโยบายสาธารณะกับสังคมและตอบสนองความต้องการของสังคมตลอดจนกลุ่มต่าง ๆที่มีส่วนได้ส่วนเสียจากนโยบายสาธารณะ การใช้แนวทางการบริหารเชิงกลยุทธ์ กระบวนการบริหาร รูปแบบนโยบายสาธารณะให้มีความเหมาะสมกับรูปแบบการมีส่วนร่วม ความพึงพอใจ ค่านิยม วัฒนธรรมองค์กร ท้องถิ่น เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา การเมืองที่แตกต่างกันมีผลต่อรูปแบบนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมแนวใหม่
ขอบคุณครับ
เอกสารอ้างอิง : ผศ. ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ : บรรยาย
ดร.กฤษณ์ รักชาติเจริญ : การบรริหารการคลังภายใต้แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่
ธีรวัฒน์ ชาตะลี รหัสนักศึกษา 634-234-711-45 รุ่น 46
Module - 2
Assignment ที่ 4 ให้นักศึกษา อภิปรายถึงกรอบ 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ 4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ตอบ
กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง การนำหลักการบริหารองค์การที่ดีมาใช้ในกระบวนการในการนำเอาหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงิน การคลังภาครัฐที่ครอบคลุมทางด้านหลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักการมีส่วนร่วม หลักความโปร่งใส หลักความรับผิดชอบและหลักความคุ้มค่า เนื่องจากหลักการเหล่านี้เป็นเครื่องป้องกันปัญหาการทุจริต คอรัปชั่นซึ่งเป็นตัวเหนี่ยวรั้งการพัฒนาประเทศ และการนำปัจจัยความสำเร็จในการนำหลักธรรมภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังได้แก่ ด้านกลยุทธ์ ด้านโครงสร้าง ด้านระบบ ด้านรูปแบบ ด้านการจัดการบุคคลเข้าทำงาน ด้านทักษะ ด้านค่านิยมร่วม
จากปัญหา การคอรัปชั่นในประเทศไทยสูงมาก จึงมีการนำกรอบการบริหารการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลังมาใช้ในองค์กรภาครัฐและหน่วยงานต่าง ๆเพื่อลดปัญหาต่าง ๆลงและเป็นการสร้างเสริมความเข้มแข็งให้กับระบบการเงินการคลังในการบริหาร และปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง เนื่องจากปัญหาและอุปสรรคในการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังขององค์กรต้นแบบที่ดีของภาครัฐประกอบด้วย ปัญหาบุคลากร ปัญหาด้านงบประมาณ ปัญหาด้านวัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ปัญหาด้านการจัดการ องค์กรภาครัฐต้นแบบควรมีกระบวนการและวิธีการในการนำธรรมาภิบาลในการบริหารการเงินภาครัฐมาใช้ให้ครอบคลุมทั้งด้าน หลัก นิติธรรม หลักคุณธรรม หลักการมีส่วมร่วม หลักความโปร่งใส หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า โดยปัจจัยที่มีผลต่อรูปแบบการบริหารการเงินการคลังขององค์กรเป็นปัจจัยความสำเร็จในด้านรูปแบบและด้านการจัดการบุคคลเข้าทำงาน ซึ่งประกอบด้วย การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ การเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนร่วมได้เสียมีส่วนร่วมในการนำเสนอความคิดเห็นและปัญหา การมีกิจกรรมและการอบรมการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการปฎิบัติงานอย่างต่อเนื่อง มีการวิเคราะห์ประเมินผล ติดตามการดำเนินการ ปัญหาต่าง ๆ เช่น ปัญหาการจัดการ ปัญหาบุคลากร ปัญหาการสื่อสาร ปัญหาภายในองค์กร ปัญหาภายนอกองค์การ การขาดประสิทธิภาพการทำงาน กฎระเบียบข้อบังคับ การมีส่วนร่วมกันในการองค์การทำให้เกิดปัญหาไม่มีความต่อเนื่อง ความล่าช้าในการปฎิบัติงาน การนำระบบการจัดการทำงานที่มาใช้ ความโปร่งใสในการปฎิบัติงาน การบริหารแบบมีส่วนร่วม มีผู้รับผิดชอบผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การปลูกจิตนึกให้กับบุคลากรในองค์การในด้านต่าง ๆ เช่นศีลธรรม คุณธรรม ความซื่อสัตย์ หน้าที่ความรับผิดชอบ ส่งเสริมการเป็นต้นแบบที่ดีให้กับองค์การให้เกิดการพัฒนาเพื่อลดปัญหาต่าง ๆ
การนำหลักการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลังมาใช้จึงมีความสำคัญต่อกระบวนการบริหารองค์การ มีการจัดการกระบวนทัศน์ผู้นำองค์การในรูปแบบต่าง ๆ การวางนโยบายการวางแผน การจัดการข้อมูล ข้อมูลสื่อสารองค์การ ผู้นำองค์กรต้องมีวิสัยทัศน์ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางสังคมในด้านต่าง ๆ การนำเอาทฤษฎีระบบมาปรับใช้ในรูปแบบกระบวนการต่าง ๆให้เหมาะสมกับสภาวะที่เปลี่ยนแปลงไปในปัจจุบันให้ทันกับยุคโลกาภิวัฒน์ Input--->ทรัพยากรต่าง ๆได้แก่บุคลากรที่จ้างมาทำงาน Output-->การออกไปประกอบอาชีพต่าง ๆ--->Outcome บัณฑิตที่ไปทำงานในที่ต่าง ๆดังนั้นการใช้หลักธรรมภิบาลมาเป็นหลักในการบริหารองค์การให้สัมฤทธิ์ผลสังคมหรือบุคลากรที่ออกไปประกอบอาชีพในสถานที่ต่าง ๆจะมีหลักในการดำเนินชีวิตและเป็นการป้องกันปัฐหาต่าง ๆตามมา มีการดำเนินชีวิตที่ดี นำความรู้ไปพัฒนาสัมคม ชุมชน และการดำรงชีพชองประชาชนมีความสุข องค์กรจึงต้องมีวิสัยทัศน์ (Ultimate Outcome) ตัวอย่าง เช่น การพัฒนาชุมชน การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพยั่งยืน ส่งเสริมการมีส่วนร่วม การบูรณาการร่วมกันระหว่างชุมชน สังคม หน่วยงานภาครัฐ เอกชน ทุกภาคส่วนให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ ในการพัฒนาโดยไม่ต้องพึ่งพาภาครัฐสามารถพึ่งพาตนเองได้
ขอบคุณครับ
เอกสารอ้างอิง : ผศ. ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ : บรรยาย
ดร.กฤษณ์ รักชาติเจริญ : รักชาติเจริญ : การบรริหารการคลังภายใต้แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่
กิจฐเชต ไกรวาส : ธรรมาภิบาลในการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ
เอกลักษณ์ ณัถฤทธิ์ : ธรรมาภิบาลในการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ
ธีรวัฒน์ ชาตะลี รหัสนักศึกษา 634-234-711-45 รุ่น 46
Module - 2 มี 4 ข้อ
Assignment ที่ 1 นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหารและความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
ตอบ
รูปแบบปัจจัยสภาพแวดล้อมทางการบริหารและความสัมพันธ์ปัจจัยต่าง ๆ โดยการนำเอาทฤษฎีระบบมาใช้และเป็นปัจจัยในการบริหารและแสดงความสัมพันธ์ด้านต่าง ๆ ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน สภาพแวดล้อมมด้วยปัจจัยทางด้านวัฒนธรรม ประเพณี ค่านิยม ระบบชนชั้นทางสังคม ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยของประชากร ทรัพยากรธรรมชาติ การศึกษาของประชาชน ปัจจัยทางการเมือง ปัจจัยทางกฎหมาย เทคโนโลยี ปัญหาและวิกฤติการณ์ทางสังคมแนวคิดการบริหารทฤษฎีระบบประกอบด้วย Input-->Process-->Output-->Feedback //Input คือ ทรัพยากรต่าง ๆ รูปแบบปัจจัยสภาพแวเล้อมการบริหาร วัฒนธรรมองค์การ ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก /Process คือ ระบบการบริหาร /Output คือผลผลิตสิ่งที่ได้จากการดำเนินการต่าง ๆ บริการของรัฐ /Feedback คือ ข้อมูลมาจากปัญหาจากการดำเนินงานสิ่งที่เกิดจากผลผลิตของโครงการต่าง ๆในการบริหาร//Environment คือ สภาพแวดล้อมทางการเมือง ภายใน นำเอาข้อมูลเหล่านั้น ดึงเอาข้อมูลเหล่านั้นมาจากปัจจัยภายในสิ่งแวดล้อม คุณภาพงาน ความตั้งใจในการทำงานซึ่งข้อมูลเหล่านี้จำเป็นต้องป้อนเข้าไปสู่กระบวนการ Input เป็นศูนย์กลางที่พึ่งทางจิตใจแต่ปัจจุบันสังคมเปลี่ยนแปลงไป เกี่ยวพันกันภับปัจจัยภายนอก สภาพแวดล้อมทางการบริหารได้แก่ วัฒนธรรม ค่านิยม ประเพณี ความแตกต่างกันของเชื้อชาติ ศาสนา ในภูมิภาคต่าง ๆ ชาติพันธ์, ระบบชนชั้นทางสังคม สถาบันทางสังคม การศึกษา,ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจมีบทบาทต่อการบริหารงานของรัฐทั้งทางตรงและทางอ้อม การปฎิบัติงานจำเป็นต้องใช้งบประมาณตามสภาพเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ของประชาชน , ปัจจัยด้านประชากร เป็นการกำหนดนโยบายการบริหารที่จำเป็นต้องมีการศึกษาประชากรมที่เข้าไปเกี่ยวข้อง ข้อมูลเป็นเครื่องชี้ให้ฝ่ายบริหารใช้เป็นเครื่องบ่งชี้ในระดับต่าง ๆเพื่อบำบัดความต้องการของสังคม , ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติ มีความสำคัญเป็นเครื่องบ่งบอกว่าประเทศมีศักยภาพมากน้อยเพียงใดและพัฒนาประเทศไปในทิศทางใด มีการจัดสรร ก่อให้เกิดประโยชน์มากที่สุดโดยอาศัยเทคโนโลยีและการจัดการที่ดี , ปัจจัยด้านการศึกษาของประชาชน เป็นเครื่องมือที่บอกระดับความเจริญก้าวหน้าของสังคมและมีอิทธิพลต่อการบริหาร การกระจายอำนาจ การติดต่อสื่อสาร , ปัจจัยด้านการเมือง เป็นการแสวงหาอำนาจ การได้มาซึ่งอำนาจในการบริหารการปกครองประเทศ การดำเนินการจำเป็นต้องคำนึงถึงความต้องการของสังคมประชาชนบนกรอบกติกาที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้ตามกฎหมาย , ปัจจัยทางกฎหมาย ใช้ควบคุมและเป็นเครื่องมือของฝ่ายบริหารทางตรงและทางอ้อม ปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายในและปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายนอกที่ทัผลต่อการบริหารและความสัมพันธ์กับปัจจัยต่าง ๆของทฤษฎีระบบ คือ Input คือ ทรัพยากรต่าง ๆ ผ่านกระบวนการ Process ประกอบด้วยปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน Output การแก้ไขปัญหาทางสังคม วัฒนธรรมองค์กร การยอมรับ Feedback สภาพแวดล้อม การปรับสมดุลภายใน เกี่ยวกับ องค์การ ซึ่งอยู่ภายในองค์การ สภาพแวดล้อมวัฒนธรรมองค์การต้องยอมรับและขึ้นอยู่กับผู้บริหารองค์การ ค่านิยมองค์ สภาพแวดล้อมภายใน เช่น การส่งเสริมการมีส่วนร่วม สภาพแวดล้อมภายนอก เช่น การส่งเสริมอาชีพชุมชน เป็นองค์ประกอบภายนอก ที่มีความสัมพันธ์กัน ปัจจัยสภาพแวดล้อมทางการบริหาร จึงเป็นภายนอก ระดับการบริหารงานจะประกอบด้วย ระดับสูง จะเกี่ยวพันกับสภาพแวดล้อมภายใน ภายนอก การกำหนดนโยบาย การวางแผน ระดับกลาง จะเชื่อโยงกับสภาพแวดล้อมภายใน ภายนอก การประสานงาน การปฎิบัติงาน การควบคุม ระดับต้น เกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมภายในเพื่อปฎิบัติตามหน้าที่ เป็นต้น
