หลักรัฐประศาสนศาสตร์ Module 3 ; ภาค/ปีการศึกษา 3/2564

การศึกษาประกอบร่วมกับการศึกษาในชั้นเรียน

ขอบเขตการศึกษา นักศึกษาศึกษาประเด็นต่าง ๆ ต่อไปนี้ 

1.องค์ประกอบและส่วนประกอบเชิงโครงสร้างของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่

2.ลักษณะร่วมและความต่างของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่กับการบริหารจัดการภาครัฐและการบริการภาครัฐ

3.ขอบเขตของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ในอนาคต

  

- พฤติกรรม
- บทบาทและความรับผิดชอบทางการบริหารตามแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่









     ก่อนตอบคำถามให้ศึกษาเอกสารให้เข้าใจ พร้อมทั้งกดติดตามและให้ใส่ชื่อ รูปภาพลงที่มุมกล่องข้อความเพื่อจะได้ทราบว่านักศึกษาคนใดเป็นผู้ตอบคำถาม และสามารถประเมินผลได้อย่างถูกต้อง (ดูตัวอย่างของภาคการศึกษาที่ผ่านมา)



      นักศึกษาศึกษาเอกสาร Video ที่นี่ 


      นักศึกษาทำ Assignment โดยเขียนลงในกล่องโต้ตอบ ซึ่งจะเขียนว่า  Post a Comment โดยคลิกที่รูป 💬 จะปรากฎ กล่องโต้ตอบ นักศึกษาเขียนในกล่องโต้ตอบและสามารถส่งได้โดย คลิกที่ Publish your comment

        Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง  

        Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน

        Assignment  3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง  
      
        Assignment 4. อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง


   นักศึกษานำเสนอความคิดและงานที่มอบหมายครั้งที่ 3 ผ่านฟอรั่มที่นี่ โดยแสดงความเห็นและนำเสนอได้อย่างมีอิสระทางความคิด โดยใช้ถ้อยคำที่เหมาะสมและไม่ละเมิดดูหมิ่นบุคคลใดๆ การนำเสนองานเป็นกลุ่มผ่านฟอรั่มจะมอบหมายใน Class  โดยห้ักศึกษานำเสนอความคิดเห็น  ประเด็น 

     
การเปลี่ยนปลงแนวคิดเก่าไปสู่รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ให้ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม บทบาท หน้าที่รับผิดชอบ ในการบริหารจัดการงาน

 ที่ฟอรั่มนี้ 
 


 
 

Comments

Assignment 1
กรอบแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ยุครัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่
รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (New Public Administration: NPA) จัดเป็นอีกแนวความคิด
ที่มีความส าคัญอย่างมาก ซึ่งได้ท้าท้ายแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์แบบดั้งเดิม อาทิเช่น
แนวคิดการเมืองแยกออกจากการบริหารที่ไม่สอดคล้องกับธรรมชาติของความเป็นจริงของสังคม โดย
แนวคิดดังกล่าวถือได้ว่ามีอิทธิพลอย่างมากต่อพัฒนาการของวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ในเวลา
ต่อมา ซึ่งจะได้กล่าวถึงในส่วนของเนื้อหารายละเอียดต่อไป
กล่าวได้ว่าผลกระทบจากการที่สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ได้รับในเวลาต่อมาจากการตกอยู่
ภายใต้อิทธิพลทางความคิดของส านักพฤติกรรมนิยมที่ส าคัญคือ 1) นักวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ได้
เริ่มน าระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตรสังคมและพฤติกรรมมาใช้ในงานวิจัยพื้นฐานของรัฐประศาสนศาสตร์เป็นส่วนใหญ่ จนขาดความเอาใจใส่ต่องานวิจัยประยุกต์ 2) การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้มุ่ง
ไปสู่ทิศทางของการวิจัยเชิงปริมาณมากขึ้น ในขณะที่ละเลยการวิจัยเชิงคุณภาพ กล่าวอีกนัยหนึ่ง การ
วิจัยส ารวจได้กลายเป็นรูปแบบวิจัยที่เปรียบเสมือนแก้วสารพัดนึกส าหรับการแสวงหาข้อมูลเพื่อตอบ
ปัญหาการวิจัยทุกปัญหาทางรัฐประศาสนศาสตร์ในขณะที่รูปแบบการวิจัยอื่นๆ ดังเช่น การวิจัยเชิง
ประวัติศาสตร์ การศึกษาเฉพาะกรณีจุลภาค และการวิจัยสนามซึ่งมีคุณลักษณะในการแสวงหาข้อมูล
เจาะลึกภายในองค์การกลับไม่ได้รับการประยุกต์ใช้เท่าที่ควร 3) นักวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ภายใต้
สำนักพฤติกรรมนิยมได้ทุ่มเทความสนใจไปสู่การสร้างทฤษฎีระดับสูงและทฤษฎีระดับกลางมากยิ่งกว่า
ทฤษฎีระดับล่าง ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์จึงควรมีลักษณะที่เป็นองค์ความรู้สากล ซึ่งไม่จ ากัดด้วย
วัฒนธรรม เวลา สถานการณ์ และระเบียบวิธีวิจัยทั้งที่ในความเป็นจริง ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
มักมีลักษณะที่อยู่ภายใต้ข้อจ ากัดต่างๆไม่น้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งของจ ากัดทางวัฒนธรรม ตัวอย่างเช่น
นักวิชาการชาวอเมริกันมักก าหนดให้ประสิทธิภาพขององค์การเป็นวัตถุประสงค์หลักของการบริหารรัฐ
กิจในขณะที่การบริหารรัฐกิจในประเทศก าลังพัฒนาเช่นประเทศไทยยึดถือระเบียบและแบบธรรมเนียม
เป็นวัตถุประสงค์หลัก เป็นต้น และ 4) สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์เริ่มได้รับการพัฒนาเข้าสู่ความ
เป็นสหวิทยาการมากยิ่งขึ้น ความเป็นสหวิทยาการมีส่วนท าให้นักวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์เกิด
ความรู้สึกว่า สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ตกอยู่ในสภาพ “เจ้าไม่มีศาล” หรือ “กษัตริย์ผู้ไร้บัลลังก์”
ความรู้สึกเป็นเจ้าของสาขาวิชาและความมั่นใจในตนเองของนักวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ถูกท้าทาย
และเริ่มมองว่าสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ก าลังเข้าสู่วิกฤตการณ์ทางเอกลักษณ
Assignment 2.
กรอบแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ถือเป็นปรัชญาการ
บริหารจัดการที่ภาครัฐน ามาใช้ตั้งแต่ในช่วงทศวรรษที่ 1980 มีลักษณะเป็นกระบวนทัศน์
ที่เป็นทางเลือกว่าเป็นกรอบแนวคิดที่ถูกน ามาใช้ในการบริหารงานภาครัฐในปัจจุบันได้เป็นอย่างดี และ
เป็นการเสนอหลักการบริหารจัดการที่สอดคล้องกับความเป็นจริงมากที่สุดในปัจจุบันนี้โดยเป็นการ
บริหารที่มีจุดมุ่งเน้นที่เป็นการบริหารงานที่เน้นวัตถุประสงค์ หรือผลสัมฤทธิ์ทั้งในแง่ของผลผลิต ความ
คุ้มค่าของเงิน รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพและการสร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการโดยน าเอาเทคนิค
วิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่เข้ามาใช้ และยังมุ่งเน้นให้ความส าคัญต่อการมีส่วนร่วมในการบริหาร
ราชการของประชาชนด้วย การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่จึงเป็นกระบวนทัศน์
ของการบริหารงานภาครัฐในปัจจุบันที่มีอิทธิพลต่อการปฏิรูปในหลายๆประเทศ
รวมทั้งประเทศไทยของเราด้วย ดังเช่น การปฏิรูประบบราชการในปี พ.ศ.
2545 ซึ่งท าให้การบริหารราชการไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของระบบ
ราชการครั้งใหญ่ เป็นการเปลี่ยนแปลงรากฐานการปกครอง นับตั้งแต่หน้าที่
บทบาทของรัฐ โครงสร้างอ านาจในระดับต่างๆ คือ รูปแบบองค์การ ระบบการ
บริหาร วิธีการท างาน ระบบงบประมาณ ระบบการบริหารบุคคล กฎหมาย
กฎระเบียบ วัฒนธรรม และค่านิยม ซึ่งการปฏิรูประบบราชการของประเทศ
ไทยในช่วงเวลาดังกล่าวนั้นกล่าวได้ว่าได้รับอิทธิพลทางความคิดมาจากการ
บริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
Assignment3
ทิศทางและแนวโน้มการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต
การศึกษารัฐประศาสนศาสนศาสตร์ทั้งสามยุคที่ได้อธิบายไว้ในข้างต้นนั้น ส่งผลให้ศาสตร์สาขาวิชาได้ถูก
พัฒนาและเกิดการทบทวนองค์ความรู้ในการอธิบายการบริหารงานภาครัฐ ท าให้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐ
นั้นได้ถูกจ าแนกตามจุดสนใจ ทั้งในด้านการค้นหาหลักการบริหารภาครัฐและการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัย
สืบเนื่องจากแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่นั้น ได้ขยายขอบเขตการศึกษาการบริหารงานของ
ภาครัฐให้กว้างขึ้น จนกระทั่งการการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลก ภายใต้อิทธิพลของแนวคิดการจัดการ
ภาครัฐแนวใหม่ ได้นามาสู่การศึกษาการบริการสารธารณะแนวใหม่เพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารภาครัฐ
โดยมุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการด าเนินสาธารณกิจต่างๆ ร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชนภายใต้
หลักการบริหารแบบประชาธิปไตย
ส่งผลให้ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งประเด็นไปที่การศึกษาหลักธรรมภิบาล ในการบริหารงานของภาครัฐ การจัดการแบบเครือข่าย เช่น องค์การ
ไม่แสวงหากำไร เป็นต้น และการบริหารจัดการองค์การร่วม
สมัย เช่น การสร้างความร่วมมือในองค์การ ทุนมนุษย์ นอกจากนี้แนวโน้มการศึกษาของสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต
ภายใต้บริบทการพัฒนาในยุคอุตสาหกรรมดิจิตอล ขอบเขตของการศึกษา
การบริหารงานภาครัฐจะขยายประเด็นไปถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการด าเนินสาธารณกิจของภาครัฐ เช่น
การจัดการข้อมูล การนาระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการด าเนินการบริหารงานภาครัฐ เป็นต้น
รวมไปถึงการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ
ดังนั้นทิศทางและแนวโน้มของการศึกษาการบริหารงานภาครัฐในอนาคต จะมุ่งสู่การศึกษาการ
บริหารงานที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนา และการสร้างการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการ
บริหารงานภาครัฐ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์การบริหารงานภาครัฐครอบคุลมในทุกมิติ ซึ่งผู้เขียนเห็นว่าการ
เปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนานี้ ส่งผลให้นักวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ต้องมีการปรับตัวและเรียนรู้
กระแสการพัฒนาที่มีความหลากหลาย และอาจน ามาด้วยการขาดความเชี่ยวชาญในองค์ความรู้ใหม่ที่จะน ามา
อธิบายหรือค้นหาหลักการบริหารงานภาครัฐ จนน ามาสู่วิกฤตอัตลักษณ์ด้านองค์ความรู้ของศาสตร์สาขาวิชา
รัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงจ าเป็นต้องยึดแนวทางการศึกษาประเด็นสาธารณะ
ร่วมสมัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการด าเนินงานของภาครัฐ เพื่อหลีกเลี่ยงวิกฤตติด้านองค์ความรู้ที่จะเกิดขึ้นใน
อนาคต
Assignment 4
หลักเกี่ยวกับหน้าที่ทางการบริหาร โดยกูลิก และ เออร์วิกได้น าเสนอหลักการบริหารงาน
ของฝ่ายบริหารหรือฝ่ายจัดการ ที่เรียกว่า POSDCoRB (อ่านว่า โพสคอร์บ) ที่ประกอบด้วยหลักการ
ส าคัญ 7 ประการ ไว้ดังนี้
1. Planning หมายถึง การวางแผน
2. Organizing หมายถึง การจัดองค์การ
3. Staffing หมายถึง การบริหารงานบุคคล
4. Directing หมายถึง การอ านวยการ
5. Coordinating หมายถึง การประสานงาน
6. Reporting หมายถึง การรายงาน
7. Budgeting หมายถึง การงบประมาณ
1.องค์ประกอบและส่วนประกอบเชิงโครงสร้างของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่
ตอบ ข้อ1
รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (NPA) นั้นมีสาระสำคัญและค่านิยมพื้นฐานที่คล้ายคลึงกันมากไม่ว่าจะเป็นการเน้นการมีส่วนร่วมของพลเมือง ความเป็นประชาธิปไตย บทบาทของนักบริหารรัฐกิจในการเปลี่ยนแปลงสังคมค่านิยมการบริหารที่ไม่ใช่เฉพาะเรื่องประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประหยัดเท่านั้น แต่ยังให้ความสำคัญกับเรื่องความเสมอภาคเป็นธรรม ความรับผิดชอบได้ จริยธรรมในการบริหาร ซึ่งความคล้ายคลึงกันนี้ทาให้มองได้ว่าแนวคิดทั้งสองเป็นกลุ่มแนวคิดเดียวกันเป็นแนวคิดเชิงปทัสถานที่ปฏิเสธปฏิฐานนิยมทางตรรกะ (anti-logicalpositivism) เหมือนกัน เพียงแต่ NPS มาขยายรายละเอียดของNPA เพิ่มขึ้นในหลายๆ ประเด็นเท่านั้น โดย NPS มีระดับในเรื่องการค้นหาความต้องการหรือความจาเป็นของพลเมือง ตลอดจนเรื่องประชาธิปไตยที่มีระดับที่เพิ่มมากขึ้นกว่าNPA และยังพบอีกว่า NPA ถือเป็นหนึ่งในแนวคิดที่เป็นรากฐานของNPS
สำหรับความแตกต่างระหว่างการบริการสาธารณะแนวใหม่(NPS) กับการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) นั้นมีอยู่หลายประเด็นที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงเพราะความตั้งใจของ NPS ในการเป็นแนวคิดหรือวาทกรรมเชิงวิพากษ์NPM ตั้งแต่ที่ NPS ไม่เห็นด้วยที่จะมองประชาชนเป็นลูกค้าเหมือนNPM แต่กลับเห็นว่าประชาชนคือพลเมืองที่ต้องการผลประโยชน์ของส่วนรวมหรือผลประโยชน์ระยะยาวมากกว่าผลประโยชน์ส่วนตนหรือผลประโยชน์ระยะสั้นในการบริการสาธารณะนักบริหารรัฐกิจก็เป็นเพียงผู้รับผิดชอบร่วมหาใช่ผู้ประกอบการหรือเจ้าของกิจการไม่ประสิทธิภาพและผลิตภาพไม่ใช่เรื่องที่มีความสำคัญมากไปกว่าความเสมอภาค เป็นธรรม และความรับผิดชอบได้ของภาครัฐโดยเห็นว่าค่านิยมในเรื่องความเป็นธรรม จริยธรรมและความรับผิดชอบได้ต่างหากที่เป็นเป้าหมายของการบริการสาธารณะการบริการของรัฐไม่ได้เป็นการส่งมอบสินค้าหรือบริการให้แก่พลเมืองเท่านั้นแต่มันคือการส่งมอบความเป็นประชาธิปไตยไปสู่พลเมือง
บทความทางวิชาการ ชื่อ The Pursuit of Significanceของ Denhardt นำเสนอว่าแท้จริงแล้วผลระโยชน์ของตนเองเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ภาครัฐไม่สามารถตอบสนองความต้องการแท้จริงของพลเมืองได้และเสนอว่าแนวทาง NPS จะตอบโจทย์เหล่านั้นได้โดยแก้ปัญหาการบริหารจัดการที่มุ่งเน้นให้คามสำคัญกบพลเมืองแบบประชาธิปไตยเป็นหลัก
จึงอาจสรุปได้ว่าแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS) เป็นแนวคิดเชิงปทัสถานเน้นการวิพากษ์และมีลักษณะเป็นวาทกรรม (discourse) ที่มีเป้าหมายของการนาเสนอเพื่อการวิพากษ์วิจารณ์แนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์อื่นๆโดยเฉพาะการวิพากษ์แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่(NPM) ซึ่งเป็นแนวคิดที่อาศัยรูปแบบการบริหารจากภาคเอกชนมาใช้ โดยประเด็นการวิพากษ์ที่สำคัญคือการจัดการภาครัฐแนวใหม่(NPM) ได้ทาให้เกิดช่องว่างในการบริหารภาครัฐ โดยเฉพาะในเรื่องของความชอบธรรมความสามารถรับผิดชอบได้ การตรวจสอบได้ ภาวะผู้นาและจริยธรรมในทางการบริหาร ซึ่งในหลายกรณีได้เบี่ยงเบนไปจากวิถีทางของประชาธิปไตยโดยเฉพาะในเรื่องของการอยู่นอกเหนือขอบเขตของหลักกฎหมายมหาชน การทุจริตเชิงนโยบายและความขัดแย้งต่อหลักผลประโยชน์สาธารณะการที่สวมวิญญาณผู้ประกอบการมาทำหน้าที่บริหารภาครัฐนั้นทาให้เกิดการมองประชาคนเป็นเพียงลูกค้าให้ความสำคัญเฉพาะการสร้างความพึงพอใจหรือผลประโยชน์เฉพาะหน้าในระยะสั้นๆ เท่านั้น
2.ลักษณะร่วมและความต่างของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่กับการบริหารจัดการภาครัฐและการบริการภาครัฐ
ตอบ ข้อ2
แนวทางการศึกษาและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) เป็นศาสตร์ท่ีพัฒนาข้ึนเพื่อศึกษาแนวทางการบริหารหาร งานของภาครัฐ ที่มีความเกี่ยวข้องกับสาธารณกิจ (Public Affairs) ซึ่งเป็นการดาเนินกิจกรรมในมิติต่าง ๆ ของ ภาครัฐ อันส่งผลกระทบกับประชาชนหรือส่วนรวม ในภายหลังเรียกได้ว่าเป็นการบริหารรัฐกิจ (public administration)เพื่ออธิบายกระบวนการบริหารกิจกรรมต่างๆของภาครัฐในการการดาเนินงาน สาธารณกิจ ดังนั้นองค์ความรู้ (body of knowledge) ของรัฐประศาสนศาสตร์จึงเก่ียวข้องกับการบริหารรัฐกิจและกระบวนการดาเนินกิจกรรมของภาครัฐในภาคปฏิบัติ ด้วยเหตุนี้แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ จึงสามารถถูกนาไปทดสอบและนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินกิจกรรมของภาครัฐได้ (เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, 2554: 5-6) ส่งผลให้แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์เกิดการท้าทายและทบทวนองค์ความรู้อยู่บ่อยคร้ัง ตามบริบทการบริหารที่เปล่ียนแปลงไปในแต่ละยุคสมัย เพ่ือให้เข้าใจในองค์ความรู้ของแนวคิดและทฤษฎีทาง รัฐประศาสนศาสตร์ ในบทความวิชาการนี้จึงเสนอประเด็นต่างๆท่ีเกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ ดังนี้
พัฒนาการและความเป็นมาของการศึกษารัฐประศานศาสตร์
หากพิจารณาถึงข้อเท็จจริงเชิงประวัติศาสตร์จะพบว่าการบริหารงานภาครัฐหรือการบริหารรัฐกิจ มี ประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนานควบคู่ไปกับการพัฒนาอารยธรรมของโลก โดยมีระบบการปกครองและระบบการ บริหารดาเนินไปอย่างเป็นพลวัต จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สะท้อนให้เห็นถึงความรุ่งเรืองของอาณาจักร ต่าง ๆ ในอดีต เช่น อารยธรรมอียิปต์ในการสร้างพีระมิดท่ีต้องอาศัยทรัพยากรและกาลังคนจานวนมาก สะท้อนให้ เห็นถึงความหลักแหลมในการบริหารของผู้ปกครอง หรืออารยธรรมจีนในช่วงของราชวงศ์ฮั่นระบบการบริหารก็ได้ เกิดข้ึน ในการคัดเลือกคนเข้ารับราชการโดยประยุกต์หลักคาสอนจากลัทธิขงจื้อมาดำเนินการคัดสรรคน ส่วนทางอารยธรรมยุโรประบบการบริหารได้ถูกพัฒนากฎเกณฑ์ขึ้นมาเพื่อควบคุมระเบียบวิธีการในการดาเนิน กิจการของภาครัฐ อย่างไรก็ตามองค์ความรู้ที่ใช้ในการบริหารในแต่ละอารยธรรมตามตามที่ได้กล่าวมานั้น ยังคง ไม่ได้ถูกพัฒนาเป็นศาสตร์ (science) เฉกเช่นในปัจจุบัน (จุมพล หนิมพานิช: 2562: 23-24)
จนกระทั่งมาถึงในช่วงยุคการล่าอาณานิคมปี ค.ศ. 1776 ความสนใจในการศึกษาการบริหารงานภาครัฐ ได้รับความสนใจมากข้ึน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นอดีตอาณานิคมของอังกฤษ เนื่องจากการ บริหารอาณานิคมประสบปัญหารูปแบบการบริหารท่ีใช้ในอังกฤษน้ัน ไม่สามารถนามาใช้ได้ในการบริหาร สหรัฐอเมริกา เม่ือภายหลังที่ได้มีการปฏิวัติเพื่อเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษแล้ว สหรัฐอเมริกาจึงต้องวางรากฐาน การบริหารให้สอดคล้องกับบริบทประเทศของตนเอง จนมาในช่วงปี ค.ศ. 1787 การโต้เถียงทางวิชาการใน ประเด็นการบริหารงานของภาครัฐได้รับความสนใจมากขึ้น โดยเป็นการถกเถียงทางความคิดระหว่างการมุ่ง ประสิทธิภาพการทางานกับการตอบสนองความต้องการของประชาชน จุดเร่ิมต้นของการศึกษารัฐประศาสน ศาสตร์(Public Administration)จึงถือกาเนิดขึ้นอย่างจริงจังเพื่อค้นหาหลักการบริหารสาหรับรัฐบาลใน ขณะนั้นและถูกพัฒนาต่อมาตามบริบทของยุคสมัย
บทสรุป
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ เป็นการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการบริหารงานภาครัฐครั้งสาคัญ โดยนาแนวคิดของภาคธุรกิจมาประยุกต์ใช้กับภาครัฐ เน้นสร้างผลิตภาพสูงสุด ประสิทธิภาพ ความ ประหยัด กลไกตลาด และการมีส่วนร่วม รวมถึงมีการวัดผลจากการปฏิบัติงาน หรือผลสัมฤทธ์ิ นอกจากนั้น ให้ความสาคัญกับการกระจายอานาจ การลดขนาดองค์การให้เล็กลง กะทัดรัด เปิด โอกาสให้มีการแข่งขัน เน้นประชาธิปไตย และความเสมอภาค รวมถึงการบริหารงบประมาณให้เกิด ความคุ้มค่าสูงสุด ตลอดจนมองประชาชนในฐานะลูกค้า หรือผู้รับบริการท่ีรัฐต้องมอบสินค้าหรือ บริการสาธารณะอย่างทั่วถึงและเหมาะสม แต่อย่างไรก็ตาม ประชาชนไม่ใช่เจ้าของสินค้า และไม่รู้สึก ว่าตนเป็นเจ้าของระบบราชการ เนื่องจากเช่ือว่า ประชาชนไม่เข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์สาธารณะ
ในอีกด้านหน่ึง แนวคิดดังกล่าว นับเป็นการพัฒนามุมมองการบริหารงานภาครัฐ และ ทัศนะในเชิงวิชาการเก่ียวกับศาสตร์สาขารัฐประศาสนศาสตร์จากยุคดั้งเดิมเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจาก แนวคิดในยุคดั้งเดิม เช่ือในเรื่องการรวมศูนย์ ระบบราชการที่มีขนาดใหญ่ มีสายการบังคับบัญชาท่ี ยาว ซึ่งผูกขาดอานาจไว้ท่ีระบบราชการ หรือตัวข้าราชการเป็นสาคัญ ยึดถือในกฎระเบียบ ข้อบังคับ ต่าง ๆ อย่างเคร่งครัด ไม่เน้นการแข่งขัน และไม่ได้ตระหนักถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน
3.ขอบเขตของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ในอนาคต