ขอบคุณครับ
เอกสารอ้างอิง : ผศ. ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ : บรรยาย
ฉัตรชัย นาถ้ำพลอย : การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ : การเมืองอเมริกา
กรรณิการ์ กาญจนวัฎศรี : สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา
รังสรรค์ ประเสริฐศรี : การบริหารจัดการเพื่อการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
ตอบ ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับขบวนการบริหาร กล่าวได้ว่า ทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรง และเป็นสภาพแวดล้อมที่จำเป็นในการบริหารงานขององค์การ สินค้าและบริการเป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อม
ทรัพยากรในการบริหาร —->ระบบการบริหาร—->บริหารของรัฐ-
^ |
| |
—-—————————— Feed Back. <——————————
^^^^^^^^^^^^^^^^^
สิ่งแวดล้อม (Environment)
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของ
การบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสาร
ผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
ตอบ 1. หลักลําดับขั้น (Heirachy)จะทําให้องค์กรต้องอยู่ภายใต้การควบคุม โดยเชื่อว่า การบริหารที่มีลําดับ ขั้นจะทําให้ระบบการสั่งการและการควบคุมมีความรัดกุม ทําให้การดําเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพการ แต่เมื่อสถานการณ์โลกเปลี่ยนไป การบริหารตามลําดับขั้นจึงเริ่มมีปัญหา เพราะการทํางานในปัจจุบันต้องการความรวดเร็ว คนต้องการเสรีภาพมากขึ้น ประชาชนต้องการการบริการที่สะดวกรวดเร็ว แต่ในองค์การขนาดใหญ่ที่ใช้ระบบราชการมีคนจํานวน มาก และยังมีกฎเกณฑ์อีกมาก
2. หลักความสํานึกแห่งความรับผิดชอบ (Responsibility)
เจ้าหน้าที่ทุกคนต้องมีความสํานึกแห่งความรับผิดชอบต่อการกระทําของตน ความรับผิดชอบ หมายถึง การรับผิดและรับชอบการกระทําใด ๆ ที่ตนได้กระทําลงไปและความพร้อมที่จะให้มีการตรวจสอบ โดยผู้บังคบับัญชาอยู่ตลอดเวลาด้วย
3. หลักแห่งความสมเหตุสมผล (Rationality)
ความถูกต้องเหมาะสมของแนวปฏิบัติที่จะนํามาใช้เป็นแนวทางในการดําเนินงานให้บรรลุผลอย่างมี ประสิทธิภาพ คือ มีการกําหนดระเบียบ วิธีปฏิบัติงานไว้อย่างชัดเจนในรูปของกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เพราะวิธีการทํางานจะแสดงให้เห็นว่าจะทํางานอย่างไร วิธีการใดที่ทําให้งานสําเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ
4. หลักการมุ่งสู่ผลสําเร็จ (achievement orientation)
การปฏิบัติงานใด ๆ ต้องมุ่งสู่เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์การ ผู้ปฏิบัติงานต้องมีหลักการและ วิธีการในการตัดสินใจเลือกทางปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง โดยยึดถือหลักประสิทธิภาพหรือหลักประหยัด การ บริหารจะได้รับประสิทธิผลสูงสุดต่อเมื่อมีการกําหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกต้องเหมาะสมกับลักษณะงาน สถานที่ ช่วงเวลา สภาพแวดล้อม ในทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเป้าหมายหรือผลสําเร็จที่ต้องการ
5. หลักการทําให้เกิดความแตกต่างหรือมีความชํานาญเฉพาะด้าน (Specialization)
ลักษณะทางโครงสร้างขององค์การแบบระบบราชการ ต้องมีการแบ่งงาน และจัดแผนกงาน หรือจัด ส่วนงานขึ้นมา เพราะภารกิจการงานขององค์การขนาดใหญ่มีจํานวนมากจึงต้องมีการแบ่งงานที่ต้องทํา ออกเป็นส่วน ๆ แล้ว หน่วยงานมารองรับการจัดส่วนงานอาจยึดหลักการจัดองค์การได้หลายรูปแบบ คือ
5.1 การแบ่งส่วนงานตามพื้นที่ เป็นการแบ่งงานโดยการกําหนดพื้นที่ที่ต้องรับผิดชอบไว้อย่างชัดเจน และมีการกําหนดภารกิจ บทบาท อํานาจหน้าที่ที่องค์การต้องบริหารจัดการไว้ด้วย เช่น การแบ่งพื้นที่การ บริหารราชการออกเป็น จังหวัด อําเภอ องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนตําบล เทศบาล
5.2 การแบ่งงานตามหน้าที่ หรือภารกิจที่องค์การจะต้องปฏิบัติ เช่น การจัดแบ่งงานของกระทรวง ต่าง ๆ เช่น กระทรวงกลาโหม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงการคลัง
5.3 การแบ่งงานตามลูกค้า หรือผู้รับบริการ เช่น การแบ่งโรงพยาบาล ออกเป็น โรงพยาบาลเด็ก โรงพยาบาลหญิง
5.4 การแบ่งงานตามขั้นตอนหรือกระบวนการทํางาน โดยคํานึงว่างานที่จะทําสามารถแบ่งออกเป็น ขั้นตอนอะไรบ้าง แล้วกําหนดหน่วยงานมารองรับ
6.หลักระเบยีบวินัย(discipline)
ต้องมีการกําหนดระเบียบ วินัย และบทลงโทษ ขึ้นมาเพื่อเป็นกลไกการควบคุมความประพฤติของ ผู้ปฏิบัติงานทุกคนในองค์การ
7. หลักความเป็นวิชาชีพ (Professionalization)
ผู้ปฏิบัติงานในองค์การราชการ ถือเป็นอาชีพอย่างหนึ่ง และต้องปฏิบัติงานเต็มเวลา ซึ่งผู้ปฏิบัติงาน จะต้องมีความรู้เกี่ยวกับ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนตัวบทกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ในภาระหน้าที่ของตนด้วย สาเหตุที่ระบบราชการประสบความสําเร็จ เพราะ
7.1 มีวิธีการจัดองค์การที่ มีระบบการทํางานที่ชัดเจน ตั้งอยู่บนหลักการของความสมเหตุสมผล
7.2 มีการใช้อํานาจตามสายการบังคับบัญชา มีการแบ่งงานตามหลักความชํานาญเฉพาะด้าน ทําให้ ระบบราชการสามารถทํางานที่มีขนาดใหญ่ และสลับซับซ้อนได้อย่างดี
7.3 คนส่วนใหญ่ยังมีความจําเป็นและต้องการบริการสาธารณะจากรัฐ เช่น บริการทางด้าน การรักษาพยาบาล การศึกษา สาธารณูปโภคต่าง ๆ องค์การภาครัฐที่บริหารแบบระบบราชการจึงสามารถ ดําเนินงานได้อย่างไม่มปีัญหามากนัก (ปัญญธิดา อัตบุตร, 2558, ออนไลน์)
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการ
สาธารณะแนวใหม่
ตอบ แนวทางที่ทําให้องค์การสามารถรับมือหรือปรับตัวได้ทันต่อสถานการณ์สภาพแวดล้อมขององค์การ ที่เปลี่ยนแปลงได้อย่างดีซึ่งปัจจัยสําคัญสู่ความสําเร็จคือ “คน” หรือ “ทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ” มีส่วนสําคัญ ในการขับเคลื่อนการบริหารและพัฒนาระบบบริหารภาครัฐถ้าปราศจากคนที่มีศักยภาพ จิตสํานึก รวมถึง ทัศนคติในการทํางานที่เหมาะสมสอดคล้องแล้ว การบริหารภาครัฐจะเดินหน้าไปสู่สิ่งระบบในที่นี้จึงมุ่งเน้น ให้ความสําคัญในมิติของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐที่ต้องตระหนักเพราะการปฏิบัติงานจะต้อง เกี่ยวข้องกันอยู่เสมอกับนโยบายของรัฐบาล (Government Policy) ซึ่งก็คือนโยบายสาธารณะ (Public Policy) แต่ในที่นี้จะเน้นให้เห็นถึงมิติความสําคัญของการนํานโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation) ซึ่งเป็นหน้าที่และภารกิจสําคัญของระบบราชการทั้งในส่วนกลาง (กระทรวง ทบวง กรม) ส่วนภูมิภาค (จังหวัด อําเภอ) และส่วนท้องถิ่น (เทศบาล อบจ. อบต. เป็นต้น) ในฐานะผู้ปฏิบัติตามโยบายของรัฐบาลจะ ต้องดําเนินการเพื่อการบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยหลายฉบับที่ผ่านมาได้กําหนดให้รัฐบาลหรือคณะรัฐมนตรีแถลง นโยบายต่อรัฐสภาก่อนเข้าบริหารราชการแผ่นดิน ตัวอย่างเช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ได้บัญญัติไว้ในหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ส่วนที่ 1 บททั่วไป มาตรา 75-79 สรุปความ ได้ว่า รัฐบาลหรือคณะรัฐมนตรีที่จะเข้าบริหารราชการแผ่นดินต้องแถลงนโยบายต่อรัฐสภา โดยชี้แจงให้ ชัดเจนว่ารัฐบาลจะดําเนินการใด ในระยะเวลาใด เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปตามนโยบาย พื้นฐานแห่งรัฐและต้องจัดทํารายงานแสดงผลการดําเนินการ รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคเสนอต่อรัฐสภาปีละ หนึ่งครั้ง เป็นต้น
ตามบทบัญญัติข้างต้น คณะรัฐมนตรีหรือรัฐบาลต้องจัดทําแผนการบริหารราชการแผ่นดินให้ สอดคล้องกับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ไม่ว่าจะเป็นเจตนารมณ์ ยุทธศาสตร์และนโยบายของรัฐบาลเมื่อ แถลงต่อรัฐสภาเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงจะดําเนินการตามนโยบายและแผนที่แถลงฯไว้ได้ ด้วยเหตุนี้ ระบบการ บริหารงานภาครัฐหรือระบบราชการจึงมีความใกล้ชิดกับนโยบายของรัฐบาลเพราะจะต้องเป็นกลไกหรือ เครื่องมือของรัฐบาล เพื่อให้นโยบายและแผนต่างๆบรรลุเป้าหมายเป็นรูปธรรม
ในที่นี้จะแสดงให้เห็นถึงความสําคัญของการนํานโยบายไปปฏิบัติ จากนั้นจะกล่าวถึงบริบทของ การนํานโยบายไปปฏิบัติภายใต้กระแสการปฏิรูประบบการบริหารภาครัฐในปัจจุบันและสุดท้ายจะสะท้อนให้ เห็นว่าการบริหารภาครัฐจะต้องมีแนวทางในการพัฒนาการบริหารภาครัฐให้สอดคล้องกับบริบทของนโยบายรัฐบาล
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง 4.1 กรอบ
การจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ4 .2
ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ตอบ 4.1การบริหารการคลัง
พื้นฐานการบริหารการคลังที่มีประสิทธิภาพ และสร้างประสิทธิผลต่องานทางด้านการคลัง หน่วยงานภาครัฐจะต้องกำหนดประเด็นสำคัญในการบริหาร ให้แยกออกเป็นขอบข่ายที่สำคัญ 4 ขอบข่าย ดังต่อไปนี้ การจัดการและการคัดเลือกผู้นำ (Organizational Alignment and Leadership) การจัดการนโยบายและการวางแผน (Policies and Processes)
การจัดการส่วนบุคคล (Personnel Management) และข้อมูลข่าวสาร (Information)การจัดการและการคัดเลือกผู้นำ เพื่อเป็นผู้กำหนดทิศทางการคลังในทุกภาคส่วน จะต้องมีการบริหารงานด้าน
การจัดซื้อจัดจ้างให้สอดคล้องกับหน่วยงาน สอดคล้องกับความต้องการในด้านประโยชน์ และสอดคล้องกับเป้าประสงค์
ของแผนงาน หรือแผนกลยุทธ์ รวมทั้งกำหนดขอบเขตความรับผิดชอบและบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน ทั้งนี้ ผู้นำจะต้องมี