- พฤติกรรม
- บทบาทและความรับผิดชอบทางการบริหารตามแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่
ตอบ
ข้อ3
แนวทางการศึกษา กรอบแนวคิด และทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์
การที่จะศึกษาศาสตร์หรือแขนงวิชาการใดๆให้เข้าใจอย่างถ่องแท้นั้น ผู้ศึกษาจาเป็นจะต้องทา ความเข้าใจในแนวคิดและทฤษฎีต่างๆที่เก่ียวข้องกับศาสตร์นั้นๆเป็นเบื้องต้นเสียก่อน ทั้งน้ี เนื่องจาก แนวคิดและทฤษฎี1จะเป็นพื้นฐานสาคัญที่จะช่วยให้ผู้ศึกษาเข้าใจธรรมชาติของศาสตร์นั้นๆได้เป็นอย่าง ดี รัฐประศาสนศาสตร์ก็เช่นเดียวกันท่ีเป็นวิชาการทางด้านสังคมศาสตร์แขนงหนึ่งท่ีมีแนวคิดและทฤษฎี ที่เกิดจากการส่ังสมองค์ความรู้มาเป็นระยะเวลาช้านาน อย่างเป็นทางการก็ย้อนไปเม่ือปี ค.ศ. 1887 จากผลงานอันเล่ืองช่ือของวูดโรว์ วิลสัน (Woodrow Wilson) ที่มีชื่อว่าการศึกษาเกี่ยวกับการบริหาร (The Study of Administration) ซง่ึ ได้นาเสนอเรื่องแนวคิดการเมืองแยกออกจากการบริหาร (Politic- Administrative Dichotomy) ส่วนที่ไม่เป็นทางการ โดยเฉพาะในทางปฏิบัติก็นับตั้งแต่เร่ิม ประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ดังที่ไคเดน (Caiden, อ้างถึงในปุระชัย เป่ียมสมบูรณ์, 2552: 72) ได้กล่าว เอาไว้อย่างน่าสนใจว่า “รัฐประศาสนศาสตร์มีความเก่าแก่เท่ากับสังคมที่ศิวิไลซ์...นักปรัชญาเกือบทุก ท่านในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติได้แสดงความคิดเห็นบางประการเก่ียวกับธรรมชาติของการเมือง รัฐบาล และรัฐประศาสนศาสตร์ไม่ช่วงใดก็ช่วงหนึ่งของชีวิต รวมท้ังตารับตาราฉบับสาคัญทั้งหลายก็ได้ อุทิศหน้ากระดาษจานวนไม่มากก็น้อยเพื่อกล่าวถึงเรื่องสาธารณะหรือสะท้อนให้ประจักษ์ถึงธรรมชาติ ของรัฐประศาสนศาสตร์”ก่อนที่ในเวลาต่อมาจะมีผู้ให้ความสนใจศาสตร์แขนงนี้เพิ่มมากข้ึนโดยลาดับ
กล่าวโดยสรุป แนวทางการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์มีอยู่อย่างน้อย 3 แนวทางด้วยกันคือ แนวการศึกษาที่ใช้มิติของเวลา มีจุดเน้นที่สาคัญคือ การพรรณนาให้เห็นถึงแนวคิดและทฤษฎีรัฐ ประศาสนศาสตร์ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา แนวทางการศึกษาที่ใช้มิติของขอบเขตและจุดเน้น มีจุดเน้น ที่สาคัญคือ การศึกษาแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อตอบสนองปริมณฑลที่เป็นการ บริหารงานภาครัฐและตามจุดสนใจที่การบริหารงานภาครัฐให้ความสาคัญในขณะนั้น และแนวทางที่ใช้ มิติของหน่วยวิเคราะห์ มีจุดเน้นที่สาคัญคือ ความต่อเนื่องในการสร้างองค์ความรู้และการนาไปใช้เพื่อ สนับสนุนต่อการบริหารงานภาครัฐในแต่ละหน่วยการวิเคราะห์โดยตรง
อย่างไรก็ตาม ในที่ได้จากแนกกรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ออกเป็น 5 ยุค คือ 1) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคบุกเบิก 2) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสน ศาสตร์ในยุคโครงสร้างการหน้าที่ 3) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคพฤติกรรมนิยม 4) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุครัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ (New Public Administration: NPA) และ5) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคการบริหารจัดการ ภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM) ซึ่งเป็นการบูรณาการระหว่างแนวทางการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์ที่ใช้มิติของขอบเขตและจุดเน้น และแนวทางที่ใช้มิติของหน่วยวิเคราะห์เป็น แนวทางการศึกษาในครั้งนี้ ซึ่งจะได้กล่าวถึงในส่วนของรายละเอียดเป็นลำดับต่อไป
รัฐประศาสนศาสตร์หลังสมัยใหม่ การบริหารองค์การตามแนวทางการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ ดั้งเดิมเน้นการควบคุมบังคับบัญชา เหตุผลนิยม และความเชี่ยวชาญด้านเทคนิค ในการแสวงหาองค์ ความรู้ก็ใช้แนวทางเชิงประจักษ์ที่เน้นข้อเท็จจริงมากกว่าค่านิยม (focus on fact rather than value) ซึ่งแนวทางนี้ได้ครอบงาการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์มาตั้งแต่ตัวแบบเหตุผล (rational model) ของ Simon จนถึงการศึกษาแนวนโยบายศาสตร์ (policy science) แต่อย่างไรก็ตามในทาง สังคมศาสตร์ค่านิยมกับข้อเท็จจริงไม่อาจแยกจากกันได้และในการหลายกรณีได้พิสูจน์แล้วว่าค่านิยม สาคัญกว่าข้อเท็จจริงในการทาความเข้าใจพฤติกรรมและการกระทาของมนุษย์ เช่น ผลการศึกษา ทดลองที่ Hawthorne เมื่อแนวทางเชิงประจักษ์ถูกวิพากษ์วิจารณ์จึงต้องหาแนวทางใหม่ในการ แสวงหาความรู้ ซึ่งแนวทางหนึ่งก็คือการตีความ (interpretive approach) เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ ความเข้าใจในความหมายด้วยการวิพากษ์คุณค่า (value critical ) และวิเคราะห์วาทกรรม (discourse) แนวทางเหล่านี้สอดคล้องกับแนวคิดและอุดมการณ์หลังยุคสมัยใหม่ (postmodern) ที่ มุ่งเน้นการวิเคราะห์วาทกรรมมากกว่าการให้ความสาคัญในเรื่องวัตถุประสงค์ มาตรวัดหรือการ วิเคราะห์เหตุผล รัฐประศาสนศาสตร์หลังสมัยใหม่เห็นว่าในการบริหารปกครอง (governance) ต้องมี การตีความและวิเคราะห์วาทกรรมที่เปิดเผยและจริงใจระหว่างฝ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะ ระหว่างพลเมืองกับนักบริหารภาครัฐในลักษณะของการสนทนาและถกแถลงสาธารณะ (public dialogue and deliberation) เพื่อทาให้การบริหารรัฐกิจเกิดความเข้มแข็งและชอบธรรม
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
ตอบ ขัอ1
ผลการประชุมพอจะสรุปสาระสาคัญของแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ เกี่ยวกับความเป็นธรรมทางสังคมได้ดังนี้ (จิรโชค วีระสย, สุรพล ราชภัณฑารักษ์ และสุรพันธ์ ทับสุวรรณ์ , 2551: 477-478)
1. เห็นว่านักบริหาร (administrators) เป็นผู้ที่ปฏิบัติงานทั้ง 2 อย่าง คือกำหนดนโยบายและ บริหารนโยบาย ดังนั้น เรื่องนโยบายและการบริหารจึงควรเป็นเรื่องที่ต่อเนื่องกัน นักบริหารควรได้รับ การมอบหมายทั้งเรื่องการจัดการที่ดีและความเป็นธรรมในสังคม ซึ่งถือเป็นค่านิยม วัตถุประสงค์ หรือ เหตุผลร่วมกันของรัฐประศาสนศาสตร์
2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ห่วงใยเรื่องการเปลี่ยนแปลง คือ รัฐประศาสนศาสตร์จะต้อง พยายามแสวงหาหนทางที่จะเปลี่ยนแปลงนโยบายและโครงสร้างต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคขัดขวางความเป็น ธรรมในสังคม ทั้งนี้โดยมุ่งส่งเสริมวัตถุประสงค์ของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ คือ 1) การจัดการที่ดี 2) มีประสิทธิภาพ 3) ประหยัด และ 4) มีความเป็นธรรมทางสังคม
3. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีแนวโน้มที่จะศึกษาแบบทดลองหรือสนับสนุนรูปแบบของ การจัดองค์การราชการที่แก้ไขในแนวคิดบางประการ เช่น การกระจายอานาจการมอบอานาจลดหลั่น กันไปเป็นอันดับ โครงการสัญญาการฝึกอบรมแบบรับรู้ความต้องการต่างๆ อย่างที่เรียกว่าการขยาย ความรับผิดชอบ การเผชิญหน้า และการนาเอาผู้รับบริการเข้ามาร่วมด้วย ล้วนเป็นแนวความคิดที่เป็น ปฏิปักษ์กับระบบราชการในแง่ของสาระสาคัญทั้งสิ้น
4. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่สนับสนุนการปกครองโดยฝ่ายบริหารที่ไม่แต่เพียงพยายาม แสวงหาทางที่จะให้ฝ่ายบริหารปฏิบัติหน้าที่ในการกาหนดนโยบายตามอานาจที่ได้รับมอบให้เป็นผลสาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และประหยัดที่สุด แต่พึงพยายาม แสวงหาหนทางที่จะใช้ในการบริหาร นโยบาย เพื่อช่วยปรับปรุงคุณภาพของชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน
5. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ พยายามที่จะให้มีการมุ่งความสนใจไปที่ตัว ปัญหาและ พยายามพิจารณาทางเลือกต่างๆ ที่เป็นไปได้ในการเผชิญกับปัญหานั้นๆโดยสถาบัน เช่น ปัญหายาเสพ ติด ปัญหาอาชญากรรมเป็นต้นซึ่งนักรัฐประศาสนศาสตร์ได้พยายามที่จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงสถาบัน ต่างๆ หรือไม่ก็ปรับปรุงใหม่ให้เป็นสถาบันที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายกว่า โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ สามารถบรรลุถึงการแก้ปญัหาที่ใกล้เคียงความเป็นจริงมากกว่า
6. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่เน้นในส่วนที่เป็นราชการมากกว่าบริหารทั่วๆไปในการแก้ไข ปัญหา
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ
ข้อ2
แนวทางการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์
ในการศึกษากรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์มักมีการแบ่งในรูปของกระบวนทัศน์ หรือที่นิยมเรียกว่า พาราไดม์ (paradigm) ซึ่งยังคงเป็นปัญหามาตั้งแต่เร่ิมต้น เพราะไม่อาจชี้ให้เห็นได้ อย่างชัดเจนว่า กระบวนทัศน์ของนักวิชาการคนใดมีความถูกต้องและสมบูรณ์ครบถ้วนท่ีสุด เน่ืองจากใน
แต่ละยุคสมัยมีกระบวนทัศน์ต่อความรู้ความจริงแตกต่างกัน แนวคิดและทฤษฎีบางกลุ่มก็มีความเลื่อม ล้าทับซ้อนกันอยู่มาก ดังปรากฏให้เห็นว่ามีการจัดแบ่งออกในลักษณะที่แตกต่างกันออกไปในหลาย ลักษณะตามเกณฑ์ที่ใช้ในการจาแนกประเภท ดังนั้น จึงทาให้การศึกษากรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐ ประศาสนศาสตร์สามารถกระทาการศึกษาได้หลายแนวทางนั่นเอง เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ (2552: 38- 42) เห็นว่าแนวทางการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์มีอยู่อย่างน้อย 3 แนวทางด้วยกันคือ แนวการศึกษาที่ ใช้มิติของเวลา แนวทางการศึกษาที่ใช้มิติของขอบเขตและจุดเน้น และแนวทางที่ใช้มิติของหน่วย วิเคราะห์ ซึ่งจะได้กล่าวถึงในส่วนของรายละเอียดต่อไป
1.1 แนวการศึกษาที่ใช้มิติของเวลา แนวทางการศึกษาที่ใช้มิติของเวลา เป็นการศึกษา แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์โดยจาแนกตามช่วงเวลาที่เกิดขึ้น ซึ่งกรณีตัวอย่างที่ใช้มิติของ เวลา เช่น เช่น นิโคลัส เฮนรี่ (Nicholas Henry) พยายามชี้ให้เห็นว่า แนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสน ศาสตร์มีอยู่ 5 พาราไดม์ขอบเขตเนื้อหา คือ
1) พาราไดม์ 1 การแบ่งแยกการเมืองออกจากการบริหาร (The Politic/Administration Dichotomy) ปี ค.ศ.1900-1926
2) พาราไดม์ 2 หลักการบริหาร (The Principles of Administration) ปี ค.ศ.1927- 1937 พร้อมกันนี้ได้เกิดการท้าทายหลักการบริหาร (The Challenge) ขึ้นปี ค.ศ.1938-1947 และการ โต้ตอบการท้าทาย (Reaction to the Challenge) ในระหว่างปี ค.ศ.1947-1950
3) พาราไดม์ 3 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานที่เป็นส่วนหนึ่งของรัฐศาสตร์ (Public Administration as Political Science) ปี ค.ศ.1950-1970
4) พาราไดม์ 4 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะที่เป็นศาสตร์การบริหาร (Public Administration as Management) ปี ค.ศ.1956-1970
5) พาราไดม์ 5 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะที่เป็นศาสตร์การบริหารภาครัฐ (Public Administration as Public Administration) ปี ค.ศ.1970 เป็นต้นมา
ผลงานของนักวิชาการไทยได้แก่ พิทยา บวรวัฒนา ได้มีการนาแนวทางการศึกษาแนวคิดและ ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่ใช้มิติของเวลาเข้ามาใช้เป็นกรอบหรือแนวทางการศึกษา โดยเห็นว่ารัฐ ประศาสนศาสตร์ตะวันตกมีวิวัฒนาการมาแล้ว 4 ช่วงสมัยที่สาคัญคือ
1) สมัยทฤษฎีดั้งเดิม (ค.ศ.1887-1950) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษาเกี่ยวกับการ บริหารแยกออกจากการเมือง ระบบราชการ วิทยาศาสตร์การจัดการ และหลักการบริหาร
2) สมัยทฤษฎีท้าทายหรือวิกฤติด้านเอกลักษณ์ครั้งแรก (ค.ศ.1950-1960) ได้แก่ ทฤษฎี และแนวการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารคือการเมือง ระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ มนุษยสัมพันธ์ และศาสตร์การบริหาร
3) สมัยวิกฤติด้านเอกลักษณ์ครั้งที่สอง (ค.ศ.1960-1970) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษา เกี่ยวกับแนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ และรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่
4) สมัยทฤษฎีและแนวการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ (ค.ศ.1970-ปัจจุบัน) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษาเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ ทางเลือกสาธารณะ เศรษฐศาสตร์การเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงาน การจัดการแบบประหยัด ชีวิตองค์การ การออกแบบองค์การสมัยใหม่ และการวิจัยเรื่ององค์การ
ข้อดีและข้อจากัดของการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่ใช้มิติของเวลา ข้อดี คือ เป็นการนาเสนอที่ง่ายตามลาดับของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น โดยเพียงแค่พรรณนาถึงแนวคิดและทฤษฎี รัฐประศาสนศาสตร์ตามช่วงเวลาที่เกิดขึ้นเป็นลาดับไป แต่ข้อจากัดของการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีรัฐ ประศาสนศาสตร์ที่ใช้มิติของเวลาคือ แม้ว่าในช่วงเวลาหนึ่งๆจะมีแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ ที่สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันบ้างก็ตาม แต่ก็ไม่มีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ที่เป็นหนึ่งเดียวตลอด โดย ที่ในแต่ละช่วงสมัยหนึ่งๆอาจจะมีแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่มีจุดเน้นที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งจะไม่ทาให้เห็นความต่อเนื่องของแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่มีจุดเน้นเดียวกันในลักษณะ ที่เป็นพัฒนาการไป เช่น ไม่เห็นความต่อเนื่องของแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่เกี่ยวกับ โครงสร้างว่าได้เกิดขึ้นหรือมีพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์เป็นอย่างไร เริ่มตั้งแต่ การจัดโครงสร้างแบบระบบราชการจนมาถึงการจัดโครงสร้างที่เน้นตามภารกิจ เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว ข้อจากัดที่สาคัญอีกประการหนึ่งคือ เป็นแนวทางการศึกษาที่จากัดเฉพาะในแง่ขององค์ความรู้เป็นหลัก สาคัญ มิไดค้ ลอบคลุมถึงในภาคปฏิบัติของการนาไปใช
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง
ตอบ ข้อ3
การเปลี่ยนแปลงของโลกและวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจเป็นการเปลี่ยนแปลงทางบริบทที่ส่งผลต่อ การบริหารรัฐกิจเนื่องจากการตอบสนองต่อปัจจัยภายนอกประเทศเป็นหนึ่งภารกิจสาคัญของภาครัฐ เมื่อ พิจารณาจากเอกสารทางนโยบายจานวนไม่น้อยจะพบว่า ปัจจัยภายนอกต่าง ๆ เริ่มส่งผลกระทบต่อ กระบวนการนโยบายสาธารณะและแนวโน้มที่รายงานของ COCOPS เห็นว่า จะส่งผลต่อการบริหารรัฐกิจใน อนาคตคือ เรื่องของการเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างประชากรและการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ โดยเฉพาะ เรื่องของการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากรนั้นเป็นที่กล่าวกันว่าเป็นปัจจัยที่ได้รับการระบุมากที่สุดว่า จะเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารรัฐกิจ (Curry, 2014) เช่น อัตราว่างงานของประชากรอายุน้อย อัตราการ เกดิ ที่ลดจานวนลงซึ่งจะส่งผลต่อระบบบานาญ สาหรับเรื่องของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศนนั้ จะสง่ ผล ต่อประเด็นด้านการเงินและด้านสังคมของการบริหารภาครัฐ ทั้งเรื่องของการจัดการทรัพยากร ผลกระทบต่อ อุตสาหกรรม และแรงกดดันต่อโครงสร้างพื้นฐานและการพัฒนา รวมถึงพลังงานภายในสังคมเมือง
Robertson and Choi (2010) เห็นว่า จาเป็นต้องมีการปฏิรูปภาครัฐเพื่อปรับตัวตามแนวโน้มที่ เกิดขึ้นในสังคม โดยการยึดแนวทางเชิงนิเวศน์มากขึ้น ซึ่งแนวทางการบริหารรัฐกิจที่ยึดหลักนิเวศวิทยานั้นจะ เน้นไปที่การเชื่อมต่อถึงกัน ศักยภาพการจัดการตนเองขององค์การ และพลวัตของระบบการบริหารรัฐกิจ โดยที่การเปลี่ยนไปยึดหลักการบริหารเชิงนิเวศนี้จะส่งผลกระทบต่อเป้าหมาย การออกแบบ กระบวนการ และความสัมพันธ์ภายในการบริหาร
อีกหนึ่งบริบทที่สาคัญคือวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจของโลกที่ส่งผลต่อนโยบายของประเทศ ต่างๆ โดยทิศทางของนโยบายการเงินที่ตามจากวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจมุ่งไปที่การรวมตัวทางการเงิน ซึ่งความ จาเป็นนี้มาจากความจาเป็นเพื่อทาความตกลงและให้รายรับกับรายจ่ายมีความสมดุลกัน ผ่านการตัดลง รายจ่าย
ISS ได้ระบุถึงแนวโน้มในอนาคตที่จะส่งผลต่อการบริหารภาครัฐไว้ 12 ประการ อันได้แก่ 1) การ จัดการต่อการเปลี่ยนแปลงด้านประชากร 2) ความคาดหวังของผู้รับบริการ 3) การให้บริการรายบุคคลตาม ความต้องการเฉพาะ 4) การลงทุนในเทคโนโลยีและนวัตกรรม 5) การทาสัญญาแบบบูรณาการ 6) การจัดการภารกิจ 7) การเปลี่ยนบทบาทจากผู้ให้บริการเป็นผู้อานวยความสะดวก 😎 การจ้างบุคคลภายนอกเข้า มาให้บริการแทนรัฐ 9) ระบบการจ่ายรายได้มาจากผลการดาเนินงาน 10) การเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องมากขึ้น ของภาคส่วนอื่น ๆ 11) รัฐบาล และ 12) การเสริมสร้างพลัง vs รัฐบาลเงา
ในประเด็นการเปลี่ยนแปลงของวิชานั้น ในเอกสารของ Global Centre for Public Service Excellence ได้ระบุว่า นับแต่ปี 2000 เป็นต้นมา ตัวแบบของการบริหารรัฐกิจในประเทศต่าง ๆ มีแนวโน้มที่ จะใช้ตัวแบบ “การบริการสาธารณะยุคใหม่” (new public service) “การบริหารปกครองสาธารณะยุค ใหม่” (new public governance) หรือ “การจัดการภาครัฐหลังสมัยใหม่” (post- New Public Management) (Global Centre for Public Service Excellence, 2015)
การบริหารปกครองสาธารณะยุคใหม่ (new public governance) มีความแตกต่างไปแนวความคิด การจัดการสาธารณะยุคใหม่เนื่องจากการบริหารปกครองสาธารณะยุคใหม่ให้ความสนใจไปที่พลเมือง มากกว่ารัฐบาล Bourgon (2007) เรียกร้องให้ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์สร้างทฤษฎีฐานรากจากแนวคดิ เรื่องความเป็นพลเมืองและผลประโยชน์สาธารณะร่วมกันของพลเมือง ผ่านการให้พลเมืองเป็นผู้ร่วมกันสร้าง นโยบายสาธารณะ ในมิตินี้ Bourgon มองว่า จะต้องแยกพื้นที่นโยบายออกตามการเกิดขึ้นของผู้มีบทบาท ทางนโยบายและเขตอานาจพร้อมกับการพึ่งพาอาศัยระหว่างกันของฝ่ายต่าง ๆ เหล่านั้นทั้งในนโยบายระดับ โลก ระดับประเทศและระดับท้องถิ่น แนวทางการบริหารปกครองสาธารณะยุคใหม่นี้ยังมุ่งเน้นไปที่ ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การและการบริหารปกครองกระบวนการ ต่าง ๆ ซึ่งจาต้องอาศัยกลไกของความ ไว้วางใจ ทุนทางความสัมพันธ์และสัญญาเป็นกลไกหลักในการบริหารปกครอง
Assignment 4. อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ ข้อ4
การที่จะศึกษาศาสตร์หรือแขนงวิชาการใดๆให้เข้าใจอย่างถ่องแท้นั้น ผู้ศึกษาจาเป็นจะต้องทา ความเข้าใจในแนวคิดและทฤษฎีต่างๆที่เก่ียวข้องกับศาสตร์นั้นๆเป็นเบื้องต้นเสียก่อน ทั้งน้ี เนื่องจาก แนวคิดและทฤษฎี1จะเป็นพื้นฐานสาคัญที่จะช่วยให้ผู้ศึกษาเข้าใจธรรมชาติของศาสตร์นั้นๆได้เป็นอย่างดีรัฐประศาสนศาสตร์ก็เช่นเดียวกันท่ีเป็นวิชาการทางด้านสังคมศาสตร์แขนงหนึ่งท่ีมีแนวคิดและทฤษฎี ที่เกิดจากการส่ังสมองค์ความรู้มาเป็นระยะเวลาช้านาน อย่างเป็นทางการก็ย้อนไปเมื่อปี ค.ศ. 1887 จากผลงานอันเลื่องช่ือของวูดโรว์ วิลสัน (Woodrow Wilson) ที่มีชื่อว่าการศึกษาเกี่ยวกับการบริหาร (The Study of Administration) ซึ้ง ได้นาเสนอเรื่องแนวคิดการเมืองแยกออกจากการบริหาร (Politic- Administrative Dichotomy) ส่วนที่ไม่เป็นทางการ โดยเฉพาะในทางปฏิบัติก็นับตั้งแต่เร่ิม ประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ดังที่ไคเดน (Caiden, อ้างถึงในประชัย เปี่ยมสมบูรณ์, 2552: 72) ได้กล่าว เอาไว้อย่างน่าสนใจว่า “รัฐประศาสนศาสตร์มีความเก่าแก่เท่ากับสังคมที่ศิวิไลซ์...นักปรัชญาเกือบทุก ท่านในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติได้แสดงความคิดเห็นบางประการเก่ียวกับธรรมชาติของการเมือง รัฐบาล และรัฐประศาสนศาสตร์ไม่ช่วงใดก็ช่วงหนึ่งของชีวิต รวมท้ังตารับตาราฉบับสาคัญทั้งหลายก็ได้ อุทิศหน้ากระดาษจานวนไม่มากก็น้อยเพื่อกล่าวถึงเรื่องสาธารณะหรือสะท้อนให้ประจักษ์ถึงธรรมชาติ ของรัฐประศาสนศาสตร์”ก่อนที่ในเวลาต่อมาจะมีผู้ให้ความสนใจศาสตร์แขนงนี้เพิ่มมากข้ึนโดยลำดับ
แนวทางการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์
ในการศึกษากรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์มักมีการแบ่งในรูปของกระบวนทัศน์ หรือที่นิยมเรียกว่า พาราไดม์ (paradigm) ซึ่งยังคงเป็นปัญหามาตั้งแต่เร่ิมต้น เพราะไม่อาจชี้ให้เห็นได้ อย่างชัดเจนว่า กระบวนทัศน์ของนักวิชาการคนใดมีความถูกต้องและสมบูรณ์ครบถ้วนท่ีสุด เน่ืองจากในแต่ละยุคสมัยมีกระบวนทัศน์ต่อความรู้ความจริงแตกต่างกัน แนวคิดและทฤษฎีบางกลุ่มก็มีความเลื่อม ล้าทับซ้อนกันอยู่มาก ดังปรากฏให้เห็นว่ามีการจัดแบ่งออกในลักษณะที่แตกต่างกันออกไปในหลาย ลักษณะตามเกณฑ์ที่ใช้ในการจาแนกประเภท ดังนั้น จึงทาให้การศึกษากรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐ ประศาสนศาสตร์สามารถกระทาการศึกษาได้หลายแนวทางนั่นเอง เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ (2552: 38- 42) เห็นว่าแนวทางการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์มีอยู่อย่างน้อย 3 แนวทางด้วยกันคือ แนวการศึกษาที่ ใช้มิติของเวลา แนวทางการศึกษาที่ใช้มิติของขอบเขตและจุดเน้น และแนวทางที่ใช้มิติของหน่วย วิเคราะห์ ซึ่งจะได้กล่าวถึงในส่วนของรายละเอียดต่อไป
กล่าวโดยสรุป แนวทางการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์มีอยู่อย่างน้อย 3 แนวทางด้วยกันคือ แนวการศึกษาที่ใช้มิติของเวลา มีจุดเน้นที่สาคัญคือ การพรรณนาให้เห็นถึงแนวคิดและทฤษฎีรัฐ ประศาสนศาสตร์ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา แนวทางการศึกษาที่ใช้มิติของขอบเขตและจุดเน้น มีจุดเน้น ที่สาคัญคือ การศึกษาแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อตอบสนองปริมณฑลที่เป็นการ บริหารงานภาครัฐและตามจุดสนใจที่การบริหารงานภาครัฐให้ความสาคัญในขณะนั้น และแนวทางที่ใช้ มิติของหน่วยวิเคราะห์ มีจุดเน้นที่สาคัญคือ ความต่อเนื่องในการสร้างองค์ความรู้และการนาไปใช้เพื่อ สนับสนุนต่อการบริหารงานภาครัฐในแต่ละหน่วยการวิเคราะห์โดยตรงอย่างไรก็ตามในที่นี้ได้จำแนกกรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ออกเป็น 5 ยุค คือ 1) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคบุกเบิก 2) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสน ศาสตร์ในยุคโครงสร้างการหน้าที่ 3) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคพฤติกรรมนิยม 4) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุครัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ (New Public Administration: NPA) และ5) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคการบริหารจัดการ ภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM) ซึ่งเป็นการบูรณาการระหว่างแนวทางการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์ที่ใช้มิติของขอบเขตและจุดเน้น และแนวทางที่ใช้มิติของหน่วยวิเคราะห์เป็น แนวทางการศึกษาในครั้งนี้ ซึ่งจะได้กล่าวถึงในส่วนของรายละเอียด
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) เป็นคำที่มีการนิยามอธิบายถึงความหมายในสองด้าน ด้านแรกเป็นคำท่ีใช้อธิบายถึงศาสตร์สาขาวิชาการบริหารของภาครัฐในเชิงวิชาการ ซึ่งนิยมเรียกว่า รัฐประศาสนาศาสตร์ และด้านที่สองเป็นคำที่ใช้ในการอธิบายการปฏิบัติงานหรือปรากฏการณ์ที่เก่ียวข้องกับการ บริหารงานของรัฐบาล ซึ่งนิยมเรียกว่า การบริหารภาครัฐ
แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM) เป็นการบริหารงานที่ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ มีมาตรฐานวัดได้ ใช้กลไกการตลาดเปิดโอกาสในการแข่งขันทั้งภาคเอกชนและภาค ประชาชนในการเข้าร่วมการลงทุนอย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ การให้บริการที่ตอบสนองต่อความ ต้องการของประชาชน ดังนั้นเพื่อให้ระบบราชการมีความสอดคล้องกับแนวคิดการปฏิรูประบบราชการ ควรมีลักษณะ คือ รัฐจะมีบทบาทหน้าที่เฉพาะในส่วนที่จำเป็นจะต้องทำเท่านั้นเพื่อเปิดโอกาสให้ ประชาชนและชุมชนมีบทบาทมากขึ้น มีการบริหารจัดการภายในภาคราชการที่มีความรวดเร็ว
คุณภาพสูง และมีประสิทธิภาพ มีการจัดองค์กรที่มีความกะทัดรัดคล่องตัวและปรับเปลี่ยนได้อย่าง รวดเร็ว เน้นการทางานที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือตามลักษณะของการทางานที่ทันสมัย ใช้อุปกรณ์ที่ เหมาะสมต่อการทางาน มีการพัฒนาสมรรถนะข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีคุณภาพสูง ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ทางานมุ่งผลสัมฤทธิ์โดยมีประชาชนเป็นเป้าหมาย มีกลไกการบริหารงานบุคคล ที่หลากหลาย มีระบบค่าตอบแทนที่เป็นธรรมเพื่อเปิดโอกาสให้บุคคลที่มีความรู้ความสามารถเต็มใจ มารับราชการอย่างมืออาชีพ มีวัฒนธรรมองค์กรและมีบรรยากาศในการทางานแบบมีส่วนร่วม มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ (พัชราวลัย ศุภภะ, 2562)

สรุป รัฐประศาสนศาสตร์มีบทบาทอย่างมากเพื่อดำเนินการขับเคลื่อนการปฏิรูประบบราชการไทย ได้มีการประยุกต์ใช้เป็นหลักคิด หลักปฏิบัติ โดยมีเป้าประสงค์ หลักของการพัฒนาระบบราชการไทย คือ พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้น ปรับบทบาท ภารกิจให้มีความเหมาะสม ยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทางานให้เทียบเท่าเกณฑ์สากล และตอบสนองต่อการบริหารปกครองอย่างมีประสิทธิภาพ หากเราไม่มีแนวคิดนี้แล้ว ยิ่งประเทศไทยเป็นระบบอุปถัมภ์ด้วยแล้ว ยิ่งทำให้ข้าราชการส่วนมากมักทำผิด เพราะส่วนใหญ่จะเป็นพวกกัน เวลาผิดมาก็จะช่วยเหลือกัน ทำให้กฎหมายทำไรไม่ได้ เกิดการทุจริตคอรัปชั่นต่างๆ
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ลักษณะสาคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ แม้จะมีนักวิชาการแสดงทัศนะไว้อย่าง หลากหลาย แต่นักวิชาการรุ่นแรก ๆ ที่นาเสนอแนวคิดนี้ได้อย่างครอบคลุมที่สุดคือ โจนาธาน บอสตัน (Jonathan Boston) และคณะ (ทศพร ศิริสัมพันธ์, 2551) โดยสรุปลักษณะสาคัญของ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ 10 ประการ ดังต่อไปนี้
1) มีความเชื่อว่าการบริหารงานมีลักษณะความเป็นสากลสภาพ หรือไม่มีความแตกต่าง อย่างเป็นนัยสาคัญระหว่างการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชน และการบริหารงานภาครัฐ
2) ปรับเปลี่ยนการให้น้าหนักความสาคัญจากเดิมที่มุ่งเน้นการควบคุมทรัพยากร
และกฎระเบียบ เป็นเรื่องของการควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์ หรือปรับเปลี่ยนจากการให้ความสาคัญ ในภาระรับผิดชอบต่อกระบวนงาน (Process Accountability) ไปสู่ภาระรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธิ์ (Accountability for result)
3) ให้ความสาคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกาหนดนโยบาย
4) โอนถ่ายอานาจการควบคุมของหน่วยงานส่วนกลาง (Devolution of Centralized Power) เพื่อให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน
5) ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่โดยแบ่งออกเป็น 3 ภารกิจ ได้แก่ 1. งานเชิงพาณิชย์ (การกากับดูแล ควบคุม) 2. งานเชิงพาณิชย์ (การกากับดูแล ควบคุม) และ 3. งานเชิงนโยบายและการให้บริการ เพื่อให้องค์การมีขนาดเล็กลงในรูปแบบของหน่วยงานอิสระใน กากับ
6) เน้นการบริหารกิจการของรัฐเป็นรูปแบบเอกชนและให้มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอก
(Outsourcing) รวมทั้งบูรณาการวิธีการจัดจ้างและการประมูลงาน (Competitive Tendering) เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและลดต้นทุน
7) บุคลากรของภาครัฐในเรื่องการทาสัญญาจ้างปรับให้เป็นระยะสั้น กาหนดเงื่อนไข ข้อตกลงให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบได้
8) นารูปแบบการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชนที่ประสบความสาเร็จมาประยุกต์ใช้ เช่น การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารคุณภาพเชิงรวม การจ่ายรางวัลค่าตอบแทนตามผลงาน การจัด จ้างบุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวเฉพาะกิจ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการบริหารงาน
9) มีการสร้างแรงจูงใจในองค์การ เช่น การจ่ายตอบแทนในรูปของตัวเงินมากขึ้นเพื่อ เป็นรางวัล (Monetary Incentives)
10) พยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต เพื่อให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณที่คุ้มค่า (ทศพร ศิริสัมพันธ์, 2551)
สรุป
การพัฒนาระบบราชการที่ผ่านมาได้นาแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่มาปรับใช้ โดยมีเหตุผลหลักที่สาคัญจากปัญหาของระบบราชการไทยที่มีหลายประการและสั่งสมมานาน และ กระแสโลกาภิวัตน์ส่งผลให้สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกประเทศ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ การลดความเหลื่อมล้าที่เน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืน และทั่วถึงเป็นธรรม การเติบโตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม ภายใต้ปัจจัยด้านต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลงในสภาวะแวดล้อมของประเทศ ความต้องการและความคาดหวังต่อการได้รับบริการจากภาครัฐเพิ่มสูงขึ้น ตลอดจนการมุ่งแก้ไขปัญหาที่ สั่งสมมาของระบบราชการไทยในเรื่องโครงสร้างนวัตกรรม กฎหมาย กฎระเบียบ ที่เป็นอุปสรรค และ ซ้าซ้อนไม่ทันสมัย
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง
จะขยายไปสู่ความเป็น
-ประชาธิปไตย
-ความเป็นธรรม
เช่น ผู้พิพากษาตัดสินคดีตามหลักฐาน ไม่กลัวอำนาจอิทธิพล หรือเงินตรา
-การให้ความสำคัญกับหลักความรับผิดชอบได้ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง และการคำนึงถึงการกระจายผลประโยชน์สาธารณะไปสู่สังคมและชุมชนโดยให้ คุณค่ากับกระบวนการการมีส่วนร่วมกับภาคพลเมืองไม่ยึดติดแต่กับพวกพ้อง
Assignment 4. อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
อิทธิพลของแนวคิดการจัดการ ภาครัฐแนวใหม่ ได้นำมาสู่การศึกษาการบริการสารธารณะแนวใหม่เพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารภาครัฐ โดยมุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการดำเนินสาธารณกิจต่างๆ ร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชนภายใต้ หลักการบริหารแบบประชาธิปไตย
ส่งผลให้ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งประเด็นไปท่ีการศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) ในการบริหารงานของภาครัฐ การจัดการแบบเครือข่าย (network governance) เช่น องค์การ ไม่แสวงหากพไร (nonprofit organization) อาสาสมัคร(volunteer) เป็นต้น และการบริหารจัดการองค์การร่วม สมัย (contemporary organization theory) เช่น การสร้างความร่วมมือในองค์การ (collaboration) ทุนมนุษย์ (human capital) นอกจากน้ีแนวโน้มการศึกษาของ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ภายใต้บริบทการพัฒนาในยุคอุตสาหกรรมดิจิตอล ขอบเขตของการศึกษา การบริหารงานภาครัฐจะขยายประเด็นไปถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการดำเนินสาธารณกิจของภาครัฐ เช่น การจัดการข้อมูล การนำระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการดำเนินการบริหารงานภาครัฐ (e-government) เป็นต้น รวมไปถึงการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
Gruening (2001) ได้กล่าวถึงทฤษฎีทางเลือกสาธารณะ
เป็นไปในทิศทางเดียวกันว่า แนวคิดนี้เน้นอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมจากการศึกษาพฤติกรรมของปัจเจกชน และเชื่อว่า คนแต่ละคนมีเป้าหมายเป็นของตนเอง และมักกระทำเฉพาะในสิ่งที่ตนเองชอบ อย่างไรก็ตามพฤติกรรมที่มีเหตุผลไม่ได้หมายถึงการไขว่คว้าให้ได้มาซึ่งประโยชน์สูงสุด แต่เป็นการที่บุคคลได้ทำตามเป้าหมายที่ตนเองวางไว้ ซึ่งขึ้นอยู่กับความรู้ ความเข้าใจ สถานการณ์ บริบทที่แต่ละคนต้องเผชิญ ทั้งนี้ แนวคิดทางเลือกสาธารณะมีจุดเริ่มต้นมาจากการก่อตั้งศูนย์การศึกษาปรัชญาการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โทมัส เจฟเฟอร์สัน (Thomas Jefferson Center for Studies in Political Economy and Social Philosophy) โด ย Jame Buchanan แ ล ะ Warren Nutterณ มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นเวทีสำหรับนักวิชาการได้แสดงความคิดเห็นบนพื้นฐานของเสรีภาพส่วนบุคคล และให้ความสนใจกับการใช้ระเบียบวิธีวิเคราะห์แบบปัจเจกบุคคลนิยมมาเป็นพื้นฐานสำหรับสร้างทฤษฎี จุดสำคัญของทฤษฎีทางเลือกสาธารณะ คือ การตระหนักถึงคุณค่าของความเป็นปัจเจกชน กล่าวคือ ยอมรับว่า ปัจเจกชนมีความชอบ (Individual Preference) และการให้ปัจเจกชนมีเสรีในการเลือก (Free Choice of Individuals) ปรากฏการณ์ที่นักวิชาการได้วิพากษ์วิจารณ์เพื่อสนับสนุนแนวคิดนี้ เช่น มองว่า ประชาธิปไตยแบบตัวแทนเน้นที่เสียงข้างมาก หรือเสียงส่วนใหญ่
จะนำไปสู่การเอาเปรียบคนส่วนน้อยโดยคนส่วนใหญ่ ประกอบกับเป็นการสิ้นเปลืองทรัพยากรอย่างมาก เพราะต้องจัดสวัสดิการเพื่อคนส่วนใหญ่ ในมุมกลับกันคนส่วนน้อยต้องจ่ายค่าสวัสดิการแม้จะไม่ได้รับผลประโยชน์ด้วยก็ตาม นอกจากนั้น การทำงบประมาณแบบดั้งเดิม โดยผ่านคณะกรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎรและฝ่ายบริหาร เป็นอีกประเด็นหนึ่งที่น าไปสู่การใช้ทรัพยากรต่าง ๆ อย่างสิ้นเปลือง และผลประโยชน์ตกอยู่กับเฉพาะคนบางกลุ่มเท่านั้น ขณะที่คนบางกลุ่มต้องเสียประโยชน์จากผลในแง่ลบของแนวคิดแบบดั้งเดิมดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น กลุ่มทฤษฎีทางเลือกสาธารณะจึงเสนอกลไกต่อต้านการเอาเปรียบ ซึ่งนับเป็นการปฏิรูปการบริหารงานภาครัฐจากเดิมที่เน้นการรวมศูนย์อ านาจ มาสู่ระบบการบริหารที่มีหลายศูนย์ (Polycentric Administrative System)เนื่องจากเชื่อว่า การกระจายอ านาจจะส่งผลให้ระบบต่าง ๆ สามารถท าหน้าที่ได้อย่างดีที่สุด โดยแต่
ละศูนย์มีสิทธิในการจัดหาและการผลิต มีการแข่งขันกันในการให้บริการไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ หรือภาคเอกชน รวมถึงมีระบบการเงินที่โปร่งใส โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นแนวคิดที่เปิดโอกาสให้ประชาชนในฐานะลูกค้าได้มีสิทธิเลือกตามความต้องการของตน กล่าวคือ ให้ความสำคัญกับความเป็นปัจเจกบุคคล ซึ่งมีลักษณะ หรือคุณสมบัติ 5 ประการ ได้แก่ (1) ถูกจูงใจไปทางใดทางหนึ่งโดยพิจารณาจากประโยชน์ส่วนตนเป็นหลัก (2) มีความเป็นเหตุเป็นผลในการจัดล าดับทางเลือกต่างๆ (3) มีข้อมูลสนับสนุนเกี่ยวกับผลของการเลือกทางเลือกที่แตกต่างกัน (4) สามารถเลือกบริบทที่อยู่ภายใต้กรอบที่จะนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายนั้นๆ และ (5) สามารถเลือกกลยุทธ์ที่จะนำไปสู่การได้รับผลประโยชน์สูงสุด
ทิศทางและแนวโน้มของการศึกษาการบริหารงานภาครัฐในอนาคต จะมุ่งสู่การศึกษาการ
บริหารงานที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนา และการสร้างการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการบริหารงานภาครัฐ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์การบริหารงานภาครัฐครอบคุลมในทุกมิติ ซึ่งผู้เขียนเห็นว่าการเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนานี้ ส่งผลให้นักวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ต้องมีการปรับตัวและเรียนรู้กระแสการพัฒนาที่มีความหลากหลาย และอาจนำมาด้วยการขาดความเชี่ยวชาญในองค์ความรู้ใหม่ที่จะน ามาอธิบายหรือค้นหาหลักการบริหารงานภาครัฐ จนน ามาสู่วิกฤตอัตลักษณ์ด้านองค์ความรู้ของศาสตร์สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงจ าเป็นต้องยึดแนวทางการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการด าเนินงานของภาครัฐ เพื่อหลีกเลี่ยงวิกฤตติด้านองค์ความรู้ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ลักษณะสำคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ 10 ประการ ดังต่อไปนี้
1) มีความเชื่อว่าการบริหารงานมีลักษณะความเป็นสากลสภาพ หรือไม่มีความแตกต่าง อย่างเป็นนัยสาคัญระหว่างการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชน และการบริหารงานภาครัฐ
2) ปรับเปลี่ยนการให้น้าหนักความสาคัญจากเดิมที่มุ่งเน้นการควบคุมทรัพยากร
และกฎระเบียบ เป็นเรื่องของการควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์ หรือปรับเปลี่ยนจากการให้ความสาคัญ ในภาระรับผิดชอบต่อกระบวนงาน (Process Accountability) ไปสู่ภาระรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธิ์ (Accountability for result)
3) ให้ความสาคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกาหนดนโยบาย
4) โอนถ่ายอานาจการควบคุมของหน่วยงานส่วนกลาง (Devolution of Centralized Power) เพื่อให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน
5) ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่โดยแบ่งออกเป็น 3 ภารกิจ ได้แก่ 1. งานเชิงพาณิชย์ (การกากับดูแล ควบคุม) 2. งานเชิงพาณิชย์ (การกากับดูแล ควบคุม) และ 3. งานเชิงนโยบายและการให้บริการ เพื่อให้องค์การมีขนาดเล็กลงในรูปแบบของหน่วยงานอิสระใน กากับ
6) เน้นการบริหารกิจการของรัฐเป็นรูปแบบเอกชนและให้มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอก
(Outsourcing) รวมทั้งบูรณาการวิธีการจัดจ้างและการประมูลงาน (Competitive Tendering) เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและลดต้นทุน
7) บุคลากรของภาครัฐในเรื่องการทาสัญญาจ้างปรับให้เป็นระยะสั้น กาหนดเงื่อนไข ข้อตกลงให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบได้
8) นารูปแบบการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชนที่ประสบความสาเร็จมาประยุกต์ใช้ เช่น การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารคุณภาพเชิงรวม การจ่ายรางวัลค่าตอบแทนตามผลงาน การจัด จ้างบุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวเฉพาะกิจ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการบริหารงาน
9) มีการสร้างแรงจูงใจในองค์การ เช่น การจ่ายตอบแทนในรูปของตัวเงินมากขึ้นเพื่อ เป็นรางวัล (Monetary Incentives)
10) พยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต เพื่อให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณที่คุ้มค่า
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง
การศึกษารัฐประศาสนศาสนศาสตร์ทั้งสามยุคที่ได้อธิบายไว้ในข้างต้นนั้น ส่งผลให้ศาสตร์สาขาวิชาได้ถูกพัฒนาและเกิดการทบทวนองค์ความรู้ในการอธิบายการบริหารงานภาครัฐ ทำให้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐนั้นได้ถูกจำแนกตามจุดสนใจ ทั้งในด้านการค้นหาหลักการบริหารภาครัฐและการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัยสืบเนื่องจากแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่นั้น ได้ขยายขอบเขตการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐให้กว้างขึ้น จนกระทั่งการการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลก ภายใต้อิทธิพลของแนวคิดการจัดการ
ภาครัฐแนวใหม่ ได้น ามาสู่การศึกษาการบริการสารธารณะแนวใหม่เพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารภาครัฐ โดยมุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการดำเนินสาธารณกิจต่างๆ ร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชนภายใต้หลักการบริหารแบบประชาธิปไตยส่งผลให้ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งประเด็นไปที่การศึกษาหลักธรรมภิบาล (goodgovernance) ในการบริหารงานของภาครัฐ การจัดการแบบเครือข่าย (network governance) เช่น องค์การไม่แสวงหากำไร(nonprofit organization) อาสาสมัคร(volunteer) เป็นต้น และการบริหารจัดการองค์การร่วมสมัย (contemporary organization theory) เช่น การสร้างความร่วมมือในองค์การ (collaboration) ทุนมนุษย์(human capital) (วัชรพล ศุภจักรวัฒนจา และวัชรพล พุทธรักษา, 2561) นอกจากนี้แนวโน้มการศึกษาของสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ภายใต้บริบทการพัฒนาในยุคอุตสาหกรรมดิจิตอล ขอบเขตของการศึกษา
การบริหารงานภาครัฐจะขยายประเด็นไปถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการด าเนินสาธารณกิจของภาครัฐ เช่นการจัดการข้อมูล การน าระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการด าเนินการบริหารงานภาครัฐ (e-government) เป็นต้นรวมไปถึงการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ (บุญทัน ดอกไธสง, 2562: 41-43)ดังนั้นทิศทางและแนวโน้มของการศึกษาการบริหารงานภาครัฐในอนาคต จะมุ่งสู่การศึกษาการบริหารงานที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนา และการสร้างการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการ
บริหารงานภาครัฐ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์การบริหารงานภาครัฐครอบคุลมในทุกมิติ ซึ่งผู้เขียนเห็นว่าการเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนานี้ ส่งผลให้นักวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ต้องมีการปรับตัวและเรียนรู้กระแสการพัฒนาที่มีความหลากหลาย และอาจน ามาด้วยการขาดความเชี่ยวชาญในองค์ความรู้ใหม่ที่จะน ามาอธิบายหรือค้นหาหลักการบริหารงานภาครัฐ จนนำมาสู่วิกฤตอัตลักษณ์ด้านองค์ความรู้ของศาสตร์สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงจ าเป็นต้องยึดแนวทางการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการด าเนินงานของภาครัฐ เพื่อหลีกเลี่ยงวิกฤตติด้านองค์ความรู้ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
Assignment 4. อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
การศึกษาการบริหารงานภาครัฐ (Public Administration) ได้รับความสนใจมาอย่างยาวนาน นับตั้งแต่การเปลี่ยนผ่านความสู่ยุครัฐชาติการศึกษาการบริหารงานภาครัฐ ยิ่งเพิ่มความสนใจมากขึ้นจนเกิดเป็นศาสตร์สาขารัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) ที่มีแนวคิดและทฤษฎีที่สามารถน ามาเป็นหลักปฏิบัติในการบริหารงานภาครัฐได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสหรัฐอเมริกาที่เริ่มมีการศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานภาครัฐอย่างเฉพาะด้าน ส่งผลให้องค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์มีความเฟื่องฟูเพราะเกิดหลักการบริหารงานภาครัฐที่สามารถน าไปใช้ได้อย่างเป็นสากลอย่างไรก็ตามพัฒนาการศึกษาการบริหารงานภาครัฐก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงไป เนื่องด้วยบริบทการ
พัฒนาและสภาพแวดล้อมทางสังคม ส่งผลให้เกิดวิกฤติเอกลักษณ์ในองค์ความรู้ของรัฐประศาสนศาสตร์ ที่เปลี่ยนจากความพยายามแยกค่านิยมหรือการเมืองออกจากการบริหาร ซึ่งในท้ายที่สุดท าให้นักวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ ต้องกลับมาสนใจค่านิยมและนโยบายสาธารณะกับการบริหารงานภาครัฐมากขึ้น ในขณะเดียวกันในด้านทฤษฎีองค์การต้องย้อนกลับไปให้ความสนใจกับการพัฒนาหลักการบริหาร ที่มุ่งเน้นการศึกษาในเชิงพฤติกรรมศาสตร์มากขึ้น ด้วยเหตุนี้สถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์จึงถูกเข้าผนวกเป็นส่วนหนึ่งของศาสตร์สาขาวิชารัฐศาสตร์และการจัดการ ซึ่งเป็นการสูญเสียความเป็นอัตลักษณ์ของสาขาวิชาไปจนในช่วงปลายปีค.ศ. 1960 ถึงต้นปี ค.ศ. 1970 ได้มีการทบทวนสถานภาพของสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์อีกครั้ง ส่งผลให้การรื้อฟื้นอัตลักษณ์องค์ความรู้ให้กับสาขารัฐประศาสนศาสตร์ ได้รับความสนใจ โดยมีการสร้างแนวคิดรัฐประศานศาสตร์ในความหมายใหม่ (new public administration) ในแนวคิดดังกล่าวนี้ส่งให้การบริหารจัดการภาครัฐ ปรับเปลี่ยนมาศึกษาบทบาทการบริหารงานภาครัฐกับประเด็นสาธารณะ ที่สอดคล้องกับความต้องการและความหลากหลายทางสังคมมากขึ้น และได้เกิดแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ขึ้น(new public management) ขึ้นในปีค.ศ. 1980 เพื่อปฏิรูปการท างานของภาครัฐซึ่งเป็นการพลิกบทบาทการบริหารงานของภาครัฐที่ต้องด าเนินการร่วมกับภาคเอกชนในการด าเนินกิจการสาธารณะ จนกลายเป็นกระแสการพัฒนาการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลก ในขณะเดียวกันช่วงเป็น ค.ศ. 2000 เป็นต้นมาแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่ (new public service) ถูกเสนอขึ้นมาในการศึกษาและน าไปปรับปรุงการบริหารงานของภาครัฐ ซึ่งให้ความส าคัญกับบทบาทภาคพลเมืองในการเข้าไปมีส่วนร่วมกับภาครัฐในการด าเนินกิจการสาธารณะ
แนวคิดทั้งสองดังกล่าวได้เป็นหลักปฏิบัติในการบริหารงานภาครัฐจนมาถึงปัจจุบัน
นายกฤตเมธ เชิดชู 63423471054 รุ่น46

Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง

การปฏิรูปการจัดการภาครัฐ (Public Management Reform) เป็นแนวคิดที่เกี่ยวกับวิธีการที่จะนำไปสู่เป้าหมาย ซึ่งวิธีการหนึ่ง ๆ อาจมุ่งสู่ เป้าหมายหลายประการ อันหมายรวมถึงการประหยัดรายจ่ายสาธารณะ การยกระดับคุณภาพให้บริการสาธารณะ การดำเนินการของรัฐบาลที่มากด้วย ประสิทธิภาพ การเพิ่มประสิทธิผลของนโยบายที่ถูกเลือกและนำไปสู่การปฏิบัติ เป็นต้น นอกจากนี้ การปฏิรูปการจัดการภาครัฐยังช่วยส่งเสริมในการบรรลุ เป้าหมายขั้นกลาง (Intermediate ends) อาทิ การเสริมความแข็งแกร่งในการ ควบคุมของนักการเมืองที่มีต่อระบบราชการ การให้อิสระแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ จากข้อจำกัดทางในระบบราชการ การส่งเสริมความสามารถในการตรวจสอบ ได้ของรัฐบาลที่ให้แก่ประชาชนและสภานิติบัญญัติสำหรับนโยบายและ โปรแกรมต่าง ๆ ของรัฐบาล เป็นต้น ดังนั้น การปฏิรูปการจัดการภาครัฐจึงก่อ ให้เกิดรัฐบาลที่มีความประหยัด ประสิทธิภาพที่มากกว่า ด้วยการให้บริการที่มี คุณภาพสูงขึ้น ตลอดจนนโยบายและโปรแกรมที่ประสิทธิผลที่มากขึ้น ด้วยการส่งเสริมให้มีการควบคุมทางการเมือง การให้อิสระแก่ผู้จัดการ (CEOs) ในการ บริหารจัดการหน่วยงาน การทำให้รัฐบาลมีความโปร่งใสมากขึ้น ตลอดจนการ ส่งเสริมให้เกิดภาพของรัฐมนตรีและข้าราชการระดับสูงที่มีความเกี่ยวข้องกัน มากขึ้น
อย่างไรก็ตามสิ่งต่าง ๆ ข้างต้น มิใช่จะเป็นไปได้อย่างง่ายดาย ข้อมูล เชิงประจักษ์จากการปฏิรูปในหลาย ๆ กรณีแสดงให้เห็นว่าการปฏิรูปการจัดการ ภาครัฐอาจไปในทิศทางที่ผิด ก่อให้เกิดความล้มเหลวในการสร้างผลประโยชน์ที่ จะได้จากการปฏิรูปดังที่ได้กล่าวข้างต้น บางครั้งการปฏิรูปกลับสร้างผลกระทบ ในทางตรงข้ามกับที่ได้กล่าวมา ซึ่งก่อให้เกิดการบริหารจัดการภาครัฐที่เลวร้าย ยิ่งกว่าก่อนมีการปฏิรูปเสียอีก อีกทั้งในการปฏิรูปการจัดการภาครัฐใน แต่ละครั้งต่างมีเป้าหมายหลายประการที่ต้องการบรรลุผลสำเร็จ ซึ่งเป็น การยากที่จะทำให้เกิดผลสำเร็จในทุกเป้าหมายที่ตั้งไว้ บางครั้งเกิดสภาวะที่ต้อง แลกให้เป้าหมายหนึ่งบรรลุผลสำเร็จ ในขณะที่ลดทอนความสำคัญของ เป้าหมายอื่น ๆ ลง (trade-offs) หรือเกิดสภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออก
สิ่งที่จำเป็นต้องตระหนักคือ การปฏิรูปการจัดการภาครัฐมิได้เป็น หนทางเดียวเพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายที่พึงประสงค์ สมรรถนะของรัฐบาล สามารถถูกพัฒนาได้ด้วยหลากหลายเส้นทาง ซึ่งการปฏิรูปการจัดการภาครัฐ มักจะถูกนำไปใช้ร่วมกับการริเริ่มในนโยบายใหม่ ๆ ตลอดจนการปฏิรูป ทางการเมือง และการเปลี่ยนแปลงนโยบายหลักต่าง ๆ ดังตัวอย่างที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิวซีแลนด์ที่เกิดการปฏิรูปการจัดการภาครัฐพร้อมไปกับการ เปลี่ยนแปลงรากฐานที่สำคัญ ทั้งนโยบายทางเศรษฐกิจมหภาคและระบบ การเลือกตั้ง ดังนั้น หากพิจารณาในทางปฏิบัติแล้ว การปฏิรูปการจัดการภาครัฐ มักจะเกิดควบคู่ไปกับการเปลี่ยนแปลงทางนโยบายและ/ หรือการเปลี่ยนแปลง ทางการเมือง ซึ่งการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้จำเป็นต้องมีการออกกฎหมายใหม่มา รองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ต่อจากนั้นมีความจำเป็นต้องออกแบบและสร้างกระบวนการในการดำเนินการใหม่ การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ให้สามารถ ทำงานกับกระบวนในการดำเนินการใหม่ การกำหนดบทบาทหน้าที่และการให้ รางวัล ตลอดจนระบบประเมินบุคลากรใหม่ อีกทั้ง การแจ้งให้ผู้ใช้บริการและ กลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ได้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เพื่อเป็นการ ลดอาการตื่นตระหนก ดังนั้น การปฏิรูปการจัดการภาครัฐจำเป็นต้องใช้เวลา ความต่อเนื่อง และความรับผิดชอบของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในฝ่ายต่าง ๆ และระดับต่าง ๆ
นายกฤตเมธ เชิดชู 63423471054 รุ่น46

Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน

รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ (New Public Administration หรือ NPA) หมายถึง แนวคิดใหม่ทางการบริหารรัฐกิจที่เน้น ความเป็นธรรมในสังคม
(Social Equity) การยอมรับค่านิยม (Value) และการเปลี่ยนแปลงแสวงหาสิ่งที่ดีกว่าในรูปแบบมีความยืดหยุ่น (Change)
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management หรือ NPM)
คือ แนวคิดใหม่ทางการบริหารรัฐกิจที่เน้นการนำเอาแนวคิดและแนวปฏิบัติของการจัดการในภาคธุรกิจมาปรับใช้ในองค์การภาครัฐ นอกจากนี้ยังพบว่าการจัดการภาครัฐแนวใหม่ถือเป็นแนวทางสำคัญต่อการปฏิรูประบบราชการไทยในปัจจุบัน ซึ่งส่งผลให้ระบบราชการไทยต้องปรับตัวอย่างมากในระยะเวลาอันรวดเร็วให้ทันกับกระแสโลกาภิวัตน์และแรงกดดันจากกระแสการปฏิรูประบบราชการของต่างประเทศ
การพัฒนาแนวคิดของรัฐประศาสนศาสตร์นับจากปลายศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา จะเห็นได้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอดตามบริบททางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม เช่น เกิดทัศนะที่มองการบริหารรัฐกิจว่าควรยึดหลักต่างๆ อาทิ หลักการแยกการเมืองออกจากการบริหาร หลักการจัดองค์กรแบบราชการ หรือหลักวิทยาศาสตร์การจัดการ มาจวบจนถึงหลักการบริหารการจัดการที่เป็นหลักสากล สิ่งเหล่านี้ล้วนถูกท้าทายมาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะประเด็นของการขาดเอกลักษณ์ของรัฐประศาสนศาสตร์ ซึ่งจะเห็นได้จากผลงานชิ้นสำคัญของ
Herbert Simon ในงานที่มีชื่อว่า “Administrative Behavior” ในปี 1946 ซึ่งส่งผลกระทบต่อวงวิชาการทางด้านรัฐประศาสนศาสตร์อย่างมาก และทำให้นักวิชาการทางด้านนี้เสื่อมความศรัทธาลงในประเด็นเรื่องความถูกต้องและความเหมาะสมต่อแนวคิดทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์แบบดั้งเดิม
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management หรือ NPM) มีมุมมองที่ตั้งอยู่บนฐานคติว่า การจัดการภาคราชการที่อาศัยรูปแบบองค์การแบบระบบราชการ (Bureaucracy) ไม่มีความเหมาะสมที่จะนำมาใช้เป็นรูปแบบของภาคราชการในอนาคตอีกต่อไปแล้ว ในขณะเดียวกันในโลกของนักปฏิบัติปัจจุบัน ในหลายประเทศกำลังดำเนินการปฏิรูประบบราชการตามแนวกระแสใหม่ของ paradigm ใหม่ของการปกครองแบบประชาธิปไตย
เพราะมีปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านกระบวนทัศน์ของการบริหารปกครองดังกล่าว ได้แก่ สภาพการแข่งขันระหว่างประเทศและโลกาภิวัตน์ วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ กระแสอนุรักษ์นิยม การต่อต้านรัฐบาลและการกระจายอำนาจ ความสำเร็จของระบบเศรษฐกิจเสรี และความล้มเหลวของระบบวางแผนและควบคุมเศรษฐกิจแบบรวมศูนย์อำนาจหรือระบบสังคมนิยม ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันของรัฐบาลและระบบราชการ ตลอดจนความเข้มแข็งและการเปลี่ยนแปลงของภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น
ในอีกด้านหนึ่งนั้น การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) ก็ได้กลายเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่เกิดขึ้นตามมาจากแรงผลักดันของโลกาภิวัตน์ (Globalization) ที่ปรารถนาให้ระบบราชการต้องมีการปรับตัว เนื่องจากระบบราชการขนาดใหญ่ (Big Government) แบบเดิมๆ นั้นจำเป็นต้องใช้งบประมาณจำนวนมหาศาลในการหล่อเลี้ยงระบบ แต่ในอีกด้านหนึ่งกลับพบว่าระบบราชการกลับขาดประสิทธิภาพในการตอบสนองความต้องการของประชาชน อีกทั้งยังก่อให้เกิดปัญหาทางด้านการคลังตามมาด้วยเช่นกัน ซึ่งแนวความคิดทางด้านการจัดการภาครัฐแนวใหม่นั้นก็ได้นำเอาเทคนิควิธีการมากมายขององค์กรภาคเอกชนเข้ามาปรับใช้ โดยให้ความสำคัญต่อสัมฤทธิผลของการบริหารจัดการ และความรับผิดชอบต่อผลงานของผู้บริหาร อีกทั้งมีการกำหนดวัตถุประสงค์ขององค์การและเป้าหมายของแต่ละบุคคลอย่างชัดเจนในรูปตัวชี้วัดผลงาน (Key Performance Indicators: KPI) เพื่อทำการตรวจสอบและวัดผลสำเร็จและให้รางวัลตอบแทนตามผลงาน ในขณะเดียวกันจะพยายามให้ความมีอิสระและยืดหยุ่นทางด้านการบริหารจัดการ โดยเฉพาะเรื่องของรูปแบบการจัดโครงสร้างองค์กรและการใช้ทรัพยากรทางการเงินและบุคลากร
รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ (New Public Administration หรือ NPA) มีลักษณะสำคัญ กล่าวคือ รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่สนใจต่อการสร้างตัวแบบความคิดที่เน้นการผสมผสานองค์ความรู้อันหลากหลายทั้งในด้านการเมืองและการบริหาร เพื่อพัฒนาองค์การแบบใหม่ที่ไม่เป็นอำนาจนิยม แต่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนให้ประชาชนมีส่วนร่วมมากขึ้นในกิจกรรมภาครัฐมากขึ้น นัยหนึ่งนี้จึงเป็นการกระจายอำนาจการตัดสินใจจากรัฐไปสู่ประชาชนมากขึ้น ขณะเดียวกันจึงทำให้ทราบถึงความต้องการอันแท้จริงของประชาชนมากขึ้น แม้นักรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ยอมรับว่าการจัดองค์การแบบนี้อาจมีผลเสียต่อประสิทธิภาพและไม่เป็นการประหยัดก็ตาม แต่ก็คุ้มค่าเมื่อมองในแง่การปรับตัวและความยืดหยุ่นของระบบราชการเพื่อ “ตอบสนอง” เอาใจใส่ประชาชนผู้รับบริการมากขึ้น และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นการส่งเสริมต่อความเป็นธรรมทางสังคมในการให้บริการสาธารณะ
นายกฤตเมธ เชิดชู 63423471054 รุ่น46

Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง

แนวโน้มการบริหารภาครัฐในอนาคต หนึ่งในคำถามที่พบเสมอในการศึกษาทางการบริหารภาครัฐคือ คำถามที่ว่า สิ่งใดเป็นความท้าทาย และแนวโน้มในการบริหารภาครัฐซึ่งภาครัฐในประเทศต่าง ๆ จะต้องเผชิญ การค้นหาคำตอบจะช่วยให้นัก บริหารภาครัฐนำเอาแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นนั้นไปปรับใช้ ในขณะเดียวกันนักวิชาการด้านการบริหารรัฐกิจก็ จำต้องตระหนักถึงแนวโน้มดังกล่าวเพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงรายวิชาให้ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งยังดำเนินอยู่และส่งอิทธิพลต่อการบริหาร ปกครองและกลไกการบริหารของประเทศมีด้วยกัน 3 ประการ ได้แก่
1) ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี กล่าวคือ ประชาชนแสดงความไม่พอใจในการทำงานของฝ่าย การเมือง ส่งผลให้ความไว้วางใจที่มีต่อฝ่ายการเมืองลดลงอย่างต่อเนื่อง เมื่อกระแสความไม่พอใจดังกล่าว เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่เทคโนโลยีสมัยใหม่เกิดมีการกระจายตัวสู่สังคมมากขึ้น โดยเฉพาะการเติบโตของ สื่อสังคมทำให้ประชาชนสามารถเรียกร้องและมีอิทธิพลต่อฝ่ายการเมืองได้มากขึ้นผ่านเทคโนโลยีเหล่านั้น
2) รัฐบาลไม่สามารถแก้ไขปัญหาในประเด็นซับซ้อนได้ กลไกของรัฐเองก็พบว่าตนประสบปัญหาใน การบริการหรือแก้ไขปัญหา อาทิเช่น ปัญหาการศึกษา การที่ประชากรเป็นโรคเบาหวานจำนวนมากขึ้น โครงสร้างพลังงานภายในประเทศที่เปลี่ยนแปลงไปและอาชญากรรมทางไซเบอร์ ซึ่งถือว่าเป็นปัญหาที่มี ความซับซ้อน หากยังยึดติดกับนโยบายแบบควบคุมและสั่งการย่อมไม่สามารถตอบสนองกับความซับซ้อน ของประเด็นปัญหาได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคสมัยที่การเปลี่ยนแปลงขึ้นกับผู้มีส่วนร่วมที่ไม่ใช่ภาครัฐ
3) ความล้มเหลวในการนำเสนอประเด็นอนาคตของรัฐบาลเนื่องมาจากโครงสร้างในการบริหาร ปกครองล้มเหลวในการพัฒนาการตอบสนองในประเด็นระยะยาวอันเป็นผลมาจากการยึดติดกับการทำงาน ตามรอบวงจรการเลือกตั้ง ซึ่งปัญหาและภัยคุกคามของโลกในระยะยาวนั้นจำเป็นต้องอาศัยการลงทุนเพื่อ อนาคต ไม่ว่าจะเป็นการลงทุนในด้านทุนมนุษย์ผ่านการศึกษาหรือการสาธารณสุข ในด้านโครงสร้างพื้นฐาน และในความสามารถในการสร้างอำนาจในระดับนานาชาติ
เห็นว่า ปรากฏการณ์ของโลกที่ส่งผลต่อองค์กรภาครัฐและกระบวนการตัดสินใจของ รัฐในศตวรรษที่ 21 มีอยู่ 4 ด้านด้วยกัน ได้แก่
1) การเพิ่มขึ้นของการเชื่อมโยงระหว่างกันและการ แพร่กระจาย ผ่านปฏิสัมพันธ์ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบของการปกครองทุกระดับด้วยกระบวนการ โลกาภิวัตน์ ส่งผลให้ภาครัฐต้องปรับตัวทางโครงสร้าง
2) ความซับซ้อนที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งต่างจากอดีตที่ปัญหา ต่าง ๆ ไม่มีความซับซ้อนมากนัก
3) การบริหารปกครองที่มีเส้นแบ่งไม่ชัดเจน เมื่อรัฐบาลจำนวนมากต้องรับ หน้าที่ทั้งด้านการจัดการความเสี่ยงของสาธารณะในขณะที่ต้องทำหน้าที่ในการออกกฎหมายและระเบียบ และ
4) ความไว้วางใจที่ลดลง สถาบันต่าง ๆ ของรัฐได้รับความไว้วางใจจากประชาชนลดลงอย่างต่อเนื่อง อันเป็นผลมาจาการไม่สามารถตอบสนองต่อความคาดหวังของประชาชนได้ เพื่อให้ได้รับความไว้วางใจ กลับคืนมาจำเป็นที่จะต้องปฏิรูปโครงสร้างต่าง ๆ
นายกฤตเมธ เชิดชู 63423471054 รุ่น46