ความสามารถ มีความซื่อสัตย์ และสามารถประสานงานได้ดีทุกภาคส่วนของหน่วยงานภาครัฐการจัดการนโยบายและการวางแผน จะต้องใช้หลักการเชิงกลยุทธ์เข้ามาเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อน มีการประเมินผลกระทบภายในองค์การในการจัดสรรงบประมาณ และต้องมีการประเมินผลกระทบภายนอกควบคู่ด้วยเช่นกัน เพื่อการ
จัดการที่มีประสิทธิภาพ การคลังจะต้องสร้างความร่วมมือกับทุกองค์การ และทุกหน่วยงานทั้งหน่วยงานภาครัฐและ
หน่วยงานภาคเอกชน มีการจัดการผู้จัดจำหน่าย (Supplier)ลดการผูกขาด (Reduce Monopoly) เน้นประสิทธิภาพใน
การตรวจสอบและการกำกับดูแลสัญญา ใสใจในการรับผิดชอบทางการเงิน
การจัดการงานบุคคล การสั่งสมทุนมนุษย์ การสร้างวัฒนธรรมในองค์การมีแต่ความซื่อสัตย์และมีกระบวนการกำกับดูแลที่มีประสิทธิภาพมีการควบคุมอย่างชัดเจน
สนับสนุนการสร้างพฤติกรรมที่มีจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ข้อมูลข่าวสาร การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาจัดการข้อมูล มีการติดตามผล การวางฐานข้อมูลทางการเงินและระบบนั้นจะต้องให้ง่ายต่อความเข้าใจในระดับผู้บริหาร มีระบบป้องกัน และการจัดการให้ข้อมูลเป็นความลับ
4.2 (1) มีระบบการทำงานที่โปร่งใส ชัดเจน ตรวจสอบได้ (System)
(2) การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ (Style)
(3) ใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมจากทั้งผู้รับบริการและผู้มี
ส่วนได้เสีย (Style)
(4) มีการอบรมเพื่อปลูกฝังและกระตุ้นจิตสำนึกด้านธรรมาภิบาล
อย่างต่อเนื่อง (Staf)
(5) ปรับระบบและโครงสร้างให้คล่องตัว มีประสิทธิภาพ
(Structure)
(6) การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ (Style)
(7) มีการอบรมการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการปฏิบัติงาน
อย่างต่อเนื่อง (Staff)
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาการบริหารการพัฒนาเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ “การบริหารงานภายนอก”
(external administration) หรือต้องเกี่ยวข้องกับปัจจัยภายนอกองค์การ (externalities) เพื่อโน้มน้าวให้
หน่วยงานและบุคคลหันมาสนับสนุนนโยบายและให้ความร่วมมือในการด าเนินการให้บรรลุเป้าหมายของ
การบริหารการพัฒนา ปรากฏเช่นนี้ สื่อให้เห็นว่าหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารการพัฒนา
จ าเป็ นต้องเข้าไปมีปฏิกิริยาโต้ตอบกับสภาพแวดล้อม นั่นคือ หน่วยงานเหล่านี้จะได้รับผลกระทบจาก
สิ่งแวดล้อม และสภาพแวดล้อมเองก็จะได้ รับผลกระทบจากการบริหารการพัฒนาของหน่วยงานด้วย
เนื่องจากสภาพแวดล้อมมีความสำคัญต่อการบริหารการพัฒนา และการบริหารการพัฒนามีความสำคัญ
ต่อสภาพแวดล้อมดั่งกล่าวแล้ว จึงหยิบยกเอาประเด็นเหล่านี้ มาพิจารณา โดยจะกล่าวถึงหัวข้อต่างๆ คือ ความหมายของสภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา สภาพแวดล้อม (environment) และนิเวศวิทยา (ecology) เป็ นค าที่อาจใช้แทนกันได้แต่จาก
การติดตามและสังเกตดู การใช้คำทั้งสองนี้ในตำราต่างๆ พบว่า มีความแตกต่างกันอยู่ไม่น้อย
กล่าวคือสภาพแวดล้อมหรือ environment จะหมายถึงสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลเหนืออินทรีย์
(organism) และองค์การแต่ฝ่ายเดียวส่วนนิเวศวิทยาหรือ ecology นั้นจะหมายถึง สภาพแวดล้อมที่มี
อิทธิพลเหนืออินทรีย์ (organism) และองค์การฝ่ ายเดียว ส่วนนิเวศวิทยาหรือ ecology นั ้นจะหมายถึง
สภาพแวดล้อมทีมีอิทธิพลเหนืออินทรีย์และองค์การ แต่ในขณะอินทรีย์และองค์การก็จะมีอิทธิพลเหนือ
สภาพแวดล้อม นอกจากนี้ คำว่า ecology มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก ว่า “oikos” ซึ่งเดิมหมายถึง
การอยู่อาศัย หรือที่อยู่ (habitation) ต่อมาการศึกษาตามแนวนิเวศวิทยาหรือสภาพแวดล้อมนี้
หมายความรวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับเศรษฐกิจและครัวเรือนของอินทรีย์ทีครอบคลุมความสัมพันธ์ระหว่าง
อินทรีย์และสภาพแวดล้อมทั้งที่สิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต ที่เป็ นรูปธรรมนามธรรมเฉพาะอย่างยิ่ง
ความสัมพันธ์ทีเอื้อำนวยและขัดขวางการต่อสู้เพื่อยังชีวิตตามแนวความคิดของชาร์ลส์ ดาร์วิน
(Charles Darwin) และคำว่า ecology นี ้นักชีวะวิทยา ชื่อ เออร์นสต์ ฮายริค เฮกเกล (Ernst
Heinrich Haeckel) นักชีวิวิทยาและนักเขียนชาวเยอรมันเป็นผู้คิดขึ้นในปี ค.ศ. 1870
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
ในยุคหลอมรวมเทคโนโลยีมีผลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับ ผลิต และใช้ข้อมูลของผู้รับสาร
และสื่อกระแสหลักทำให้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) กลายเป็นแหล่งข้อมูลข่าวสาร เกิดการ ปฏิสัมพันธ์
ในชุมชนออนไลน์ เชื่อมโยงเรื่องราวจากกลุ่มหนึ่งสู่อีกกลุ่มหนึ่ง ผู้รับสารบนสื่อออนไลน์สามารถผลิตสื่อได้เอง
ในหลายรูปแบบและมีจำนวนมาก มีผลให้เกิดกระบวนการสื่อข่าวในลักษณะการสื่อสารแบบสองทาง (Twoway communication) คือ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตสื่อและผู้รับสารบนสื่อสังคม มีการใช้สื่อสังคมเป็น
เครื่องมือรวบรวมข้อมูล ติดตามแหล่งข่าวและประเด็นที่น่าสนใจเพิ่มเติมจาก สิ่งที่ผู้ใช้สื่อออนไลน์นํามา
เผยแพร่และ เกิดการสนทนา แลกเปลี่ยนข่าวสารกัน ประโยชน์ของ กระบวนการหาข้อมูลจากสื่อสังคม
ออนไลน์คือเปิดโอกาสให้ผู้สื่อข่าว สำนักข่าว และผู้ผลิตสื่อรูปแบบต่างๆ สามารถเข้าถึงข้อมูลจำนวนมาก และ
กว้างมากขึ้น เข้าถึงกลุ่มคนที่แตกต่าง หลากหลาย และกลุ่มคนใหม่ๆ ที่อาจไม่เคยเป็นแหล่งข้อมูลของสื่อมา
ก่อน ดังนั้น สื่อสังคมออนไลน์จึงมีตัวเลือกของผู้เชี่ยวชาญ ผู้เกี่ยวข้องกับเรื่องราว และแหล่งข่าวที่หลากหลาย
รวมถึงมีโอกาสในการพัฒนาขยายเครือข่ายการเข้าถึงกลุ่มผู้รับสารที่แตกต่างได้ความท้าทายที่เกิดขึ้นท่ามกลาง
การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี อีกทั้งบทบาทของข้อมูลจากสื่อสังคมออนไลน์ต่อการนำเสนอ
ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานภาครัฐที่สามารถกำหนดวาระข่าวสารความสนใจของสังคมมาใช้ในการ
ประชาสัมพันธ์และการรับรู้ของประชาชนจากการรายงานข่าวของสื่อสังคมออนไลน์จึงเป็นความท้าทาย
บทบาทของภาครัฐต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อพัฒนาคุณภาพในการรายงานข่าวและควบคุมมาตรฐานใน
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการรับข้อมูล ใช้ข้อมูล และผลิตจากสื่อสังคมออนไลน์ต่อประชาชนในทุกระดับตั้งแต่
ระดับท้องถิ่นจนถึงระดับชาติ เพื่อยกระดับบทบาทของหน่วยงานภาครัฐต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์ใน
สังคมไทยให้มีคุณภาพและเป็นการพัฒนาคนจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยผ่านสื่อสังคมออนไลน์ในอีกทางหนึ่ง
ด้วยความสำคัญของที่มาและปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาเรื่องบทบาทของ
หน่วยงานภาครัฐต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์ เพื่อนำผลการศึกษาไปใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมบทบาทของ
หน่วยงานภาครัฐต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์
1. เพื่อศึกษาบทบาทของหน่วยงานภาครัฐต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์
2. เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคบทบาทของหน่วยงานภาครัฐต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน
1. ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งเป็นวิธีการที่สามารถหาข้อมูลเชิงลึก
ทำให้มีน้ำหนัก ความน่าเชื่อถือ จากแหล่งข้อมูลและผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่มีความเกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา ได้แก่
ผู้บริหารในหน่วยงานระดับกระทรวง ผู้บริหารภาครัฐ ระดับสูง ระดับกลาง และอาจารย์มหาวิทยาลัย จำนวน
18 คน โดยการคัดเลือกแบบเจาะจง ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ
(key informants) เพื่อนำมายังข้อมูลที่มีคุณค่าและประโยชน์ต่อการศึกษาในครั้งนี้
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและการสร้างเครื่องมือ
2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) โดยผู้วิจัย
ได้ทำการศึกษาค้นคว้า ตำรา เอกสาร บทความและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อใช้
เป็นแนวทางในการสร้างแบบสัมภาษณ์
2.2 พัฒนาเครื่องมือการวิจัยที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
2.3 นำร่างแบบสัมภาษณ์เสนออาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ เพื่อพิจารณาความเหมาะสม
2.4 นำร่างแบบสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้นแล้วนำคำแนะนำจากอาจารย์ที่ปรึกษามาปรับปรุงแก้ไข
2.5 พิจารณาตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้งแล้วนำมาปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ จึงนำไป
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
พัฒนาการของแนวคิดการจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG)
Osborne (2010) ได้จ าแนกแนวคิดในการน านโยบายสาธารณะไปปฏิบัติในช่วงผ่านมานี้
ออกเป็น 3 กระบวนทัศน์คือ 1) การบริหารสาธารณะแบบดั้งเดิม (Public Administration: PA)
2) การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM) และ 3) การจัดการปกครอง
สาธารณะแนวใหม่ (New Public Governance: NPG)
1. การบริหารภาครัฐแบบดั้งเดิม (Public Administration: PA) เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 19
ในยุคนี้เป็นการขยายตัวและเป็นความยิ่งใหญ่ของระบบราชการ (Bureaucracy) ที่มีลักษณะส าคัญ
คือการรวมศูนย์อ านาจ ระบบราชการผูกขาดการน านโยบายไปปฏิบัติและการให้บริการสาธารณะ
แก่ประชาชน (Osborne, 2010) นอกจากนี้Hood (1991) ยังได้กล่าวถึงองค์ประกอบส าคัญของ PA
ไว้ว่า เน้นในหลักกฎหมาย (RuleofLaw)และเน้นบทบาทของระบบราชการในการก าหนดและ
น านโยบายสาธารณะไปสู่การปฏิบัติดังนั้น ในยุคนี้จึงมีปัญหาตามมามากมายที่เกิดจากระบบราชการ
ที่มีโครงสร้างใหญ่เทอะทะ มีสายการบังคับบัญชาที่ซับซ้อน ก่อให้เกิดการท างานที่ไร้ประสิทธิภาพ
(Efficiency) ประสิทธิผล (Effectiveness)และความประหยัด (Economy) (Rosenbloom & Kravchuk,
2005) ในการบริหารราชการแบบดั้งเดิมจะไม่สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน เพราะมองว่า
ประชาชนทั่วไปขาดความรู้ความเชี่ยวชาญ ไม่มีเครื่องมือในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและ
เป็นวิทยาศาสตร์มักใช้แต่อารมณ์หรือความรู้สึก และค านึงแต่ผลประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าประโยชน์
ส่วนรวม นอกจากนี้การเปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมจะท าให้เสียเวลาและสิ้นเปลืองงบประมาณ
โดยได้รับประโยชน์ไม่คุ้มค่า
จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น การบริหารภาครัฐแบบดั้งเดิม (PA) ก็ได้ถูกท้าทายและ
ถูกวิพากษ์วิจารณ์มากมายในช่วงทศวรรษที่ 1970s เป็นต้นมา และดูเหมือนว่าระบบราชการ
ไม่เหมาะสมกับสังคมปัจจุบันที่เป็นยุคโลกาภิวัตน์ที่ข้อมูลข่าวสารสามารถสื่อถึงกันได้อย่าง
ไร้พรมแดน ความล่าช้า (Red-Tape) ขาดความยืดหยุ่น (Inflexible) อันเกิดจากกฎระเบียบต่าง ๆ
ของระบบราชการถูกมองว่าไม่มีความสอดคล้องกับความเป็นประชาธิปไตย (Cheema, 2005)
เพราะขาดทั้งการกระจายอ านาจและการมีส่วนร่วมของประชาชน จึงน าไปสู่ความสนใจในแนวคิด
ของการจัดการภาครัฐในแนวใหม่
2. การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM) จากปัญหาของ
การบริหารภาครัฐแบบดั้งเดิม น าไปสู่การแสวงหาแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวทางใหม่เพื่ออุดช่องว่างแนวคิดแบบดั้งเดิม การเจริญเติบโตของวาทกรรมใหม่ในการน านโยบายสาธารณะไปสู่
การปฏิบัติและการส่งมอบบริการสาธารณะมีขึ้นในช่วงต้นทศวรรษที่ 1980s โดยแนวคิด NPM
มีการน าไปประยุกต์ใช้กันอย่างกว้างขวาง ในกลุ่มประเทศเวสมินเตอร์(Westminter) ทั้งในอังกฤษ
ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์แองโกล-อเมริกัน และประเทศแถบสแกนดิเนเวีย (Scandinavia) NPM
ลักษณะส าคัญคือ เลียนแบบ การบริหารงานของธุรกิจเอกชน (Private-sector Management) มี
ภาวะผู้น าแบบผู้ประกอบการ (Entrepreneurial Leadership) เน้นการควบคุมปัจจัยน าเข้า
ปัจจัยน าออก และการประเมินผล (Osborne, 2010) มองประชาชนผู้มารับบริการว่าเป็นลูกค้า
(Customers) จากลักษณะของ NPM น ามาซึ่งจุดอ่อนของแนวคิดนี้คือ การบริหารงานภาครัฐ
บางอย่างไม่สามารถเลียนแบบเอกชนได้ และการมองประชาชนว่าเป็นเพียงลูกค้านั้น ไม่ใช่สิ่งที่
ถูกต้องซะทีเดียวเพราะประชาชน มีความต้องการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของภาครัฐมากกว่าการเป็น
ผู้รับบริการเพียงอย่างเดียว ดังนั้น จึงน าไปสู่การพัฒนาแนวคิดการจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่
(NPG) ที่ให้ความส าคัญกับทุกภาคส่วนเป็นเครือข่าย (Network) ในกระบวนการนโยบาย การจัดสรร
ทรัพยากรและการแก้ไขปัญหาร่วมกัน
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ4 .2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
กลุ่มบริหารงานงบประมาณเป็นภารกิจหนึ่งของการบริหารและการจดัการของ
โรงเรียนสบเมยวิทยาคม ซึ่งโรงเรียนสบเมยวิทยาคม ได้กำหนดขอบข่ายภารกิจของกลุ่มงานโดย
แบ่งออกเป็น 5ขอบข่ายงาน ประกอบดว้ย(1) งานการเงิน (2) งานบัญชี (3) งานพัสดุและสินทรัพย์
(4)งานแผนงานและความคุมภายใน และ (5)งานสารสนเทศกลุ่มบริหารงานงบประมาณ
ในการดำเนินงานการบริหารงบประมาณเป็นงานที่ต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามระเบียบ
กฎหมายข้อบังคับของกระทรวงการคลัง แต่เนื่องจากโรงเรียนมีปัญหาการขาดแคลนบุคลากรจึงมี
ข้อจำกัดในการดำเนินงานด้านงานบริหารงบประมาณ ประกอบกับบุคลากร มีการโยกย้าย
สับเปลี่ยนบ่อยคร้ังทำให้เกิดปัญหาการปฏิบตัิงานไม่ต่อเนื่องขาดประสิทธิภาพ นอกจากน้ีใน
ปัจจุบัน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ได้จัดสรรงบประมาณให้กับ โรงเรียนใน
สังกดัเป็นเงินอุดหนุนในลกั ษณะเงินกอ้ นใหญ่โดยให้โรงเรียนด าเนินการวางแผน ในการจัดสรร
งบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อโรงเรียน แต่บุคลากร
ที่ปฏิบัติงานยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ในข้นั ตอนการดา เนินงานบริหารงบประมาณของ
สถานศึกษาที่เป็ นนิติบุคคล ทา ใหเ้กิดปัญหาการขาดประสิทธิภาพในการใชง้บประมาณ ไม่ตรงตาม
ระเบียบ และแผนการปฏิบัติงานประจำปี (วณีรัตน์ แย้มพราม, 2549, น. 5) ดังจะเห็นได้จากผลการ
ตรวจสอบ การนิเทศกลุ่มงานบริหารงบประมาณของหน่วยรับตรวจ โรงเรียนสบเมยวิทยาคม
ไดร้ับการตรวจสอบ จากหน่วยตรวจสอบภายในส านกังานเขตพ้ืนที่การศึกษามธัยมศึกษา เขต 34
เมื่อวันที่ 10 - 11กุมภาพันธ์ 2556 พบปัญหาจากการด าเนินงานด้านการบริหารงบประมาณที่ต้อง
แก้ไขหลายประการอาทิเช่น การจัดท าและเสนอของบประมาณ แผนปฏิบัติการประจำปี
งบประมาณของโรงเรียนไม่สนองจุดเน้นตามภารกิจหลกัของโรงเรียนและยงัไม่ครอบคลุมเงินทุก
ประเภทที่สถานศึกษาได้รับ การจัดทำ แผนในแต่ละปีไม่ได้นำผลการปฏิบัติงานในปีก่อนมา
พิจารณาการเงินและบัญชีการรับเงินบางรายการเมื่อมีการโอนเงินเขา้มาโรงเรียน ไม่ระบุยอดเงิน
ว่าประกอบด้วยเงินประเภทใดบ้างจึงทำให้ไม่สามารถออกใบเสร็จรับเงินได้และออก
ใบเสร็จรับเงินไม่ครบถ้วน การใช้จ่ายเงินในการเดินทางไปราชการมีรายละเอียดไม่ครบถ้วน
สมบูรณ์ไม่ไดแ้ นบเอกสารหลกัฐาน ดอกเบ้ียที่ไดร้ับจากบญั ชีเงินฝากประเภทออมทรัพยร์ายการ
อุดหนุน ไม่ได้นำ ส่งเป็นเงินรายได้แผ่นดินการตรวจสอบการบริหารงานทรัพย์สิน ไม่มีการจัดทำ
ทะเบียนคุมทรัพยสิ้น เอกสารการจดัซิ้อจัดจ้างยังไม่ถูกต้องครบถ้วน
Assignment1 ความหมายของสภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา
สภาพแวดล้อม (environment) และนิเวศวิทยา (ecology) เป็ นค าที่อาจใช้แทนกันได้แต่จาก
การติดตามและสังเกตดู การใช้ค าทั ้งสองนี ้ในต ารับต าราต่างๆ พบว่า มีความแตกต่างกันอยู่ไม่น้อย
กล่าวคือสภาพแวดล้อมหรือ environment จะหมายถึงสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลเหนืออินทรีย์
(organism) และองค์การแต่ฝ่ ายเดียวส่วนนิเวศวิทยาหรือ ecology นั ้นจะหมายถึง สภาพแวดล้อมที่มี
อิทธิพลเหนืออินทรีย์ (organism) และองค์การฝ่ ายเดียว ส่วนนิเวศวิทยาหรือ ecology นั ้นจะหมายถึง
สภาพแวดล้อมทีมีอิทธิพลเหนืออินทรีย์และองค์การ แต่ในขณะอินทรีย์และองค์การก็จะมีอิทธิพลเหนือ
สภาพแวดล้อม นอกจากนี ้ ค าว่า ecology มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก ว่า “oikos” ซึ่งเดิมหมายถึง
การอยู่อาศัย หรือที่อยู่ (habitation) ต่อมาการศึกษาตามแนวนิเวศวิทยาหรือสภาพแวดล้อมนี ้
หมายความรวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับเศรษฐกิจและครัวเรือนของอินทรีย์ทีครอบคลุมความสัมพันธ์ระหว่าง
อินทรีย์และสภาพแวดล้ อมทั ้งที่สิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต ที่เป็ นรูปธรรมนามธรรมเฉพาะอย่างยิ่ง
ความสัมพันธ์ทีเอื ้ออ านวย และขัดขวางการต่อสู้เพื่อยังชีวิตตามแนวความคิดของชาร์ลส์ ดาร์วิน
(Charles Darwin) และค าว่า ecology นี ้นักชีวะวิทยา ชื่อ เออร์นสต์ ฮายริค เฮกเกล (Ernst
Heinrich Haeckel) นักชีวิวิทยาและนักเขียนชาวเยอรมันเป็ นผู้คิดขึ ้นในปี ค.ศ. 1870
ส าหรับความหมายที่เฉพาะเจาะจงของสภาพแวดล้อมหรือนิเวศวิทยานั ้น มีผู้รู้ ได้ให้ไว้หลาย
ประการด้วยกัน กล่าวคือ (1) เฟ-ลิก เอ ไนโกร และ ลอยด์ จี ไนโกร (Felix A. Nigro and Lloyd G. Nigro) ให้ความหมายของ
สภาพแวดล้อมไว้ว่า หมายถึง สรรพสิ่งทางกายภาพและสังคม ซึ่งอยู่ล้อมรอบองค์การและมีอิทธิพลเหนือ
พฤติกรรมการบริหารและในทางกลับกัน นั่นคือ สภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลเหนือพฤติกรรมการบริหาร
ในขณะเดียวกัน พฤติกรรมการบริหารก็มีอิทธิพลเหนือสภาพแวดล้อมด้วย ฉะนั ้นถ้าเรายึดเกณฑ์ที่กล่าว
ไว้ข้างต้น ค านิยามสภาพแวดลล้อมของไนโกรนั ้นมุ่งเน้นความหมายในแง่ของนิเวศวิทยา
(2) เอ็ดการ์ เอฟ ฮิวส์ และ เจมส์ แอล โบวดิช์ (Edgar F. Huse และ James L. Bowditch) ได้ให้ค า
จ ากัดความของสภาพแวดล้อมไว้ว่า หมายถึง คนสภาพการณ์ หรือเงื่อนไขซึ่งอยู่ภายนอกองค์การที่มี
ผลกระทบต่อ หรือได้รับผลกระทบจากองค์การ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ปัจจัยทั ้งหมดที่มีนอกองค์การ
ประกอบกันเป็ นสภาพแวดล้อม ทั้งนี ้ไม่เพียงแต่จะหมายถึงบุคคลและสภาพพื ้นที่เท่านั ้น แต่จะรวมถึง
แนวความคิดที่เป็ นนามธรรม เช่น ความรู้สึกนึกคิดของคนด้วย
(3) เฮอร์เกตร์ต จี ฮิกส์ (Herbert G. Hicks) ให้ความหมายของสภาพแวดล้อมไว้ว่า หมาถึง ผลรวมของ
ปัจจัยต่างๆที่อยู่รอบๆองค์การ เช่น สงครามและสันติภาพ วัฒนธรรม จริยธรรม ทัศนคติทางด้านการเมือง
และเศรษฐกิจระหว่างประเทศของประเทศพันธมิตร รูปแบบทางด้านประเพณีและวัฒนธรรม สภาพทาง
การเมืองและเศรษฐกิจระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ สหภาพแรงงาน ทัศนคติของประชาชน และ
ผลประโยชน์ของกลุ่มผู้บริโภค ผู้ถือหุ้นประชาชนทั่วๆไป
(4) วอเรน บี บราวน์ และ เดนนิส เจ โมเบอร์ก (Warren B Brown and Dennis J. Moberg) ให้
ความหมายสภาพแวดล้อมไว้ว่า หมายถึง สิ่งของ บุคคลและองค์การอื่นๆ ที่อยู่รอบๆ องค์การ
เป้ าหมาย ทั ้งนี ้รวมถึงแหล่งองค์การเหล่านัยได้อาศัยวัตถุดิบ และตลาดที่องค์การเหล่านั ้นใช้ที่จ าหน่าย
สินค้าและบริการอีกด้วย
(5) ลิน ตัน เค คอลด์เวลล์ (Ltnton K.Caldwell) ให้นิยามสภาพแวดล้อมไว้ว่า หมายถึง แหล่งรวม
ปัจจัยทางชีววิทยา กายภาพ จิตวิทยา และสังคมที่มีปฏิกิริยาโต้ตอบกับคนและสังคม
(6) ปี เตอร์ บาร์เทลมัส (Peter Bartelmus) ให้คำจำกัดความสภาพแวดล้อมแต่เพียงสั ้นๆ ว่า หมายถึง
สภาพ และอิทธิพลภายนอกที่มีผลต่อชีวิต และพัฒนาของอินทรีย์
สรุปได้ว่า สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา หมายถึง สิ่งท่ีเป็นรูปธรรม
นามธรรมทั้งภายนอก ภายใน และรอบๆ องค์การ และส่ิงท่ีเป็นรูปธรรมและนามธรรมดังกล่าว
นี้ มีอิทธิพลเหนือโครงสร้าง กระบวนการ และพฤติกรรมของการพัฒนาการบริหาร และการ
บริหารเพื่อการพัฒนา (หรือการบริหารการพัฒนา) หรือในทางกลับกันสภาพแวดล้อมที่เป็ นรูปธรรม
อาจรวมถึงสภาพแวดที่เป็ นรูปธรรมอาจรวมถึงสภาพภูมิศาสตร์ ประชากร เทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพ
ส่วนสภาพแวดล้อมที่เป็ นนามธรรม ได้แก่ การประดิษฐ์คิดค้นทางสังคม อันรวมถึงสหภาพแรงงาน กลุ่ม
ผลประโยชน์ อุดมการณ์ อารยธรรมธุรกิจ (business civilization) บรรษัท ปัจเจกชนนิยม ระบบ
การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เป็นต้น
Assignment.2
การนําแนวคิดการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมมาใช้เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ประเทศไทย
ในยุค 4.0 โดยการปรับเปลี่ยนระบบราชการที่เน้นประชาชนเป็นศูนย์กลางภายใต้แนวคิดการบริหารราชการ
แบบมีส่วนร่วม การปรับระบบราชการและการนําตัวแบบต่าง ๆ มาใช้ในการปรับตัวของระบบราชการ การใช้
นวัตกรรม เทคโนโลยีในยุคดิจิทัลเป็นเครื่องมือ โดยใช้กรอบการวิเคราะห์จากแนวคิดการบริหารราชการแบบมี
ส่วนร่วมที่ภาครัฐพยายามผลักดันเพื่อใช้เป็นกลไกในการทํางานในยุคประเทศไทย 4.0 เพื่อรองรับยุทธศาสตร์
การพัฒนาประเทศไทย 4.0 โดยที่ระบบราชการหรือภาครัฐ ได้เป็นส่วนหนึ่งในการทํางานที่ตอบสนองต่อความ
ต้องการของประชาชน ภาครัฐต้องอาศัยการทํางานที่เน้นหลักธรรมาภิบาลเพื่อให้ประชาชนสามารถตรวจสอบ
เข้าถึง และได้รับบริการได้ง่าย รวดเร็ว ซึ่งการพัฒนาภาครัฐให้สอดคล้องกับแนวคิดประเทศไทย 4.0 นั้น
จําต้องมีการปรับปรุงระบบการทํางานของภาครัฐ เน้นการเป็นภาครัฐที่เปิดกว้างเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน การ
เป็นภาครัฐที่มีขีดสมรรนะที่สูงทันสมัย พร้อมกับการเปลี่ยนแปลง และเน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง
ดังนั้น การนําแนวคิดการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม และแนวคิดกระบวนการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในการบริหารราชการ เป็นส่วนหนึ่งที่สามารถนําไปสู่การผลักดันให้ระบบราชการสามารถเปิดกว้าง
และตอบสนองต่อการพัฒนายุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 นอกจากนี้การนํานวัตกรรมในการทํางานของภาครัฐ
การสร้างระบบรัฐบาลเปิดที่สร้างการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนอื่น ๆ ที่นอกจากภาครัฐที่นําไปสู่การมีส่วนร่วม
อย่างกว้างขวางที่เป็นการมีส่วนร่วมของประชาชน การที่ภาครัฐปรับตัวและปรับบทบาทมากยิ่งขึ้น เป็น
แนวทางหนึ่งที่ภาครัฐในประเทศต่าง ๆ ในทั่วโลกพยายามดําเนินการ อันเป็นส่วนหนึ่งของกระแสความคิดที่ให้
ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมของประชนชน และแนวคิดประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม ที่ให้ความสําคัญกับการ
บริหารราชการแบบร่วมมือกัน การพัฒนาในทุกมิติพร้อม ๆ กัน ทั้งในทางด้านกฎหมาย และรบบโครงสร้าง
ของภาครัฐที่เปิดกว้างมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการมีกฎหมายให้สอดคล้องกับยุคดิจิทัล เช่น พระราชบัญญัติการ
อํานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตทางราชการ พ.ศ. 2558 เพื่อให้หน่วยงานราชการอํานวยความ
สะดวกในการใช้บริการในหน่วยงานราชการ หรือการใช้ระบบดิจิทัล จะสามารถทําให้เกิดการพัฒนาระบบ
ราชการหรือภาครัฐให้ทันสมัย จะส่งผลให้เกิดการปรับบทบาทในภาครัฐ การมีส่วนร่วมในการบริหารราชการ
ของประชาชน เน้นประชาชนเป็นศูนย์กลางในการดําเนินงานมากยิ่งขึ้นสามารถไปสู่การเป็นภาครัฐไทยในยุค
ประเทศไทย 4.0 ได้
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของการบริหารงานของรัฐเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อระบบการบริหารงานของรัฐในทุกๆส่วนหรือกล่าวได้ว่าปัจจัยดังกล่าวมีอิทธิพลต่อองค์การของรัฐทุกๆองค์การระดับของความสัมพันธ์ต่อองค์การอาจแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับ “ขอบเขต” ของแต่ละองค์การเนื่องจากปัจจัยประเภทนี้เป็นปัจจัยที่เกิดจากลักษณะร่วมกันของสังคมดังนั้นองค์การทุกๆประเภทที่ดำรงอยู่ในสังคมดังกล่าวจะต้องเผชิญและได้รับผลกระทบจากสภาพแวดล้อมประเภทนี้เสมอหรืออาจเรียกว่า “ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก”
สภาพแวดล้อมมีความสำคัญต่อการบริหารจัดการและการวางแผนงานในอนาคตเป็นอย่างยิ่ง หากพิจารณาสภาพแวดล้อมจากความเกี่ยวข้องปัจจัยกับระบบการบริหารจัดการจะเห็นได้ว่า สามารถที่จะแบ่งปัจจัยสภาพแวดล้อมออกได้เป็น ๒ ประเภท คือ สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องหรืออยู่ภายในองค์การและสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องหรืออยู่ภายนอกองค์การในการวางแผนการดำเนินงานนั้นปัจจัยสภาพแวดล้อมที่สามารถนำมาใช้ในการวางแผนต้องเป็นปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ด้วยผู้บริหารหรือองค์การซึ่งก็คือปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในหรือสภาพแวดล้อมเฉพาะสำหรับองค์การต่างๆของรัฐนั่นเอง
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2556-2561) ได้นำเสนอการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐโดยกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์อันสอดคล้องกับการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ดังนี้
พัฒนางานบริการส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐพัฒนาระบบการเชื่อมโยงงานบริการซึ่งกันและกันสู่ความเป็นเลิศโดยออกแบบการบริการที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาใช้ในการให้บริการประชาชนยกระดับการดำเนินงานของศูนย์บริการร่วมด้วยการเชื่อมโยงและบูรณาการกระบวนงานบริการที่หลากหลายจากส่วนราชการต่างๆมาไว้ ณ สถานที่เดียวกันให้สามารถใช้บริการได้ง่ายและหลากหลายรูปแบบเน้นการบริการเชิงรุกที่มีปฏิสัมพันธ์โดยตรงระหว่างภาครัฐและประชาชนการให้บริการแบบเบ็ดเสร็จอย่างแท้จริง พัฒนาระบบการจัดการข้อร้องเรียนและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนอย่างจริงจังโดยเน้นการจัดการเชิงรุกอย่างมีประสิทธิภาพรวมทั้งเสริมสร้างวัฒนธรรมการบริการที่เป็นเลิศ
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
นโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่นเป็นการกำหนดทิศทางแนวทางแผนงานโครงการและกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเลือกที่จะทำเพื่อพัฒนาท้องถิ่นหรือตอบสนองต่อปัญหาของท้องถิ่นนั้นๆโดยหน่วยงานราชการในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค ระดับจังหวัด ต่างมีหน้าที่เป็น หน่วยงานประสานงานเพื่อเป็นการขับเคลื่อนนโยบายที่รัฐบาลได้กำหนดไปปฏิบัติเพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุด เช่น โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ โครงการกองทุนหมู่บ้าน และโครงการประชารัฐ เป็นต้น โดยรัฐบาลได้ประกาศนโยบายการสร้างรายได้ว่าสนับสนุนและผลักดันให้มีกระบวนการการสร้างรายได้ให้กับประชาชนทุกระดับโดยจะส่งเสริมแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงตามศักยภาพของชุมชนในระดับฐานรากของประเทศตั้งแต่การผลิตเพื่อการบริโภคนำผลิตภัณฑ์ที่เหลือออกจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ในระดับครอบครัวส่งเสริมการรวมตัวเพื่อดำเนินเศรษฐกิจระดับชุมชนเร่งพัฒนาผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กรวมทั้งการส่งเสริมการเชื่อมโยงอย่างเกื้อกูลและสนับสนุนซึ่งกันและกันกับ ธุรกิจขนาดใหญ่สู่ตลาดทั้งภายในประเทศและต่างประเทศเพื่อสร้างเสริมกระบวนการสร้างรายได้ให้กับประชาชนอย่างเป็นระบบโดยมีวัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อสร้างงานสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนให้สามารถคิดเองทำเองในการพัฒนาท้องถิ่นส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของชุมชนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยสอดคล้องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมในท้องถิ่นโดยมีระบบราชการที่สำคัญเป็นตัวขับเคลื่อนหลักนั้นคือส่วนงานราชการระดับจังหวัดเป็นหน่วยงานติดตามขับเคลื่อนไปสู่ระดับอำเภอ ตำบล หมู่บ้าน ซึ่งมีวิธีการที่แตกต่างกันออกไปตามแต่ละนโยบายซึ่งสอดคล้องกับแนวนโยบายของรัฐบาลในปัจจุบันที่ใช้โครงการประชารัฐ คือการพัฒนาท้องถิ่นต้องประกอบด้วยประชาชนในพื้นที่ที่เป็นผู้ขับเคลื่อนดำเนิน กิจกรรมโครงการต่างๆ โดยมีหน่วยงานของภาครัฐมาช่วยสนับสนุนทั้งในเรื่องการสร้างองค์ความรู้ กำลังคน กำลังทรัพยากร และงบประมาณต่างๆ แต่นโยบายสาธารณะในระดับในท้องถิ่นส่วนใหญ่ก็ยังขาดการมีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆอย่างมากจนทำให้หลายๆนโยบายที่ดำเนินการไปแล้วไม่ประสบความสำเร็จในการแก้ไขปัญหาให้กับท้องถิ่นหรือในการพัฒนาท้องถิ่นให้มีประสิทธิผลจนก่อให้เกิดประสิทธิภาพตามมาก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งเวลากำลังคนทรัพยากรที่ใช้และงบประมาณที่นำลงไปสนับสนุนโครงการต่างๆการดำเนินนโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่นที่ขาดการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่างๆอย่างแท้จริงจนทำให้นโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่นหลายนโยบายถูกต่อต้านจากกลุ่มต่างๆในท้องถิ่นหรือนโยบายสาธารณะบางนโยบายไม่สามารถแก้ไขปัญหาให้แก่ท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือประสิทธิผลตามนโยบายดังกล่าวการศึกษาแนวทางการบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียในระดับท้องถิ่นซึ่งเป็นกระบวนการที่เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนและผู้ มีส่วนได้เสียกับผลของนโยบาย ในการกำหนดนโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่นในการศึกษาแนวทางการบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมในระดับท้องถิ่นโดยมีประเด็นที่น่าสนใจ คือ มีปัจจัยใดที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมในการบริหารนโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่นนอกจากนี้ยังช่วยให้เข้าใจถึงบทบาทและนำไปประยุกต์ใช้เชิงปฏิบัติในการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียกับผลของนโยบายที่เกิดขึ้นในการบริหารนโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่นต่อไป
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ
การบริหารการคลังพื้นฐานการบริหารการคลังที่มีประสิทธิภาพและสร้างประสิทธิผลต่องานทางด้านการคลังหน่วยงานภาครัฐจะต้องกำาหนดประเด็นสำาคัญในการบริหารให้แยกออกเป็นขอบข่ายที่สำคัญ 4 ขอบข่าย ดังต่อไปนี้
1.การจัดการและการคัดเลือกผู้นำา (Organizational Alignment and Leadership)
2.การจัดการนโยบายและการวางแผน (Policies and Processes)
3.การจัดการส่วนบุคคล (Personnel Management) และ
4.ข้อมูลข่าวสาร (Information)
4 .2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ปัจจัยความสำเร็จในการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังขององค์กร ต้นแบบที่ดีภาครัฐทั้ง 6 องค์กรส่วนใหญ่เป็นปัจจัยความสำเร็จในด้านรูปแบบ (Style) และด้านการจัดบุคคลเข้าทำงาน (Staff) ซึ่งประกอบด้วย
(1) การ เป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ (Style)
(2) การเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นและปัญหา (Style) และ
(3) มีกิจกรรมและการอบรมการน าหลักธรรมาภิบาลมา ใช้ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง (Staff)
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารความสัมพันธ์ของพนักงานในองค์กรมากที่สุดคือ ปัจจัยด้านเพื่อน ร่วมงาน โดยสามารถทำงานร่วมกันกับเพื่อนท างานได้เป็นอย่างดี รองลงมาคือปัจจัยด้านบรรยากาศองค์กร บรรยากาศใน การท างานเป็นกันเอง ปัจจัยด้านการติดต่อสื่อสารและประสานงาน การติดต่อสื่อสารระหว่างเพื่อนร่วมงานทั้งเรื่องงานและ เรื่องส่วนตัวได้ ปัจจัยด้านผู้นำ หัวหน้างานมีการตรวจงานอย่างสม่ำเสมอ และปัจจัยด้านความขัดแย้ง มักรู้สึกไม่ดีกับการ มอบหมายงาน หรือบทบาทหน้าที่ที่ไม่ชัดเจน ไม่เป็นไปตามโครงสร้างงานที่ถูกออกแบบไว้
พนักงานในองค์กรเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนวิสัยทัศน์ และการดำเนินธุรกิจขององค์กรให้ประสบ ความสำเร็จ ให้บรรลุตามเป้าหมาย การเสริมสร้างความสัมพันธ์ของพนักงานในองค์กร เพื่อให้องค์กรประสบความสำเร็จ ตามเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้องค์กรจำเป็นต้องบริหารความสัมพันธ์ของบุคลากร เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการท างานและมี การพัฒนาก้าวหน้าให้ทันต่อการแข่งขันในยุคปัจจุบัน ว่าด้วยคนต้องทำงานอยู่ร่วมกัน การท างานร่วมกันของคน หลากหลาย และจำนวนมาก ซึ่งมักจะทำให้เกิดการขัดแย้งกันระหว่างบุคคล หรือกลุ่มบุคคล น าไปสู่การทะเลาะวิวาทกัน ไม่พอใจกัน และส่งผลต่อองค์กร ถ้ามีความสัมพันธ์ที่ดี ผลการปฏิบัติงานก็จะดีตามไปด้วย พนักงานก็จะธำรงอยู่ในองค์กร แต่ถ้าบุคลากรไม่มีความสัมพันธ์กันระหว่างหัวหน้างานหรือเพื่อนร่วมงานที่ดี ผลการปฏิบัติงานก็จะส่งผลไม่ดีไปด้วย
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) เป็นรูปแบบการสื่อสารข้อมูลที่มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง โดยมีรูปแบบการสื่อสารที่หลากหลาย ทั้งในรูปแบบของการสร้างและ การเผยแพร่ข้อมูล ปัจจุบันกระแสการใช้งานอินเทอร์เน็ตและโทรศัพท์ประเภทสมาร์ทโฟน และอุปกรณ์พกพา เช่น แท็บเล็ต ที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้มีการใช้งานสื่อสังคมออนไลน์เพิ่มขึ้นตามไปด้วย ทำให้หน่วยงานทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน องค์กร หรือกลุ่มบุคคลได้นำสื่อสังคมออนไลน์มาใช้ประโยชน์ทั้งในการสื่อสารติดต่อกันภายใน หน่วยงาน การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และการติดต่อสื่อสารกับประชาชนมากขึ้น
ซึ่งปัจจุบันบริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมี การนำมาใช้ในการสื่อสารระหว่าง บุคคล เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ หรือการสื่อสารของหน่วยงานราชการ ตลอดจนองค์กรต่างๆ มีลักษณะเป็นการสื่อสารแบบสองทาง ที่มีรูปแบบการทำงานในลักษณะออนไลน์และ สามารถที่จะใช้สร้างและเพิ่มเติมเนื้อหาได้สื่อสังคมออนไลน์จึงเป็นช่องทางการสื่อสารอีกช่องทางหนึ่งที่ หน่วยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานของเอกชนในทุกหน่วยงาน สามารถจะนำมาใช้ ในการติดต่อสื่อสารกับบุคคลต่างๆ ได้ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลการให้ความรู้ รวมทั้งเป็นการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และใช้ติดต่อสื่อสารกับสาธารณะซึ่งกล่าวโดยทั่วไปแล้ว สื่อสังคมออนไลน์จึงมีทั้งข้อดีและข้อด้อย
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
สาธารณะแนวใหม่ (The New Public Governance) เมื่อเผชิญกับปัญหาแนวคิดและการปฏิบัติของการบริหารสาธารณะแบบดั้งเดิมและการจัดการสาธารณะ แนวใหม่ นักทฤษฎีจำนวนหนึ่งก็พัฒนากรอบแนวความคิดของการบริหารสาธารณะที่สดใหม่กว่าที่เรียกว่า การ จัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (The New Public Governance) หรือ NPG ให้ความสำคัญกับพลเมือง ผลประโยชน์ สาธารณะและความสัมพันธ์ระหว่างองค์การ แนวคิดดังกล่าวเสนอโดย Osborne มองว่าสังคมเริ่มเข้าสู่วัฒนธรรมที่ เรียกว่า รัฐพหุลักษณ์ (pluralist) หมายถึง การรวมตัวขององค์การที่หลากหลายองค์การ ทั้งหน่วยงานของภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมและหน่วยงานที่ไม่แสวงหากำไร ซึ่งองค์การข้างต้นต้องมีการพึ่งพาอาศัยกันและกันเพื่อ ร่วมกันในการจัดหาบริการสาธารณะให้แก่ประชาชน ดังนั้น จุดเด่นของการจัดการธรรมาภิบาลสาธารณะแนวใหม่ NPG คือมุ่งเน้นค่านิยมในหลักของความเป็นพลเมือง ทำให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีบทบาทในการอำนวยความสะดวกและ มุ่งตอบสนองความต้องการของพลเมือง การใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่รัฐจะต้องอยู่ภายใต้ขอบเขตแนวคิด governance คือสามารถตรวจสอบได้
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง
การบริหารภาคการคลังจะต้องมีการกำหนดมาตรการ การควบคุมและการดำ เนินการครอบคลุมในทุกมิติการนำ การจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้เพื่อการกำหนดมาตรการ หรือแนวทางการบริหาร จะทำ ให้การบริหารมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น เพราะการจัดการภาครัฐแนวใหม่มีรูปแบบตั้งแต่การ ศึกษาสภาพแวดล้อมและปัญหา การศึกษาเอกสารและ ผลการดำ เนินการที่ผ่านมารวมไปถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น เพื่อ เป็นแนวทางในการกำหนดการดำ เนินการ เพราะการดำ เนิน การภายใต้โครงการต่างๆต้องลดปัญหาแม้ว่าจะถูกจำกัดด้วย สภาพแวดล้อมและทรัพยากรที่มีอยู่ปัจจุบันหลายประเทศใน อาเซียนประสบปัญหาคือการที่รัฐบาลไม่สามารถดำ เนินการ บริหารได้ตามที่แถลงจุดอ่อนปัญหาการบริหารการคลังที่ไม่มี คุณภาพ ขาดการวางแผน ขาดการศึกษาในเชิงลึกและขาด การวางรากฐานนโยบายสาธารณะเพื่อประชาชน เนื่องจาก หน่วยงานภาครัฐเป็นองค์การขนาดใหญ่ทำ ให้การจัดการ บริหารจัดการเพื่อให้เป็นไปตามแบบแผนเดียวกันเป็นเรื่องที่ ยากเช่น การดำ เนินการตามนโยบายผู้ที่ออกนโยบายกับผู้ที่ ดำ เนินการเป็นบุคคลคนละกลุ่มกัน ถือว่าเป็นอุปสรรคที่สำคัญ ดังนั้น การร่วมมือกันของทุกภาคส่วนเป็นขั้นตอนที่สำคัญ โดย ต้องมีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน แนวทางการดำ เนินงานที่ แน่นอน เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้ดำ เนินการตามแนวทางเดียวกัน
4 .2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
1. องค์กรต้นแบบที่ดีภาครัฐทั้ง 6 องค์กร มีกระ บวนการและวิธีการในการนำหลัก ธรรมาภิบาลมา ใช้ในการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ ที่ครอบ คลุมทั้งในด้านหลักนิติธร รม หลักคุณธรรม หลักการ มีส่วนร่วม หลักความโปร่งใส หลักความ รับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า
2. ปัจจัยความส าเร็จในการน าหลักธรรมาภิ บาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังขององค์กร ต้น แบบที่ดีภาครัฐทั้ง 6 องค์กร ส่วนใหญ่เป็น ปัจจัยด้านรูปแบบ (Style) และด้านการจัดบุคคล เข้าท างาน (Staff) ซึ่งประกอบด้วย
2.1การเป็น แบบอย่างที่ดีของผู้นำ (Style)
2.2การเปิดโอกาส ให้ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการ เสนอความคิด เห็นและปัญหา (Style) และ (3) มี กิจกรรมและการอบรมการน าหลักธรรมาภิบาลมา ใช้ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง (Staff)
3. ปัญหาและอุปสรรคในการน าหลักธรรมาภิ บาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังขององค์กร ต้นแบบที่ดีภาครัฐทั้ง 6 องค์กร ส่วนใหญ่เป็น ปัญหาและอุปสรรคด้านบุคลากร (Man) และด้าน การจัดการ
ความหมายของสภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา
สภาพแวดล้อม (environment) และนิเวศวิทยา (ecology) เป็นคำที่อาจใช้แทนกันได้แต่จาก การติดตามและสังเกตดูการใช้คำทั้งสองนี้ในตำรับตำราต่างๆ พบว่า มีความแตกต่างกันอยู่ไม่น้อย กล่าวคือสภาพแวดล้อมหรือ environment จะหมายถึงสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลเหนืออินทรีย์ (organism) และองค์การแต่ฝ่ายเดียวส่วนนิเวศวิทยาหรือ ecology นั้นจะหมายถึง สภาพแวดล้อมที่มี อิทธิพลเหนืออินทรีย์(organism) และองค์การฝ่ายเดียว ส่วนนิเวศวิทยาหรือ ecology นั้นจะหมายถึง สภาพแวดล้อมทีมีอิทธิพลเหนืออินทรีย์และองค์การ แต่ในขณะอินทรีย์และองค์การก็จะมีอิทธิพลเหนือ สภาพแวดล้อม นอกจากนี้ คาดว่า ecology มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก ว่า “oikos” ซึ่งเดิมหมายถึง การอยู่อาศยั หรือที่อยู่ (habitation) ต่อมาการศึกษาตามแนวนิเวศวิทยาหรือสภาพแวดล้อมนี้ หมายความรวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับเศรษฐกิจและครัวเรือนของอินทรีย์ทีครอบคลมุความสมัพนัธ์ระหว่าง อินทรีย์และสภาพแวดล้อมทัง้ที่สิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต ที่เป็นรูปธรรมนามธรรมเฉพาะอย่างยิ่ง ความสัมพันธ์ทีเอือ้ อานวย และขัดขวางการต่อสู้เพื่อยังชีวิตตามแนวความคิดของชาร์ลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin) และคาว่า ecology มีนักชีวะวิทยา ชื่อ เออร์นสต์ ฮายริค เฮกเกล (Ernst HeinrichHaeckel)นักชีวะวิทยาและนัดขียนชาวเยอรมันเป็นผู้คิดขึ้นในปีค.ศ.1870
สาหรับความหมายที่เฉพาะเจาะจงของสภาพแวดล้อมหรือนิเวศวิทยานนั้ มีผู้รู้ได้ให้ไว้หลาย ประการด้วยกนั กล่าวคือ
สรุปได้ว่า สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา หมายถึง ส่ิงท่ีเป็นรูปธรรม นามธรรมทั้งภายนอก ภายใน และรอบๆ องค์การ และส่ิงท่ีเป็นรูปธรรมและนามธรรมดังกล่าว นี้ มีอิทธิพลเหนือโครงสร้าง กระบวนการ และพฤติกรรมของการพัฒนาการบริหาร และการ บริหารเพ่อืการพัฒนา(หรือการบริหารการพัฒนา)หรือในทางกลับกันสภาพแวดล้อมที่เป็นรูปธรรม
อาจรวมถึงสภาพแวดที่เป็นรูปธรรมอาจรวมถึงสภาพภูมิศาสตร์ประชากรเทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพ ส่วนสภาพแวดล้อมที่เป็นนามธรรม ได้แก่ การประดิษฐ์คิดค้นทางสังคมอันรวมถึงสหภาพแรงงาน กล่มุ ผลประโยชน์ อุดมการณ์ อารยธรรมธุรกิจ (business civilization) บรรษัท ปัจเจกชนนิยม ระบบ การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เป็นต้น
แนวคิดที่มีอิทธิพลต่อการปฏิรูปการบริหารภาครัฐทั่วโลก แนวคิดใหม่ไม่ใช่การปฏิรูประบบ
ราชการอย่างเดียวแต่ยังแปลงโฉมภาครัฐใหม่ด้วยการจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับสังคม
ใหม่ เหตุผลหลักที่ได้รับการยอมรับคือ ตัวแบบระบบราชการเดิมใช้ไม่ได้อีกต่อไป รัฐบาลหลายประเทศ
เริ่มไม่เห็นด้วยกับการทํางานแบบราชการ จึงจ้างนักเศรษฐศาสตร์ที่อบรมการจัดการเข้ามาทํางานแทน
นักบริหารพร้อมกับหยิบยืมเทคนิคการจัดการจากภาคเอกชนมาใช้ย้อนกลับไปใช้วิธีการแบ่งกิจกรรม
ภาครัฐกับภาคเอกชนออกจากกันเพื่อหาทางตัดค่าใช้จ่าย และเริ่มเปลี่ยนระบบการทํางานใหม่ สาเหตุ
พื้นฐานมาจากรัฐบาลหลายประเทศเผชิญกับปัญหารายได้ที่แท้จริงตกตํ่ า แต่นักการเมืองยังคงอยาก
ให้บริการอยู่ในระดับเดิม จึงไม่มีทางอื่นนอกจากปรับปรุงประสิทธิภาพประกอบกับนักทฤษฎีท้วงติงว่า
ระบบราชการเดิมไม่มีประสิทธิภาพ และเมื่อนักเศรษฐศาสตร์ศึกษาก็ได้ค าตอบแบบเดียวกัน จึงเริ่มมี
คําถามว่าทําไมต้องจ้างข้าราชการถาวร ทําไมไม่จ้างตามสัญญา หากจ้างตามสัญญาจะเกิดปัญหา
อะไรบ้าง ส่วนแรงต่อต้านจากระบบราชก็มีน้อย เพราะประชาชนไม่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงจึงเกิดขึ้น
และเป็นเหตุให้การทํางานแบบระบบราชการบางอย่างหายไป ดังนั้นแนวโน้มของ“การจัดการภาครัฐ”
ในอนาคตจึงมุ่งไปสู่ “การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ” (Privatization) และการใช้ “บุคคลที่สาม” (Third
Party) ในการดําเนินการต่าง ๆ แทนภาครัฐเพิ่มมากขึ้นซึ่งทําให้ภาครัฐจํ าเป็นต้องอาศัย “แนวความคิด
และวิธีการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชน” มาใช้มากขึ้นทุกทีการบริหารจัดการแบบภาคเอกชน
เช่นว่านี้ทําให้เจ้าหน้าที่ของภาครัฐต้องมีความเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพมากขึ้น (Qualityfied
Personnel) พร้อม ๆ กับการต้องเป็น “มืออาชีพ” มากขึ้นด้วย (Higher-Quality Professional)
แต่โดยที่การบริหารในภาครัฐราชการจะต้องอยู่ภายใต้กฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ มากมาย ซึ่งต่าง
จากการบริหารของภาคเอกชน และอยู่ภายใต้หลักการปกครองแบบ “นิติรัฐ” (Rule of Law)
ด้วยจึงทําให้ภาครัฐจําเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบของการปกครองแบบเข้มงวดเคร่งครัดมายึดหลักการ
ผ่อนปรนภายใต้ “ธรรมาภิบาล” หรือ “การก ากับดูแลที่ดี” (Good Governance) มากขึ้น ปัญหาใน
ปัจจุบันจึงอยู่ที่การเร่งสร้างองค์กรเครือข่ายของภาครัฐและภาคเอกชนที่อาศัยหลักการของ
“ธรรมาภิบาล” ซึ่งอยู่ภายใต้การกํากับของหลักแห่งศีลธรรมที่ดีงามทุกวันนี้ภาคเอกชนไม่เพียงแต่
เรียกร้องและต้องการ Good Governance เท่านั้นแต่ยังเรียกร้อง “Good Judgment” จากเจ้าหน้าที่
ของรัฐทุกระดับชั้นมากยิ่งขึ้นด้วย
การน้าแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้ในการปฏิรูประบบราชการของ
ต่างประเทศ
ประเทศอังกฤษ การปฏิรูประบบราชการในประเทศอังกฤษเกิดขึ้นเมื่อปีค.ศ.1979 เมื่อ
อังกฤษประสบปัญหาทางเศรษฐกิจตกต่ าอย่างรุนแรง ปัญหาการว่างงานและภาวะเงินเฟ้อ ขณะที่
คุณภาพและประสิทธิภาพของการบริหารงานภาครัฐได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างมาก ทําให้เกิดเสียง
เรียกร้องของประชาชนให้มีการปรับปรุงการบริการของรัฐให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ประกอบกับความ
สนใจของนางแท็ตเชอร์ที่มีความนิยมการบริหารราชการเชิงธุรกิจและนโยบายของพรรคอนุรักษ์นิยม
ที่ต้องการลดการจัดเก็บภาษีรายได้ของประชาชน ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ผลักดันให้รัฐบาลอังกฤษ ซึ่งนํา
โดยนางมาร์กาแร็ต แท็ตเชอร์ได้ริเริ่มการปฏิรูปขนานใหญ่
ในช่วงทศวรรษ 1980 และ 1990 เกิดการจัดการแนวใหม่ภาครัฐขึ้นในโลก มีชื่อเรียกว่า “การจัดการภาครัฐ” (Public Management) หรือ “การจัดการภาครัฐแนวใหม่” (New Public Management) หรือบางทีก็มีชื่อเรียกย่อว่า “NPM” นักวิชาการบางคน เช่น คาร์มาร์ก เห็นว่าเป็นการ ปฏิวัติการบริหารภาครัฐซ่งมีอิทธิพลอย่างมากเหมือนกับ ทฤษฎีระบบราชการของเวเบอร์เลยทีเดียว หลักใหญ่ของการจัดการภาครัฐแนวใหม่ คือ เน้นการเปลี่ยนแปลงระเบียบและวิธีการของระบบราชการ ไปสู่การบริหารแบบใหม่ โดยใช้กระบวนการของภาคเอกชนมาบูรณาการการทำงานซึ่งเน้นผลสำเร็จ และความรับผิดชอบ (ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร, 2552 : 56) แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM) เป็นการบริหารงานที่ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ มีมาตรฐานวัดได้ ใช้กลไกการตลาดเปิดโอกาสในการแข่งขันทั้งภาคเอกชนและภาค ประชาชนในการเข้าร่วมการลงทุนอย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ การให้บริการที่ตอบสนองต่อความ ต้องการของประชาชน ดังนั้นเพื่อให้ระบบราชการมีความสอดคล้องกับแนวคิดการปฏิรูประบบราชการ ควรมีลักษณะ คือ รัฐจะมีบทบาทหน้าที่เฉพาะในส่วนที่จ าเป็นจะต้องท าเท่านั้นเพื่อเปิดโอกาสให้ ประชาชนและชุมชนมีบทบาทมากขึ้น มีการบริหารจัดการภายในภาคราชการที่มีความรวดเร็ว คุณภาพสูง และมีประสิทธิภาพ มีการจัดองค์กรที่มีความกะทัดรัดคล่องตัวและปรับเปลี่ยนได้อย่าง รวดเร็ว เน้นการทำงานที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือตามลักษณะของการทำงานที่ทันสมัย ใช้อุปกรณ์ที่ เหมาะสมต่อการทำงาน มีการพัฒนาสมรรถนะข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีคุณภาพสูง ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์โดยมีประชาชนเป็นเป้าหมาย มีกลไกการบริหารงานบุคคล ที่หลากหลาย มีระบบค่าตอบแทนที่เป็นธรรมเพื่อเปิดโอกาสให้บุคคลที่มีความรู้ความสามารถเต็มใจ มารับราชการอย่างมืออาชีพ มีวัฒนธรรมองค์กรและมีบรรยากาศในการทำงานแบบมีส่วนร่วม มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ (พัชราวลัย ศุภภะ, 2562)
ดังนั้น การบริหารจัดการภาครัฐเป็นนวัตกรรมทางการบริหารอย่างหนึ่งเพื่อดำเนินการ ขับเคลื่อนการปฏิรูประบบราชการไทย ได้มีการประยุกต์ใช้เป็นหลักคิด หลักปฏิบัติ โดยมีเป้าประสงค์ หลักของการพัฒนาระบบราชการไทย คือ พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้น ปรับบทบาท ภารกิจให้มีความเหมาะสม ยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทำงานให้เทียบเท่าเกณฑ์สากล และตอบสนองต่อการบริหารปกครองอย่างมีประสิทธิภาพ
แนวคิดดังกล่าวเสนอโดย Osborne มองว่าสังคมเริ่มเข้าสู่วัฒนธรรมที่ เรียกว่า รัฐพหุลักษณ์ (pluralist) หมายถึง การรวมตัวขององค์การที่หลากหลายองค์การ ทั้งหน่วยงานของภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมและหน่วยงานที่ไม่แสวงหากำไร ซึ่งองค์การข้างต้นต้องมีการพึ่งพาอาศัยกันและกันเพื่อ ร่วมกันในการจัดหาบริการสาธารณะให้แก่ประชาชน ดังนั้น จุดเด่นของการจัดการธรรมาภิบาลสาธารณะแนวใหม่ NPG คือมุ่งเน้นค่านิยมในหลักของความเป็นพลเมือง ทำให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีบทบาทในการอำนวยความสะดวกและ มุ่งตอบสนองความต้องการของพลเมือง การใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่รัฐจะต้องอยู่ภายใต้ขอบเขตแนวคิด governance คือสามารถตรวจสอบได้
การบริหารงานคลัง หมายถึง การบริหารหรือการจัดการเกี่ยวกับกิจกรรมทางการคลังในด้านต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
โดยจะต้องวิเคราะห์ถึงประเด็น หรือตัวประเมินผล รวมทั้งกระบวนการตัดสินใจและระบบข้อมูลของหน่วยงานที่รับผิดชอบในด้านต่างๆ ดังกล่าว
เพื่อหาข้อมูลในประเด็นปัญหาแต่ละเรื่อง และเสนอแนะให้มีการแก้ไขปัญหาต่อไปแปรของการบริหารต่าง ๆ เช่น การจัดองค์การ การวางแผน
การกำหนดนโยบาย การอำนวยการ การประสานงาน ระบบการรายงาน การตรวจสอบควบคุม และการติดตาม
ระบบการบริหารงานคลัง หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมต่าง ๆ ในกระบวนการบริหารงานคลัง หรือ หมายถึง องค์ประกอบต่าง ๆ
ซึ่งรวมกันเป็นโครงสร้างของระบบการคลัง ซึ่งมีการดำเนินงานเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน มีระเบียบ แลกฎหมายต่างๆ
ที่กำหนดไว้ให้ถือปฏิบัติกิจกรรมทางการคลังที่สำคัญและมีระบบความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันมีอย่างน้อย 7 กิจกรรม คือ
1. การกำหนดนโยบาย และแผนการคลัง
2. การบริหารงบประมาณ
3. การบริหารการจัดเก็บรายได้ และการหารายได้
4. การบริหารเงินสะสม
5. การบริหารพัสดุ
6. การบัญชีและระบบข้อมูลทางการคลัง
7. การประเมินผลทางการคลัง
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ธรรมาภิบาลจัดเป็นแนวคิดสำคัญในการบริหารงานและการปกครองในปัจจุบัน เพราะโลกปัจจุบันได้หันไปให้ความสนใจกับเรื่องของโลกาภิวัตน์และธรรมาภิบาลหรือการบริหารจัดการที่ดี มากขึ้น แทนการสนใจเรื่องการพัฒนาอุตสาหกรรมดังแต่ก่อน เพราะกระแสการพัฒนาเศรษฐกิจมีความสำคัญกระทบถึงกัน การติดต่อสื่อสาร การดำเนินกิจกรรมในที่หนึ่งมีผลกระทบต่ออีกที่หนึ่ง การพัฒนาเรื่องของการเมืองการปกครองได้มุ่งให้ประชาชนเป็นศูนย์กลางมากขึ้น หากจะให้ประเทศมีการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน การมุ่งดำเนินธุรกิจ หรือปฏิบัติราชการต่างๆโดยไม่ให้ความสนใจถึงเรื่องของสังคม ประชาชน และสิ่งแวดล้อมจึงเป็นไปไม่ได้อีกต่อไป การมีการบริหารจัดการที่ดีจึงเข้ามาเป็นเรื่องที่ทุกภาคส่วนให้ความสำคัญและเริ่มมีการนำไปปฏิบัติกันมากขึ้น
ดังกล่าวแล้วธรรมาภิบาลหรือการบริหารจัดการที่ดี เป็นประเด็นที่อยู่ในความสนใจของประชาชน โดยเฉพาะข้าราชการ และพนักงานบริษัทเอกชนเพราะธรรมาภิบาลเป็นการบริหารงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตั้งมั่นอยู่บนหลักการบริหารงานที่เที่ยงธรรม สุจริต โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีจิตสำนึกในการทำงาน มีความรับผิดชอบในสิ่งที่ได้กระทำ พร้อมตอบคำถามหรือตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและพร้อมรับผิด มีศีลธรรม จริยธรรมในการทำงาน การคำนึงถึงการมีส่วนร่วมในการรับรู้ ตัดสินใจ ดำเนินการและประเมินผล ตลอดจนร่วมรับผลจากการตัดสินใจร่วมนั้น มีการส่งเสริมสถานภาพหญิงชาย และการให้ความสำคัญกับกลุ่มต่างๆ รวมทั้งคนด้อยโอกาส ตลอดจนการ สร้างความเท่าเทียมกันทางสังคมในการรับโอกาสต่างๆที่ประชาชนพึงจะได้รับจากรัฐอีกด้วย ธรรมาภิบาลเป็นทั้งหลักการ กระบวนการและเป็นเป้าหมายไปในตัว การมีธรรมาภิบาลอาจนำมาสู่การมีประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ได้ในที่สุดและการมีประชาธิปไตยก็นำมาสู่การมีผลทางสังคมคือการมีการพัฒนาประเทศไปในทางที่สร้างความสงบสุขอย่างต่อเนื่องและสถาพร ตลอดจนนำมาสู่การแก้ปัญหาความขัดแย้งต่างๆที่จะเกิดขึ้นได้โดยสันติวิธี
Adsimen 3
1. การจัดการปกครอง (Governance)
ในฐานะที่เป็นรูปแบบของการแทรกแซงสาธารณะ
ของอำนาจรัฐในการตัดสินใจ ดำเนินการบริหารที่ลดน้อยลง
เป็นการใช้กลไกตลาดและกึ่งตลาดในการส่งมอบบริการสาธารณะ ซึ่งเท่ากับว่ารัฐถูกลดบทบาทลง
โดย มีการแปรรูปการให้บริการต่างๆต่อสาธารณะ
2. การจัดการปกครอง (Governance) ในฐานะที่เป็นบรรษัทภิบาล
(CorporateGovernance) เป็นรูปแบบของการชี้นําและการควบคุมหน่วยงานให้บริการมีความสามารถในการรับผิดชอบ(Accountability)เปิดเผยข้อมูลและมีความซื่อสัตย์ในการบริหารงาน คือการที่
ภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทสำคัญการดำเนินธุรกิจที่มีทิศทางและควบคุมตรวจสอบการบริหารงานของผู้บริหาร องค์กรธุรกิจที่มีความรับผิดชอบทั้งงานของบริษัทและรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และ
สังคม
3. การจัดการปกครอง (Governance) ในฐานะที่เป็นการจัดการสาธารณะแบบใหม่
(New Public Management) คือ เน้นลัทธิการจัดการนิยม (Managerialism) และเศรษฐศาสตร์
เชิงสถาบันแนวใหม่
NewInstitutionalEconomin
ด้วยการเสนอให้การบริหารจัดการสาธารณะ
ที่รัฐบาลจะต้องการแข่งขันตอบสนองประชาชนเสมือนเป็นลูกค้ามากกว่าเป็นผู้ถูกปกครอง ผู้บริหาร
งานของรัฐมีบทบาทเช่นเดียวกับผู้ประกอบการ มีการแบ่งแยกตัดซอยระบบราชการเพิ่มการแข่งขันด้วยการจ้างเหมาและใช้กลไกกึ่งตลาด และเพิ่มทางเลือกให้กับผู้มารับบริการ
4. การจัดการปกครอง (Governance) ในฐานะที่เป็นการบริหารจัดการที่ดี(GoodGovernance) เป็นการจัดการที่เน้นประสิทธิภาพ ระบบการตัดสินใจ และกรอบกฎหมายมีอิสระ
ในการทำสัญญา การบริหารเงินทุนสามารถอธิบายได้ความรับผิดชอบของตัวแทน เคารพในกฎหมายและสิทธิมนุษยชน และมีโครงสร้างทางสถาบันที่หลากหลาย ที่ธนาคารโลกนำไปใช้กับประเทศ ด้อยพัฒนา
5. การจัดการปกครอง (Governance) ในฐานะที่เป็นระบบการเชื่อมโยงทางสังคม
(Socio-cybernetic System) ผ่านประเด็นนโยบายสาธารณะ เป็นการให้ความสำคัญกับการจำกัด
อำนาจส่วนกลาง เป็นสังคมที่ไร้ศูนย์กลางเพียงแหล่งเดียว แต่จะมีอยู่หลาย ๆ ที่และมีตัวแสดง ที่หลากหลายในบริบทของนโยบายสาธารณะ ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของภาครัฐที่จะกระตุ้นให้เกิด การรวมตัวกันของภาคส่วนต่างๆเพื่อมาแสดงพลังในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน อีกทั้งยังช่วยกันกำหนด
กติกาในการจัดการร่วมกันอีกด้วย
6. การจัดการปกครอง (Governance) ในฐานะที่เป็นเครือข่ายขององค์การที่จัดการดูแลได้ด้วยตนเอง (Self-organizing Network) เป็นการเปิดโอกาสให้มีตัวแสดงที่มากมายในการส่งมอบ
บริการภาครัฐทั้งฝ่ายรัฐ เอกชน และประชาชน ทำให้องค์กรต้องแลกเปลี่ยนทรัพยากรเพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายจึงต้องมีเครือข่าย โดยเครือข่ายไม่ได้มีเพียงภาครัฐ เครือข่ายเป็นความสัมพันธ์ทางสังคม ที่กว้างขวาง รวมถึงกระจายอำนาจให้รัฐบาลท้องถิ่นผ่านการจัดการเครือข่ายที่อยู่บนพื้นฐานของ
ความไว้วางใจ (Trust) และการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน หน่วยงานลักษณะนี้ต้องสามารถจัดการดูแล
ตนเองได้มิใช่มีความเป็นอิสระเพียงอย่างเดียว
โดยสรุป
การจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) เป็นวาทกรรมทางเลือก (AlternativeDiscourse)
ที่เปิดมุมมองทั้งทางทฤษฎีและวิธีการปฏิบัติงานของภาครัฐให้มีความชัดเจนและสอดรับ
กับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของสังคมโลกในศตวรรษที่ 21 การเปลี่ยนแปลงที่ทำให้การบริหารภาครัฐแบบดั้งเดิมที่ใช้ “กลไกราชการ” และแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) ที่ใช้ “กลไกตลาด” ในการบริหารงานอาจจะมีจุดอ่อน และไม่สามารถรับมือกับกระแสการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้
ได้ แนวคิด NPG ได้นำเสนอมุมมองในการวิเคราะห์และการทำความเข้าใจในกิจกรรมสาธารณะที่ไม่ได้มีภาครัฐเป็นเจ้าภาพผูกขาดอำนาจแต่เพียงฝ่ายเดียว ทั้งการกำหนดและการนำนโยบาย
สาธารณะไปสู่การปฏิบัติ การส่งมอบบริการสาธารณะและ/หรือกิจกรรมสาธารณะอื่น ๆ ล้วนแล้วแต่มีภาคส่วนและตัวแสดงอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากรัฐเข้ามามีส่วนร่วมด้วยทั้งสิ้น ทำให้กลายเป็นสังคมแบบ
พหุลักษณ์และพหุนิยม การเปลี่ยนแปลงบทบาทของภาครัฐตามแนวคิด NPG นี้ ทําให้รัฐมีสภาพที่เล็กลงด้วยอำนาจและภาระหน้าที่ แต่สังคมจะใหญ่ขึ้น (SmallerGovernment, Bigger Society) ดังนั้น
แนวคิด NPG จึงเป็นการใช้ “กลไกเครือข่ายและหุ้นส่วนภาคี” เป็นตัวขับเคลื่อนการดำเนินนโยบายสาธารณะและการส่งมอบบริการสาธารณะ
Assignment4
1.การจัดการและการคัดเลือกผู้นำา (Organizational Alignment and Leadership)
2.การจัดการนโยบายและการวางแผน (Policies and Processes)
3.การจัดการส่วนบุคคล (Personnel Management) และ
4.ข้อมูลข่าวสาร (Information)
4 .2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ปัจจัยความสำเร็จในการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังขององค์กร ต้นแบบที่ดีภาครัฐทั้ง 6 องค์กรส่วนใหญ่เป็นปัจจัยความสำเร็จในด้านรูปแบบ (Style) และด้านการจัดบุคคลเข้าทำงาน (Staff) ซึ่งประกอบด้วย
(1) การ เป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ (Style)
(2) การเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นและปัญหา (Style) และ
(3) มีกิจกรรมและการอบรมการน าหลักธรรมาภิบาลมา ใช้ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง (Staff)