Assignment 4. อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง

แนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่ใช้มิติของเวลา ข้อดี คือ เป็นการนำเสนอที่ง่ายตามลำดับของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น โดยเพียงแค่พรรณนาถึงแนวคิดและทฤษฎี รัฐประศาสนศาสตร์ตามช่วงเวลาที่เกิดขึ้นเป็นลำดับไป แต่ข้อจำกัดของการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่ใช้มิติของเวลาคือ แม้ว่าในช่วงเวลาหนึ่ง จะมีแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ ที่สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันบ้างก็ตามแต่ก็ไม่มีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ที่เป็นหนึ่งเดียวตลอดโดยที่ในแต่ละช่วงสมัยหนึ่งอาจจะมีแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่มีจุดเน้นที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งจะไม่ทำให้เห็นความต่อเนื่องของแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่มีจุดเน้นเดียวกันในลักษณะ ที่เป็นพัฒนาการไป เช่น ไม่เห็นความต่อเนื่องของแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่เกี่ยวกับโครงสร้างว่าได้เกิดขึ้นหรือมีพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์เป็นอย่างไร เริ่มตั้งแต่ การจัดโครงสร้างแบบระบบราชการจนมาถึงการจัดโครงสร้างที่เน้นตามภารกิจ เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว ข้อจำกัดที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ เป็นแนวทางการศึกษาที่จำกัดเฉพาะในแง่ขององค์ความรู้เป็นหลัก สำคัญ มิได้คลอบคลุมถึงในภาคปฏิบัติของการนำไปใช้
แนวทางการศึกษาที่ใช้มิติของขอบเขตและจุดเน้น แนวทางการศึกษาที่ใช้มิติของ ขอบเขตและจุดเน้น เป็นการศึกษาที่กำหนดขอบเขตหรือปริมณฑลทางวิชาการ (locus) และกำหนด จุดเน้นของการศึกษา (focus) ซึ่งเป็นแนวทางการศึกษาที่นำเสนอโดยโรเบิร์ต ที โกเล็มบิวสกี้ (Robert T. Golembiewski) ทั้งปริมณฑลทางวิชาการและจุดเน้นของการศึกษาอาจแปรเปลี่ยนไป ตามสภาพแวดล้อมตลอดจนสาธารณกิจของสังคมนั้นๆ โดยที่ปริมณฑลทางวิชาการอาจมีลักษณะที่ ขยายขอบเขตออกไปกว้างขึ้น หรือมีขอบเขตที่เฉพาะเจาะจง หรือย้ายจุดมุ่งเน้นของการศึกษาไปสู่จุด มุ่งเน้นสนใจของการศึกษาใหม่ก็ได้
ข้อดีและข้อจำกัดของแนวทางการศึกษาที่ใช้มิติของขอบเขตและจุดเน้น มีข้อดีที่สำคัญคือ ทำให้เห็นกรอบหรือแนวทางการศึกษาที่มีปริมณฑลไปที่การบริหารงานภาครัฐโดยตรง นอกจากนี้แล้วก็ยัง มีข้อดีคือ ไม่จำกัดเฉพาะว่าจะเป็นแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่เกิดขึ้นในสมัยใดและเป็น เรื่องใด แต่ให้ความสำคัญต่อจุดสนใจหรือจุดมุ่งเน้นของการนำไปใช้ในการบริหารงานภาครัฐเป็นสำคัญ เช่น แนวทางการศึกษาที่มีจุดมุ่งเน้นที่การจัดโครงสร้าง แนวทางการศึกษาที่มีจุดมุ่งเน้นที่ด้าน กระบวนการ แนวทางการศึกษาที่มีจุดมุ่งเน้นที่ด้านพฤติกรรม และแนวทางการศึกษาที่มีจุดมุ่งเน้นที่ ด้านสภาพแวดล้อม เป็นต้น และยังมีข้อดีที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ เน้นสร้างองค์ความรู้ที่สอดคล้อง กับการนำไปใช้ในการปฏิบัติงานในภาครัฐโดยตรง แต่ทั้งนี้จุดมุ่งเน้นของการบริหารงานภาครัฐในแต่ละ ยุคสมัยอาจจะมีความแตกต่างกันไปก็ได้ เช่น ในยุคหนึ่งอาจเน้นเรื่องการสร้างระบบคุณธรรมของการ บริหารงานบุคคล ในขณะที่อีกยุคอาจจะเน้นการจัดการสมัยใหม่ที่นำการจัดการแบบธุรกิจมา ประยุกต์ใช้เป็นต้น นั่นหมายความว่า ในจุดมุ่งเน้นเรื่องหนึ่งๆ อาจนำแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสน ศาสตร์ที่หลากหลายในหลายช่วงเวลามาใช้ร่วมกันได้ เช่น ในยุคที่การบริหารงานภาครัฐให้ความสำคัญ ต่อการปฏิรูประบบราชการอาจนำแนวคิดเกี่ยวกับการจัดโครงสร้างที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลามาบูรณา การใช้ร่วมกัน เป็นต้น อย่างไรก็ตามข้อจำกัดที่สำคัญของแนวทางการศึกษาที่ใช้มิติของขอบเขตและ จุดเน้นคือ ในแง่ขององค์ความรู้ของศาสตร์ จะทำให้ไม่สามารถเห็นองค์ความรู้ที่เป็นแนวคิดและทฤษฎี รัฐประศาสนศาสตร์ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลาได้อย่างชัดเจน เนื่องจากองค์ความรู้จะเน้นไปสู่การนำไปใช้ในแต่ละเรื่องที่เป็นจุดมุ่งเน้นมากกว่าซึ่งอาจแปรเปลี่ยนไปได้ตลอดในแต่ละยุคของการ บริหารงานภาครัฐ
นาย เอกรัตน์ ศรีสุวรรณ์ 63423471136
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง  
แกนหลักของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ ประกอบด้วย 3 แนวคิด คือ
1.รัฐประศาสนศาสตร์ แนวคลาสสิก (Classical public administration)
2.รัฐประศาสนศาสตร์ แนวนีโอคลาสสิก (Neoclassical public administration) 3.รัฐประศาสนศาสตร์ แนวใหม่ (New public administration)
โดยทฤษฎี ทางเลือกสาธารณะนั้นก่อตั้งโดย James Buchanan และ Warren Nutter ทั้งคู่มาจากศูนย์โทมัส เจเฟอร์สันเพื่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมืองและ ปรัชญาสังคมแห่งมหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย ซึ่งศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคม โดยใช้หน่วยในการวิเคราะห์เป็นปัจเจกบุคคล อาศัยลัทธิปัจเจกชนนิยมเชิงระเบียบวิธี (Methodological individualism) เป็นแนวทางพื้นฐานใน การศึกษา อันเป็นการอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมจากผลรวบยอดของ พฤติกรรมของปัจเจกบุคคลแต่ละคนมารวมกัน โดยมีข้อตกลงเบื้องต้นว่า ปัจเจกบุคคล มุ่งหวังในเป้าหมายของตน และจะทำกระทำการใดๆตามความ พึงพอใจของตนเอง เพื่อให้บรรลุความพึงพอใจสูงสุด (Maximize utility)
นาย เอกรัตน์ ศรีสุวรรณ์ 63423471136
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
เพื่ออธิบายกระบวนการบริหารกิจกรรมต่างๆของภาครัฐในการการดำเนินงาน สาธารณะกิจ ดังนั้นองค์ความรู้ (body of knowledge) ของรัฐประศาสนศาสตร์จึงเกี่ยวข้องกับการบริหารรัฐกิจและกระบวนการดำเนินกิจกรรมของภาครัฐในภาคปฏิบัติ ด้วยเหตุนี้แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ จึงสามารถถูกนำไปทดสอบและนาไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินกิจกรรมของภาครัฐได้เป็นการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการบริหารงานภาครัฐครั้งสำคัญ โดยนาแนวคิดของภาคธุรกิจมาประยุกต์ใช้กับภาครัฐ เน้นสร้างผลิตภาพสูงสุด ประสิทธิภาพ ความประหยัด กลไกตลาด และ การมีส่วนร่วม รวมถึงมีการวัดผลจากการปฏิบัติงาน หรือผลสัมฤทธ์ิ นอกจากนั้น ให้ความสำคัญกับการกระจายอานาจ การลดขนาดองค์การให้เล็กลง กะทัดรัด เปิดโอกาสให้มีการแข่งขัน เน้นประชาธิปไตย และความเสมอภาค รวมถึงการบริหารงบประมาณให้เกิด ความคุ้มค่าสูงสุด ตลอดจนมองประชาชนในฐานะลูกค้า หรือผู้รับบริการท่ีรัฐต้องมอบสินค้าหรือ บริการสาธารณะอย่างทั่วถึงและเหมาะสม 

นาย เอกรัตน์ ศรีสุวรรณ์ 63423471136
Assignment  3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง  
รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) เป็นศาสตร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อศึกษาแนวทางการบริหารหารงานของภาครัฐ ที่มีความเกี่ยวข้องกับสาธารณกิจ (Public Affairs) ซึ่งเป็นการดำเนินกิจกรรมในมิติต่างๆของภาครัฐ อันส่งผลกระทบกับประชาชนหรือส่วนรวม ในภายหลังเรียกได้ ว่าเป็นการบริหารรัฐกิจ (public administration) เพื่ออธิบายกระบวนการบริหารกิจกรรมต่างๆ ของภาครัฐในการการดำเนินงาน สาธารณกิจ ดังนั้นองค์ความรู้ (body of knowledge) ของรัฐประศาสนศาสตร์จึงเกี่ยวข้องกับการบริหารรัฐกิจ และกระบวนการดำเนินกิจกรรมของภาครัฐในภาคปฏิบัติ ด้วยเหตุนี้แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ จึงสามารถถูกนำไปทดสอบและนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินกิจกรรมของภาครัฐได้ ทำให้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐนั้น ได้ถูกจำแนกตามจุดสนใจ ทั้งในด้านการค้นหาหลักการบริหารภาครัฐและการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัย สืบเนื่องจากแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่นั้น ได้ขยายขอบเขตการศึกษาการบริหารงานของ ภาครัฐให้กว้างขึ้น จนกระทั่งการการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลก ภายใต้อิทธิพลของแนวคิดการจัดการ ภาครัฐแนวใหม่ ได้นำมาสู่การศึกษาการบริการสารธารณะแนวใหม่เพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารภาครัฐ โดยมุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการดำเนินสาธารณกิจต่างๆ ร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชนภายใต้หลักการบริหารแบบประชาธิปไตย
ดังนั้นทิศทางและแนวโน้มของการศึกษาการบริหารงานภาครัฐในอนาคต จะมุ่งสู่การศึกษาการ บริหารงานที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนา และการสร้างการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการบริหารงานภาครัฐ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์การบริหารงานภาครัฐครอบคุลมในทุกมิติ ซึ่งผู้เขียนเห็นว่าการ เปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนานี้ ส่งผลให้นักวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ต้องมีการปรับตัวและเรียนรู้ กระแสการพัฒนาที่มีความหลากหลาย และอาจนำมาด้วยการขาดความเชี่ยวชาญในองค์ความรู้ใหม่ที่จะนำมาอธิบายหรือค้นหาหลักการบริหารงานภาครัฐ จนนำมาสู่วิกฤตอัตลักษณ์ด้านองค์ความรู้ของศาสตร์สาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงจำเป็นต้องยึดแนวทางการศึกษาประเด็นสาธารณะ ร่วมสมัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของภาครัฐ เพื่อหลีกเลี่ยงวิกฤตติด้านองค์ความรู้ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต แลเพื่อเป็นการดับไฟตั้งแต่ต้นลมของปัญหาต่างๆที่จะตามมา
นาย เอกรัตน์ ศรีสุวรรณ์ 63423471136
Assignment 4. อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
1. เห็นว่านักบริหาร (administrators) เป็นผู้ที่ปฏิบัติงานทั้ง 2 อย่าง คือกำหนดนโยบายและ บริหารนโยบาย ดังนั้น เรื่องนโยบายและการบริหารจึงควรเป็นเรื่องที่ต่อเนื่องกัน นักบริหารควรได้รับ การมอบหมายทั้งเรื่องการจัดการที่ดีและความเป็นธรรมในสังคม ซึ่งถือเป็นค่านิยม วัตถุประสงค์ หรือ เหตุผลร่วมกันของรัฐประศาสนศาสตร์
2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ห่วงใยเรื่องการเปลี่ยนแปลง คือ รัฐประศาสนศาสตร์จะต้อง พยายามแสวงหาหนทางที่จะเปลี่ยนแปลงนโยบายและโครงสร้างต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคขัดขวางความเป็นธรรมในสังคม ทั้งนี้โดยมุ่งส่งเสริมวัตถุประสงค์ของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ คือ
2.1) การจัดการที่ดี
2.2) มีประสิทธิภาพ
2.3) ประหยัด
2.4) มีความเป็นธรรมทางสังคม
3. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีแนวโน้มที่จะศึกษาแบบทดลองหรือสนับสนุนรูปแบบของการจัดองค์การราชการที่แก้ไขในแนวคิดบางประการ เช่น การกระจายอำนาจการมอบอำนาจลดหลั่น กันไปเป็นอันดับ โครงการสัญญาการฝึกอบรมแบบรับรู้ความต้องการต่างๆ อย่างที่เรียกว่าการขยายความรับผิดชอบ การเผชิญหน้า และการนำเอาผู้รับบริการเข้ามาร่วมด้วย ล้วนเป็นแนวความคิดที่เป็นปฏิปักษ์กับระบบราชการในแง่ของสาระสำคัญทั้งสิ้น
4. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่สนับสนุนการปกครองโดยฝ่ายบริหารที่ไม่แต่เพียงพยายาม แสวงหาทางที่จะให้ฝ่ายบริหารปฏิบัติหน้าที่ในการกำหนดนโยบายตามอำนาจที่ได้รับมอบให้เป็นผลสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และประหยัดที่สุด แต่พึงพยายาม แสวงหาหนทางที่จะใช้ในการบริหารนโยบาย เพื่อช่วยปรับปรุงคุณภาพของชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน
5. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ พยายามที่จะให้มีการมุ่งความสนใจไปที่ตัว ปัญหาและพยายามพิจารณาทางเลือกต่างๆ ที่เป็นไปได้ในการเผชิญกับปัญหานั้นๆโดยสถาบัน เช่น ปัญหายาเสพติด ปัญหาอาชญากรรม เป็นต้น ซึ่งนักรัฐประศาสนศาสตร์ได้พยายามที่จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงสถาบันต่างๆ หรือไม่ก็ปรับปรุงใหม่ให้เป็นสถาบันที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายกว่า โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้สามารถบรรลุถึงการแก้ปัญหาที่ใกล้เคียงความเป็นจริงมากกว่า
6. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่เน้นในส่วนที่เป็นราชการมากกว่าบริหารทั่วๆไปในการแก้ไขปัญหา

Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง

ตอบ.
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management หรือ NPM) มีเป้าหมายในเรื่องของความพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ของการบริหารการปกครองไปจากเดิม โดยพยายามลดบทบาทและจำกัดขนาดของรัฐบาล เช่น การโอนถ่ายไปสู่ระบบตลาดและภาคธุรกิจเอกชน การปรับปรุงระบบการบริหารจัดการให้มีความทันสมัย การจัดตั้งองค์กรบริหารอิสระหรือองค์กรมหาชน การกระจายอำนาจให้แก่ท้องถิ่น และการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมโดยตรง การเสริมสร้างบทบาทของชุมชนและองค์กรอาสาสมัครที่ไม่มุ่งแสวงหากำไร เป็นต้น
นอกจากนี้ยังพยายามเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลและระบบราชการจากเดิมที่เป็นผู้ปฏิบัติ และดำเนินงานเองโดยตรงไปสู่การเป็นผู้กำกับ ช่วยเหลือ ร่วมมือ สนับสนุนและส่งเสริมให้กลไกตลาด ภาคเอกชน องค์กรประชาสังคม ชุมชน และประชาชนสามารถเข้ามาเป็นผู้ดำเนินการแทน อันจะนำไปสู่การโอนถ่ายภารกิจ การควบคุมและลดขนาดของภาครัฐให้เล็กลง (State Minimalism) การแปรรูปกิจการของรัฐให้เป็นเอกชน (Privatization) การผ่อนคลายการควบคุม (Deregulation) การทำให้ถูกต้องตามกฎหมาย (Legalization) รวมทั้งการลดขนาดและจำกัดบทบาทหน้าที่ของภาครัฐให้เล็กลงในท้ายที่สุด
ดังนั้น หากจะกล่าวโดยสรุปถึงการจัดการภาครัฐแนวใหม่นั้นก็จะเห็นว่า กรอบแนวความคิดนี้มีความโดดเด่นอย่างมากในแง่การใช้เครื่องมือมากมายที่สามารถนำมาปรับใช้ในระบบบริหารจัดการภาครัฐให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นอย่างรวดเร็วภายในระยะเวลาอันสั้นได้ เพราะเครื่องมือที่นำมาจากหลักการจัดการภาคเอกชนนั้นส่วนใหญ่ต่างก็มุ่งเน้นการสร้างการเปลี่ยนแปลงภายในองค์กรภายในระยะเวลาที่รวดเร็วทันการณ์กับการแข่งขันต่อฝ่ายตรงข้ามหรือคู่แข่งในตลาด แต่อย่างไรก็ดี แม้ว่าหลักการดังกล่าวนี้จะมีข้อดีอยู่ก็ตาม ในอีกด้านหนึ่งกลับพบว่าด้วยหลักการที่ต้องการสร้างความรวดเร็วในการทำงานกลับเอื้อให้เกิดช่องว่างของความอยุติธรรมขึ้นได้ โดยเฉพาะการให้ความสำคัญกับผู้นำมากจนเกินไป ซึ่งอาจส่งผลให้ผู้นำกลายเป็นทรราชในองค์กรได้ในท้ายสุด เพราะฉะนั้นการพิจารณาถึงกรอบแนวความคิดนี้จึงมิอาจมองเห็นด้านดีได้เพียงอย่างเดียวเท่านั้นจำเป็นต้องพิจารณาถึงผลเสียในด้านตรงข้ามควบคู่กันไปด้วย
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน

ตอบ.
การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) คือ การปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ
โดยนำหลักการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการและการแสวงหาประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการที่มุ่งสู่
ความเป็นเลิศ โดยการนำเอาแนวทางหรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้กับการบริหารงานภาครัฐ
เช่น การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์การบริหารงานแบบมืออาชีพ การคำนึงถึงหลักความคุ้มค่า การ
จัดการโครงสร้างที่กะทัดรัดและแนวราบ การเปิดโอกาสให้เอกชนเข้ามาแข่งขันการให้บริการสาธารณะ การให้
ความสำคัญต่อค่านิยม จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรมและจริยธรรม ตลอดทั้งการมุ่งเน้นการให้บริการแก่
ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ

แนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
หลักใหญ่ของการจัดการภาครัฐแนวใหม่ คือ การเปลี่ยนระบบราชการที่เน้นระเบียบและขั้นตอนไปสู่การ
บริหารแบบใหม่ซึ่งเน้นผลสำเร็จและความรับผิดชอบ รวมทั้งใช้เทคนิคและวิธีการของเอกชนมาปรับปรุงการทำงาน
Hood[2] เห็นว่าสิ่งที่เรียกว่า “การจัดการภาครัฐแนวใหม่” มีหลักส าคัญ 7 ประการ คือ
1.จัดการโดยนักวิชาชีพที่ชำนาญการ (Hands-on professional management) หมายถึง ให้ผู้จัดการมือ
อาชีพได้จัดการด้วยตัวเอง ด้วยความชำนาญ โปร่งใส และมีความสามารถในการใช้ดุลพินิจ เหตุผลก็เพราะเมื่อ
ผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายแล้ว ก็จะเกิดความรับผิดชอบต่อการตรวจสอบจากภายนอก
2.มีมาตรฐานและการวัดผลงานที่ชัดเจน (Explicit standards and measures of performance) ภาครัฐจึง
ต้องมีจุดมุ่งหมายและเป้าหมายของผลงาน และการตรวจสอบจะมีได้ก็ต้องมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน
3.เน้นการควบคุมผลผลิตที่มากขึ้น (Greater emphasis on output controls) การใช้ทรัพยากรต้องเป็นไป
ตามผลงานที่วัดได้ เพราะเน้นผลส าเร็จมากกว่าระเบียบวิธี
4.แยกหน่วยงานภาครัฐออกเป็นหน่วยย่อยๆ (Shift to disaggregation of units in the public sector)
การแยกหน่วยงานใหญ่ออกเป็นหน่วยงานย่อยๆ ตามลักษณะสินค้าและบริการที่ผลิต ให้เงินสนับสนุนแยกกัน
และติดต่อกันอย่างเป็นอิสระ
5.เปลี่ยนภาครัฐให้แข่งขันกันมากขึ้น (Shift to greater competition in the public sector) เป็นการ
เปลี่ยนวิธีทำงานไปเป็นการจ้างเหมาและประมูล เหตุผลก็เพื่อให้ฝ่ายที่เป็นปรปักษ์กัน (rivalry) เป็นกุญแจ
สำคัญที่จะทำให้ต้นทุนต่ำและมาตรฐานสูงขึ้น
6.เน้นการจัดการตามแบบภาคเอกชน (Stress on private sector styles of management practice)
เปลี่ยนวิธีการแบบข้าราชการไปเป็นการยืดหยุ่นในการจ้างและให้รางวัล
7.เน้นการใช้ทรัพยากรอย่างมีวินัยและประหยัด (Stress on greater discipline and parsimony in
resource use) วิธีนี้อาจทำได้ เช่น การตัดค่าใช้จ่าย เพิ่มวินัยการทำงาน หยุดยั้งการเรียกร้องของสหภาพ
แรงงาน จำกัดต้นทุนการปฏิบัติ เหตุผลก็เพราะต้องการตรวจสอบความต้องการใช้ทรัพยากรของภาครัฐ และ
“ทำงานมากขึ้นโดยใช้ทรัพยากรน้อยลง” (do more with less)
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง

ตอบ.
การศึกษารัฐประศาสนศาสนศาสตร์ทั้งสามยุคที่ได้อธิบายไว้ในข้างต้นนั้น ส่งผลให้ศาสตร์สาขาวิชาได้ถูก
พัฒนาและเกิดการทบทวนองค์ความรู้ในการอธิบายการบริหารงานภาครัฐ ทำให้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐ
นั้นได้ถูกจำแนกตามจุดสนใจ ทั้งในด้านการค้นหาหลักการบริหารภาครัฐและการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัย
สืบเนื่องจากแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่นั้น ได้ขยายขอบเขตการศึกษาการบริหารงานของ
ภาครัฐให้กว้างขึ้น จนกระทั่งการการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลก ภายใต้อิทธิพลของแนวคิดการจัดการ
ภาครัฐแนวใหม่ ได้นำมาสู่การศึกษาการบริการสารธารณะแนวใหม่เพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารภาครัฐ โดยมุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการดำเนินสาธารณกิจต่างๆ ร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชนภายใต้หลักการบริหารแบบประชาธิปไตย
Assignment 4. อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง

ตอบ.
อิทธิพลของแนวคิดการจัดการ ภาครัฐแนวใหม่ ได้นำมาสู่การศึกษาการบริการสารธารณะแนวใหม่เพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารภาครัฐ โดยมุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการดำเนินสาธารณกิจต่างๆ ร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชนภายใต้ หลักการบริหารแบบประชาธิปไตย ส่งผลให้ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งประเด็นไปท่ีการศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) ในการบริหารงานของภาครัฐ การจัดการแบบเครือข่าย (network governance) เช่น องค์การ ไม่แสวงหากพไร (nonprofit organization) อาสาสมัคร(volunteer) เป็นต้น และการบริหารจัดการองค์การร่วม สมัย (contemporary organization theory) เช่น การสร้างความร่วมมือในองค์การ (collaboration) ทุนมนุษย์ (human capital) นอกจากน้ีแนวโน้มการศึกษาของ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ภายใต้บริบทการพัฒนาในยุคอุตสาหกรรมดิจิตอล ขอบเขตของการศึกษา การบริหารงานภาครัฐจะขยายประเด็นไปถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการดำเนินสาธารณกิจของภาครัฐ เช่น การจัดการข้อมูล การนำระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการดำเนินการบริหารงานภาครัฐ (e-government) เป็นต้น รวมไปถึงการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
ตอบ
รัฐประศาสนศาสตร์เป็นวิชาการทางด้านสังคมศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกับการบริหารงานภาครัฐ ซึ่งมีแนวคิดและทฤษฎีที่เกิดจากการสั่งสมองค์ความรู้มาเป็นระยะเวลาช้านาน โดยองค์ความรู้ของรัฐประศาสนศาสตร์ในแต่ละยุคสมัยก็อาจมีกรอบแนวคิดและทฤษฎีที่แตกต่างกันออกไป ทำให้มีการท้าทายกรอบแนวคิดและทฤษฎีนั้นๆ เกิดขึ้น ส่งผลทำให้รัฐประศาสนศาสตร์มีกรอบแนวคิดและทฤษฎีเกิดขึ้นอย่างหลากหลาย ดังนั้น ในบทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการนำเสนอแนวทางการศึกษา กรอบแนวคิด และทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ ประกอบด้วย
1) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคบุกเบิก
2) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคโครงสร้างการหน้าที่
3) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคพฤติกรรมนิยม
4) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุครัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ (New Public Administration: NPA)
5) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM)
การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ตามแนวคิดของ (โจนาธาน บอสตัน (Jonathan Boston) โจนาธาน บอสตัน (Jonathan Boston) และคณะ (อ้างถึงในทศพร ศิริสัมพันธ์, 2551, หน้า 450-451) ได้สรุปให้เห็นถึงลักษณะสำคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ 10 ประการ ดังต่อไปนี้
1) มีความเชื่อว่าการบริหารงานมีลักษณะความเป็นสากลสภาพ หรือไม่มีความแตกต่างอย่างเป็นนัยสำคัญระหว่างการบริหารงานของภาค ธุรกิจเอกชน และการบริหารงานภาครัฐ
2) ปรับเปลี่ยนการให้น้ำหนักความสำคัญไปจากเดิมที่มุ่งเน้น การควบคุมทรัพยากร (ปัจจัยนำเข้า) และกฎระเบียบ เป็นเรื่องของการ ควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์ หรือปรับเปลี่ยนจากการให้ความสำคัญในภาระ รับผิดชอบต่อกระบวนงาน (process accountability) ไปสู่ภาระรับผิดชอบ ต่อผลสัมฤทธิ์ (accountability for result)
3) ให้ความสำคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย
4) โอนถ่ายอำนาจการควบคุมของหน่วยงานส่วนกลาง (devolution of centralized power) เพื่อให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน
5) ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่ให้มีขนาดเล็กลงในรูปแบบของหน่วยงาน อิสระในกำกับ โดยเฉพาะการแยกส่วนระหว่างภารกิจงานเชิงพาณิชย์ (การกำกับดูแลควบคุม) ภารกิจ งานเชิงนโยบายและการให้บริการออกจากกันอย่างเด็ดขาด
6) เน้นการแปรสภาพกิจการของรัฐให้เป็นของเอกชนและให้มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอก (outsourcing) รวมทั้งการประยุกต์ใช้วิธีการจัดจ้างและการแข่งขันประมูลงาน (competitive tendering) เพื่อลดต้นทุน และปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ
7) ปรับเปลี่ยนรูปแบบสัญญาจ้างบุคลากรของภาครัฐให้มีลักษณะเป็นระยะสั้นและกำหนด เงื่อนไขข้อตกลงให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบได้
8) เลียนแบบวิธีการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชน เช่น การวางแผนกลยุทธ์ และ แผนธุรกิจ การทำข้อตกลงว่าด้วยผลงาน (performance agreement) การจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานการจัดจ้างบุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวเฉพาะกิจ การพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารงาน และการให้ความสำคัญต่อการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์การ (corporate image)
9) มีการสร้างแรงจูงใจ และให้รางวัลตอบแทนในรูปของตัวเงิน (monetary incentives) มากขึ้น
10) สร้างระเบียบวินัยและความประหยัดในการใช้จ่ายเงินงบประมาณ โดยพยายามลด ต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต
อย่างไรก็ดี องค์ความรู้ของรัฐประศาสนศาสตร์ในแต่ละยุคสมัยก็อาจมีกรอบแนวคิดและทฤษฎีที่แตกต่างกันออกไป ทำให้มีการท้ทายกรอบแนวคิดและทฤษฎีนั้นๆเกิดขึ้น โดยได้ท้าทายกันในประเด็นที่ว่าถูกต้องหรือไม่เหมาะสมอย่างไร และด้วยเหตุผลประการใดบ้าง ทำให้รัฐประศาสนศาสตร์มักจะถูกดึงเข้า (pull) และผลักออก (push) จากกรอบแนวคิดและความเชื่อหนึ่งไปยังกรอบแนวคิดและความเชื่อหนึ่ง อันเป็นผลของความจริงที่ได้จากการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง และวิจัยในแต่ละยุคสมัยนั่นเอง ดังนั้น จึงทำให้รัฐประศาสนศาสตร์มีกรอบแนวคิดและทฤษฎีเกิดขึ้นอย่างหลากหลาย ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญที่ผู้ศึกษาหรือสนใจทางด้านรัฐประศาสนศาสตร์จะต้องศึกษาทำความเข้าใจในกรอบแนวคิดและทฤษฎีต่างๆอย่างเป็นระบบ เพื่อให้เข้าถึงซึ่งความเป็นรัฐประศาสนศาสตร์ต่อไป
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ
องค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์มีโฉมหน้าเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก สิ่งที่เคยศึกษากัน ในเรื่องของการจัดองค์การและระบบการบริหารราชการภาครัฐแบบดั้งเดิม อาจไม่เพียงพอต่อ การจัดระบบการบริหารงานภาครัฐให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนที่มีลักษณะเป็น พลวัตรมากขึ้นอีกต่อไป ความเข้าใจถึงองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่จะช่วยเพิ่มศักยภาพของระบบการบริหาร ภาครัฐในการตอบสนองต่อผลประโยชน์สาธารณะจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง การปรับเปลี่ยนการบริหาร จัดการภาครัฐ โดยนำหลักการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการและการแสวงหาประสิทธิภาพใน การปฏิบัติราชการ เช่น การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์การบริหารงานแบบมืออาชีพ การคำนึง ถึงหลักความคุ้มค่า การให้ความสำคัญต่อค่านิยม จรรยาบรรณวิชาชีพ ตลอดทั้งการมุ่งเน้นการ ให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ
การพัฒนาระบบราชการที่ผ่านมาได้นeแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่มาปรับใช้ โดยมีเหตุผลหลักที่สำคัญจากปัญหาของระบบราชการไทยที่มีหลายประการและสั่งสมมานาน และ กระแสโลกาภิวัตน์ส่งผลให้สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกประเทศ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ การลดความเหลื่อมล่ำที่เน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืน และทั่วถึงเป็นธรรม การเติบโตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม ภายใต้ปัจจัยด้านต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลงในสภาวะแวดล้อมของประเทศ ความต้องการและความคาดหวังต่อการได้รับบริการจากภาครัฐเพิ่มสูงขึ้น ตลอดจนการมุ่งแก้ไขปัญหาที่ สั่งสมมาของระบบราชการไทยในเรื่องโครงสร้างนวัตกรรม กฎหมาย กฎระเบียบ ที่เป็นอุปสรรค และ ซ้ำซ้อนไม่ทันสมัย ทั้งนี้ได้กำหนดแผนกลยุทธ์และมาตรการในการพัฒนาระบบราชการ ได้แก่
1) การลดขั้นตอนและระยะเวลาในการปฏิบัติราชการ
2) การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชน ให้เป็นที่ยอมรับ ปรับปรุง แก้ไข ยกระดับ และพัฒนากฎหมาย ระเบียบ ขั้นตอนการให้บริการ การอำนวยความสะดวก และมาตรฐานของส่วนราชการ
3) การพัฒนาขีดสมรรถนะและศักยภาพของ ข้าราชการการน าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาใช้ในการให้บริการประชาชน (e-Service)การแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนจากการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการและการทุจริตคอร์รัปชั่น
4) การบูรณาการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานและภาคส่วนต่าง ๆ โดยยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ ราชการจึงได้กำหนดให้ปรับปรุงกลไกภาคราชการให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส สามารถตอบสนอง ความต้องการของประชาชนได้ และก่อให้เกิดความเชื่อมั่น ศรัทธาต่อการทำงานของภาคราชการเพิ่มขึ้น ซึ่งจะเอื้อต่อการเสริมสร้างรากฐานที่เข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และสังคมในการพัฒนาประเทศ และพร้อม ที่จะรองรับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคต
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง
ตอบ
โดยพัฒนาการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐถูกแบ่งออกเป็น 3 ยุคใหญ่ ที่มีการท้ายทายและ เปลี่ยนแปลงองค์ความรู้ในการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐ คือ ยุคแรก ยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 (1887-1926) แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์จะมุ่งเน้นไปถึงการค้นหาหลักการบริหาร ที่มุ่งนำไปใช้ใน การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของภาครัฐ ยุคที่สองยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ.1945-1970) แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ถูกท้าทายและมุ่งเน้นไปที่การศึกษานโยบายสาธารณะ การบริหารรัฐกิจ เปรียบเทียบ และการศึกษาทฤษฎีองค์การในเชิงพฤติกรรมศาสตร์ และยุคที่สาม ช่วงเวลาในปีค.ศ. 1970 ถึง ค.ศ. 2008 รัฐประศาสนศาสตร์ได้มีการทบทวนอัตลักษณ์ของสาขาวิชา จนนำมาสู่การสร้างรัฐประศาสนศาสตร์ใน ความหมายใหม่ (new public administration) ที่มุ่งประเด็นไปยังการบริหารงานภาครัฐที่สอดรับกับการ เปลี่ยนแปลงและความต้องการของสังคมในระดับมหาภาค โดยในปัจจุบันรัฐประศาสนศาสตร์ได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐ ที่ขยายขอบเขตสอดคล้องกับประเด็นร่วมสมัย ซึ่งในอนาคตการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะปรับเปลี่ยนไปตามกระแส การพัฒนามากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปลี่ยนแปลงของบริบทการพัฒนาที่เข้าสู่ยุคอุตสาหกรรมดิจิตอลทั้งด้าน การศึกษาเทคโนโลยีดิจิตอลและการสร้างนวัตกรรมที่ใช้ในการบริหารงานภาครัฐ
ดังนั้นทิศทางและแนวโน้มของการศึกษาการบริหารงานภาครัฐในอนาคต จะมุ่งสู่การศึกษาการ บริหารงานที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนา และการสร้างการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการบริหารงานภาครัฐ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์การบริหารงานภาครัฐครอบคุลมในทุกมิติ ซึ่งผู้เขียนเห็นว่าการ เปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนานี้ ส่งผลให้นักวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ต้องมีการปรับตัวและเรียนรู้ กระแสการพัฒนาที่มีความหลากหลาย และอาจนำมาด้วยการขาดความเชี่ยวชาญในองค์ความรู้ใหม่ที่จะนำมาอธิบายหรือค้นหาหลักการบริหารงานภาครัฐ จนนำมาสู่วิกฤตอัตลักษณ์ด้านองค์ความรู้ของศาสตร์สาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงจำเป็นต้องยึดแนวทางการศึกษาประเด็นสาธารณะ ร่วมสมัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของภาครัฐ เพื่อหลีกเลี่ยงวิกฤตติด้านองค์ความรู้ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
การศึกษาการบริหารงานภาครัฐ (Public Administration) ได้รับความสนใจมาอย่างยาวนาน นับตั้งแต่ การเปลี่ยนผ่านความสู่ยุครัฐชาติการศึกษาการบริหารงานภาครัฐ ยิ่งเพิ่มความสนใจมากขึ้นจนเกิดเป็นศาสตร์สาขารัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) ที่มีแนวคิดและทฤษฎีที่สามารถนำมาเป็นหลักปฏิบัติในการบริหารงานภาครัฐได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสหรัฐอเมริกาที่เริ่มมีการศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานภาครัฐอย่างเฉพาะด้าน ส่งผลให้องค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์มีความเฟื่องฟูเพราะเกิดหลักการบริหารงานภาครัฐที่สามารถนำไปใช้ได้อย่างเป็นสากล
อย่างไรก็ตามพัฒนาการศึกษาการบริหารงานภาครัฐก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงไป เนื่องด้วยบริบทการ พัฒนาและสภาพแวดล้อมทางสังคม ส่งผลให้เกิดวิกฤติเอกลักษณ์ในองค์ความรู้ของรัฐประศาสนศาสตร์ ที่เปลี่ยนจากความพยายามแยกค่านิยมหรือการเมืองออกจากการบริหาร ซึ่งในท้ายที่สุดทำให้นักวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ ต้องกลับมาสนใจค่านิยมและนโยบายสาธารณะกับการบริหารงานภาครัฐมากขึ้นในขณะเดียวกันในด้านทฤษฎีองค์การต้องย้อนกลับไปให้ความสนใจกับการพัฒนาหลักการบริหาร ที่มุ่งเน้นการศึกษาในเชิงพฤติกรรมศาสตร์มากขึ้นด้วยเหตุนี้สถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์จึงถูกเข้าผนวกเป็นส่วนหนึ่งของศาสตร์สาขาวิชารัฐศาสตร์และการจัดการ ซึ่งเป็นการสูญเสียความเป็นอัตลักษณ์ของสาขาวิชาไป
ในปัจจุบันนี้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์นั้น มีการขยายขอบเขตที่กว้างขึ้นและร่วมสมัยมากขึ้น ทั้งในด้านการศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) การจัดการแบบเครือข่าย (network governance) และการบริหารจัดการองค์การร่วมสมัย (contemporary organization theory) ทั้งนี้ในอนาคตการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะปรับเปลี่ยนไปตามกระแสการพัฒนามากขึ้น ทั้งการศึกษาการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ จึงกล่าวได้ว่าการศึกษาการบริหารงานภาครัฐในแนวทางของรัฐประศาสนศาสตร์นั้นมีแนวโน้มในการพัฒนาศาสตร์องค์ความรู้ในเชิงปฏิบัติที่สอดคล้องกับบริบทการพัฒนา ทั้งองค์รู้ที่เป็นแนวคิดกระแสหลักและกระแสรองเพื่อตอบสนองกับการอธิบาย ปรากฏการณ์การพัฒนาในสังคมที่มีความหลากหลาย
Assignment 4. อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ
อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ ต้องคำนึงถึงหลักธรรมาภิบาล ประโยชน์สาธารณะ และความเป็นพลเมือง และค่านิยมประชาธิปไตย บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อหา คำตอบกระบวนทัศน์ทางรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาท้องถิ่นที่ยั่งยืนในเชิงระบบ ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยนำเข้า (Inputs) เป็นประโยชน์สาธารณะ ได้แก่ ความต้องการหรือข้อเรียกร้องของชุมชน ท้องถิ่นกระบวนการ (Process) ได้แก่
1) กำหนดนโยบายนำนโยบายไปปฏิบัติ และประเมินนโยบาย
2) บริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3) บริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง
4) บริหารที่มุ่งบรรลุเป้าหมาย 6 มิติคือ ประสิทธิภาพประสิทธิผลความรับผิดชอบต่อสังคมการตอบสนองต่อความต้องการการให้ประชาชนมีส่วนร่วม
ความซื่อสัตย์ เป็นธรรม โปร่งใสและมิติความมีจริยธรรมและเคารพกฎหมาย
ผลผลิต(Outputs) คือ ผลการนำนโยบายไปปฏิบัติ
ผลลัพธ์ (Outcome) คือความ พึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง เช่น ข้าราชการพนักงานของรัฐ ประชาชน นักการเมือง ผู้รับเหมาองค์กรตรวจสอบต่างๆ
ผลลัพธ์สุดท้าย (Ultimate Outcomes) เป็นประโยชน์สาธารณะที่สอดคล้องกับความต้องการหรือข้อเรียกร้องของชุมชน เเละท้องถิ่นและการให้ข้อมูลป้อน (Feedback) เป็นการให้ข้อมูลป้อนกลับของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งก่อนระหว่าง และหลังการดำเนินงาน และนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนในด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม
รัฐประศาสนศาสตร์มีความจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะนำมาปรับใช้ในการบริหารงาน หน่วยงานภาครัฐ โดยผู้ปฏิบัติต้องคำนึงถึงธรรมาภิบาล (governance) ประโยชน์สาธารณะ (Public Interests) ความเป็นพลเมือง (citizenship) และค่านิยมประชาธิปไตย (democratic values)ควบคู่ไปกับการทำงานอย่างมืออาชีพด้วยดังนั้น การบริหารรัฐกิจใน ปัจจุบันจึงต้องมีความสอดคล้องกลมกลืนกันระหว่างรัฐ (government) ที่สื่อถึงการควบคุม และธรรมาภิบาล (governance) ที่สื่อถึงการตอบสนองและการมีส่วนร่วมของพลเมือง อีก ทั้งการพัฒนาการบริหารจำเป็นต้องสร้างความสอดคล้องกลมกลืนระหว่างทฤษฎีและการ ปฏิบัติจะนำไปสู่ประโยชน์สาธารณะซึ่งเป็นเป้าหมายสุดท้ายของรัฐประศาสนศาสตร์ ประโยชน์สาธารณะที่เกิดขึ้นได้นั้นรัฐบาลจะต้องตระหนักและให้ความสำคัญอย่างจริงจังกับ การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ และแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติที่เน้นให้คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา และส่งเสริมสนับสนุนให้ นำไปปฏิบัติอย่างจริงจัง ซึ่งหากรัฐบาลยังใช้การบริหารประเทศในระบบทุนนิยมที่มุ่งเน้นการ พัฒนาและสร้างคน “เก่ง” ให้มีศักยภาพในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อสร้าง ความได้เปรียบทางการแข่งขัน แต่มิได้มุ่งเน้นสร้าง “คนดี”จะทำให้เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมทางจิตใจอย่างที่เห็นในทุกวันนี้ ดังนั้น การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ อย่างจริงจังได้นั้นจะต้องสร้างรากฐานของชุมชนทุกชุมชนในประเทศให้เกิดความเข้มแข็ง โดยหันมาให้ความสำคัญกับภาคเกษตรที่ถือเป็นกระดูกสันหลังของประเทศ บริหารประเทศ ด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง เมื่อทุกชุมชนเกิดความเข้มแข็ง ประเทศชาติก็จะเกิดความมั่นคง ยืนโดยไม่ต้องพึงพาต่างชาติซึ่งจะแสดงให้เห็นว่าประเทศชาติของเราจะมีการพัฒนาอย่าง ยั่งยืนโดยแท้จริง
Assignment 1.
ตอบ
ลักษณะสำคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
ลักษณะสำคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ แม้จะมีนักวิชาการแสดงทัศนะไว้อย่างหลากหลาย แต่นักวิชาการรุ่นแรก ๆ ที่นำเสนอแนวคิดนี้ได้อย่างครอบคลุมที่สุดคือ
โจนาธาน บอสตัน
(Jonathan Boston)และคณะ (ทศพร ศิริสัมพันธ์, 2551)โดย สรุป ลักษณะสำคัญของ
การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ 10 ประการ ดังต่อไปนี้
1) มีความเชื่อว่าการบริหารงานมีลักษณะความเป็นสากลสภาพ หรือไม่มีความแตกต่าง
อย่างเป็นนัยสำคัญระหว่างการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชน และการบริหารงานภาครัฐ
2) ปรับเปลี่ยนการให้น้ำหนักความสำคัญจากเดิมที่มุ่งเน้นการควบคุมทรัพยากร
และกฎระเบียบ เป็นเรื่องของการควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์ หรือปรับเปลี่ยนจากการให้ความสำคัญ
ในภาระรับผิดชอบต่อกระบวนงาน (Process Accountability) ไปสู่ภาระรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธิ์
(Accountability for result)
3) ให้ความสำคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย
4) โอนถ่ายอำนาจการควบคุมของหน่วยงานส่วนกลาง (Devolution of Centralized
Power) เพื่อให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน
5) ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่โดยแบ่งออกเป็น 3 ภารกิจ ได้แก่
1. งานเชิงพาณิชย์ (การกำกับดูแล ควบคุม)
2. งานเชิงพาณิชย์ (การกำกับดูแล ควบคุม)
3. งานเชิงนโยบายและการให้บริการ เพื่อให้องค์การมีขนาดเล็กลงในรูปแบบของหน่วยงานอิสระในกำกับ
6) เน้นการบริหารกิจการของรัฐเป็นรูปแบบเอกชนและให้มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอก
(Outsourcing) รวมทั้งบูรณาการวิธีการจัดจ้างและการประมูลงาน (Competitive Tendering)
เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและลดต้นทุน
7) บุคลากรของภาครัฐในเรื่องการทำสัญญาจ้างปรับให้เป็นระยะสั้น กำหนดเงื่อนไข
ข้อตกลงให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบได้
นำรูปแบบการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชนที่ประสบความสำเร็จมาประยุกต์ใช้
เช่น การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารคุณภาพเชิงรวม การจ่ายรางวัลค่าตอบแทนตามผลงาน การจัด
จ้างบุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวเฉพาะกิจ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อการบริหารงาน
9) มีการสร้างแรงจูงใจในองค์การ เช่น การจ่ายตอบแทนในรูปของตัวเงินมากขึ้นเพื่อ เป็นรางวัล (Monetary Incentives)
10) พยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต เพื่อให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณที่คุ้มค่า
ดังนั้นลักษณะสำคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ เป็นการปรับเปลี่ยนการควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์ มีความเป็นสากล ให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหาร และให้ความสำคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่ให้มีขนาดเล็กลง รวมทั้งการประยุกต์ใช้วิธีการจัดจ้างและการแข่งขันประมูลงานเพื่อลดต้นทุน มีการสร้างแรงจูงใจ และให้รางวัลตอบแทนมากขึ้น สร้างระเบียบวินัยและความประหยัดในการใช้จ่ายเงินงบประมาณ โดยพยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต
Assignment 2.
ตอบ
จากการศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดการบริการ
สาธารณะแนวใหม่กับแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในยุค
ต่างๆจะเห็นได้ว่าการบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS)
มีความเหมือนกับแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่
(NPA) ค่อนข้างมากขณะที่จะมีความแตกต่างกับแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ดั้งเดิม (OPA) และแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) เป็นอย่างมาก โดยความเหมือนและความแตกต่างดังกล่าวในแต่ละประเด็นมีดังนี้
การบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS) ให้ความสำคัญกับพลเมือง (Citizen First) ผลประโยชน์สาธารณะ (Public Interest) ความเป็นประชาธิปไตย (Democratic) ความสามารถในการรับผิดชอบได้ต่อพลเมือง (Accountability) การเจรจาต่อรองเพื่อหาข้อสรุปและพันธสัญญาต่อพลเมืองและชุมชน (Commu-nity) เพื่อกระจายผลประโยชน์สาธารณะนั้นไปสู่สังคมอย่างแท้จริง
ขณะที่ OPA ยังมองประชาชนเป็นเพียงผู้รอรับบริการจากรัฐ (client) เน้นการบริหารภายใน
มากกว่าภายนอก ยังคำนึงถึงเรื่องประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและประหยัดเป็นค่านิยมหลักในทางการบริหาร จัดองค์การแบบทางการที่เน้นสายการบังคับบัญชา ผลประโยชน์สาธารณะถูกกำหนดโดยฝ่าย
การเมืองและข้าราชการประจำ หรือกำหนดไว้แล้วในนโยบายและกฎหมายต่างๆ ความรับผิดชอบได้เป็นเรื่องของผู้เชี่ยวชาญและนักบริหารระดับสูง กระบวนการตัดสินใจต่าง ๆ จึงถูกผูกขาดอยู่ในกลุ่มนักการเมืองและข้าราชการ พลเมืองหรือประชาชนจึงเข้ามามีส่วนร่วมได้ในระดับที่จากัด การปฏิบัติงานก็เป็นไปกฎเกณฑ์ กฎระเบียบ จนส่งผลให้เกิดการทำงานที่ขาดประสิทธิภาพ
และล่าช้า ข้าราชการก็ขาดแรงจูงใจในการทำงานและถูก
ปิดกั้นในความคิดสร้างสรรค์
การบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS) กับรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (NPA) นั้นมีสาระสำคัญและค่านิยมพื้นฐานที่คล้ายคลึงกันมาก ไม่ว่าจะเป็นการเน้นการมีส่วนร่วมของพลเมือง ความเป็นประชาธิปไตย บทบาทของนักบริหารรัฐกิจในกาเปลี่ยนแปลงสังคม ค่านิยมการบริหารที่ไม่ใช่เฉพาะเรื่อประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล และประหยัดเท่านั้น แต่ยังให้ควาสำคัญ
กับเรื่องความเสมอภาค เป็นธรรม ความรับผิดชอบได้
จริยธรรมในการบริหาร ซึ่งความคล้ายคลึงกันนี้ทำให้
มองได้ว่าแนวคิดทั้งสองเป็นกลุ่มแนวคิดเดียวกัน เป็น
แนวคิดเชิงปทัสถานที่ปฏิเสธปฏิฐานนิยมทางตรรกะ
(anti-logical positivism) เหมือนกัน เพียงแต่ NPS
มาขยายรายละเอียดของ NPA เพิ่มขึ้นในหลายๆ
ประเด็นเท่านั้น โดย NPS มีระดับในเรื่องการค้นหา
ความต้องการหรือความจำเป็นของพลเมือง ตลอดจน
เรื่องประชาธิปไตยที่มีระดับที่เพิ่มมากขึ้นกว่า NPA และ
ยังพบอีกว่า NPA ถือเป็นหนึ่งในแนวคิดที่เป็นรากฐาน
ของ NPS สำหรับความแตกต่างระหว่างการบริการ
สาธารณะแนวใหม่ (NPS) กับการจัดการภาครัฐแนว
ใหม่ (NPM) นั้นมีอยู่หลายประเด็นที่แตกต่างกันอย่าง
สิ้นเชิง เพราะความตั้งใจของ NPS ในการเป็นแนวคิด
หรือวาทกรรมเชิงวิพากษ์ NPM ตั้งแต่ที่ NPS ไม่เห็น
ด้วยที่จะมองประชาชนเป็นลูกค้าเหมือน NPM แต่กลับ
เห็นว่าประชาชนคือพลเมืองที่ต้องการผลประโยชน์ของ
ส่วนรวมหรือผลประโยชน์ระยะยาวมากกว่าผล
ประโยชน์ส่วนตนหรือผลประโยชน์ระยะสั้น ในการ
บริการสาธารณะนักบริหารรัฐกิจก็เป็นเพียงผู้รับผิดชอบ
ร่วมหาใช่ผู้ประกอบการหรือเจ้าของกิจการไม่
ประสิทธิภาพและผลิตภาพไม่ใช่เรื่องที่มีความสำคัญ
มากไปกว่าความเสมอภาค เป็นธรรม และความรับผิด
ชอบได้ของภาครัฐโดยเห็นว่าค่านิยมในเรื่องความเป็น
ธรรมจริยธรรมและความรับผิดชอบได้ต่างหากที่เป็น
เป้าหมายของการบริการสาธารณะ การบริการของรัฐ
ไม่ได้เป็นการส่งมอบสินค้าหรือบริการให้แก่พลเมือง
เท่านั้นแต่มันคือการส่งมอบความเป็นประชาธิปไตยไป
สู่พลเมือง
2. ผลการสังเคราะห์และสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่ พบว่าการบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS) มีรากฐานสำคัญ
มาจาก 4 แนวคิด คือ
(1) ประชาธิปไตยพลเมือง
(2) ตัวแบบชุมชนและประชาสังคม
(3) มนุษย์นิยมองค์การและ
รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่
(4) รัฐประศาสนศาสตร์
หลังสมัยใหม่ สาระสำคัญหรือองค์ความรู้ของ NPS ได้
มาจากการตีความ วิเคราะห์และวิพากษ์วิจารณ์แนวคิด
ทางรัฐประศาสนศาสตร์อื่นๆ โดยเฉพาะการวิพากษ์
แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) ซึ่งจากการ
ศึกษาวิจัยสามารถสรุปถึงสาระสำคัญของ NPS
Assignment 3. 
ตอบ
ทิศทางและแนวโน้มการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต
การศึกษารัฐประศาสนศาสนศาสตร์ทั้งสามยุคที่ได้อธิบายไว้ในข้างต้นนั้น ส่งผลให้ศาสตร์สาขาวิชาได้ถูก
พัฒนาและเกิดการทบทวนองค์ความรู้ในการอธิบายการบริหารงานภาครัฐทำให้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐ
นั้นได้ถูกจำแนกตามจุดสนใจ ทั้งในด้านการค้นหาหลักการบริหารภาครัฐและการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัย
สืบเนื่องจากแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่นั้น ได้ขยายขอบเขตการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐให้กว้างขึ้น จนกระทั่งการการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลกภายใต้อิทธิพลของแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ ได้นํามาสู่การศึกษาการบริการสารธารณะแนวใหม่เพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารภาครัฐ โดยมุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการดำเนินสาธารณกิจต่างๆ ร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชนภายใต้หลักการบริหารแบบประชาธิปไตย ส่งผลให้ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งประเด็นไปที่การศึกษา
หลักธรรมภิบาล (goodgovernance)ในการบริหารงานของภาครัฐ การจัดการแบบเครือข่าย (network governance) เช่น องค์การไม่แสวงหากําไร (nonprofit organization) อาสาสมัคร(volunteer) เป็นต้น และการบริหารจัดการองค์การร่วมสมัย (contemporaryorganization theory) เช่น การสร้างความร่วมมือในองค์การ(collaboration)
ทุนมนุษย์
(human capital) นอกจากนี้แนวโน้มการศึกษาของ
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ภายใต้บริบทการพัฒนาในยุคอุตสาหกรรมดิจิตอล ขอบเขตของการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะขยายประเด็นไปถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการดําเนินสาธารณกิจของภาครัฐ เช่น การจัดการข้อมูล การนําระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการดําเนินการบริหารงานภาครัฐ (e-government) เป็นต้น
รวมไปถึงการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ
ดังนั้นทิศทางและแนวโน้มของการศึกษาการบริหารงานภาครัฐในอนาคต จะมุ่งสู่การศึกษาการบริหารงานที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนา และการสร้างการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการ
บริหารงานภาครัฐ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์การบริหารงานภาครัฐครอบคุลมในทุกมิติ ซึ่งผู้เขียนเห็นว่าการ
เปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนานี้ ส่งผลให้นักวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ต้องมีการปรับตัวและเรียนรู้
กระแสการพัฒนาที่มีความหลากหลาย และอาจนำมาด้วยการขาดความเชี่ยวชาญในองค์ความรู้ใหม่ที่จะนำมา
อธิบายหรือค้นหาหลักการบริหารงานภาครัฐ จนนํามาสู่วิกฤตอัตลักษณ์ด้านองค์ความรู้ของศาสตร์สาขาวิชา
รัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงจําเป็นต้องยึดแนวทางการศึกษาประเด็นสาธารณะ
ร่วมสมัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการดําเนินงานของภาครัฐ เพื่อหลีกเลี่ยงวิกฤตติด้านองค์ความรู้ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
Assignment 4.
ตอบ
อย่างไรก็ตามพัฒนาการศึกษาการบริหารงานภาครัฐก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงไป เนื่องด้วยบริบทการพัฒนาและสภาพแวดล้อมทางสังคม ส่งผลให้เกิดวิกฤติเอกลักษณ์ในองค์ความรู้ของรัฐประศาสนศาสตร์ ที่เปลี่ยนจากความพยายามแยกค่านิยมหรือการเมืองออกจากการบริหาร ซึ่งในท้ายที่สุดทำให้นักวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ ต้องกลับมาสนใจค่านิยมและนโยบายสาธารณะกับการบริหารงานภาครัฐมากขึ้นในขณะเดียวกันในด้านทฤษฎีองค์การต้องย้อนกลับไปให้ความสนใจกับการพัฒนาหลักการบริหาร ที่มุ่งเน้นการศึกษาในเชิงพฤติกรรมศาสตร์มากขึ้น ด้วยเหตุนี้สถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์จึงถูกเข้าผนวกเป็นส่วนหนึ่งของศาสตร์สาขาวิชา
รัฐศาสตร์และการจัดการ ซึ่งเป็นการสูญเสียความเป็นอัตลักษณ์ของสาขาวิชาไป
จนในช่วงปลายปีค.ศ. 1960 ถึงต้นปี ค.ศ. 1970 ได้มีการทบทวนสถานภาพของสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์อีกครั้ง ส่งผลให้การรื้อฟื้นอัตลักษณ์องค์ความรู้ให้กับสาขารัฐประศาสนศาสตร์ ได้รับความสนใจ โดยมีการ
สร้างแนวคิดรัฐประศานศาสตร์ในความหมายใหม่ (new public administration) ในแนวคิดดังกล่าวนี้ส่งให้การ
บริหารจัดการภาครัฐ ปรับเปลี่ยนมาศึกษาบทบาทการบริหารงานภาครัฐกับประเด็นสาธารณะ ที่สอดคล้องกับ
ความต้องการและความหลากหลายทางสังคมมากขึ้น และได้เกิดแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ขึ้น
(new public management) ขึ้นในปีค.ศ. 1980 เพื่อ
ปฏิรูปการทํางานของภาครัฐซึ่งเป็นการพลิกบทบาทการ
บริหารงานของภาครัฐที่ต้องดําเนินการร่วมกับภาคเอกชนในการดำเนินกิจการสาธารณะ จนกลายเป็นกระแสการ
พัฒนาการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลก ในขณะเดียวกันช่วงเป็น ค.ศ. 2000 เป็นต้นมาแนวคิดการบริการ
สาธารณะแนวใหม่ (new public service) ถูกเสนอขึ้นมาในการศึกษาและนำไปปรับปรุงการบริหารงานของ
ภาครัฐ ซึ่งให้ความสําคัญกับบทบาทภาคพลเมืองในการเข้าไปมีส่วนร่วมกับภาครัฐในการดำเนินกิจการสาธารณะ
แนวคิดทั้งสองดังกล่าวได้เป็นหลักปฏิบัติในการบริหารงานภาครัฐจนมาถึงปัจจุบัน
และในปัจจุบันนี้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์นั้น มีการขยายขอบเขตที่กว้างขึ้นและร่วมสมัยมากขึ้น ทั้งในด้านการศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) การจัดการ
แบบเครือข่าย (network governance) และการบริหารจัดการองค์การร่วมสมัย (contemporaryorganization theory) ทั้งนี้ในอนาคตการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะปรับเปลี่ยนไปตามกระแสการพัฒนามากขึ้น
ทั้งการศึกษาการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ จึงกล่าวได้ว่าการศึกษาการ
บริหารงานภาครัฐในแนวทางของรัฐประศาสนศาสตร์นั้นมีแนวโน้มในการพัฒนาศาสตร์องค์ความรู้ในเชิงปฏิบัติที่
สอดคล้องกับบริบทการพัฒนา ทั้งองค์รู้ที่เป็นแนวคิดกระแสหลักและกระแสรองเพื่อตอบสนองกับการอธิบาย
ปรากฏการณ์การพัฒนาในสังคมที่มีความหลากหลาย
นาย อิทธิพัฒน์ แซมกลาง 63423471016
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
คือ แนวคิดใหม่ทางการบริหารรัฐกิจที่เน้นการนำเอาแนวคิดและแนวปฏิบัติของการจัดการในภาคธุรกิจมาปรับใช้ในองค์การภาครัฐ นอกจากนี้ยังพบว่าการจัดการภาครัฐแนวใหม่ถือเป็นแนวทางสำคัญต่อการปฏิรูประบบราชการไทยในปัจจุบัน ซึ่งส่งผลให้ระบบราชการไทยต้องปรับตัวอย่างมากในระยะเวลาอันรวดเร็วให้ทันกับกระแสโลกาภิวัตน์และแรงกดดันจากกระแสการปฏิรูประบบราชการของต่างประเทศ

การพัฒนาแนวคิดของรัฐประศาสนศาสตร์นับจากปลายศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา จะเห็นได้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอดตามบริบททางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม เช่น เกิดทัศนะที่มองการบริหารรัฐกิจว่าควรยึดหลักต่างๆ อาทิ หลักการแยกการเมืองออกจากการบริหาร หลักการจัดองค์กรแบบราชการ หรือหลักวิทยาศาสตร์การจัดการ มาจวบจนถึงหลักการบริหารการจัดการที่เป็นหลักสากล สิ่งเหล่านี้ล้วนถูกท้าทายมาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะประเด็นของการขาดเอกลักษณ์ของรัฐประศาสนศาสตร์
(New Public Management หรือ NPM) มีมุมมองที่ตั้งอยู่บนฐานคติว่า การจัดการภาคราชการที่อาศัยรูปแบบองค์การแบบระบบราชการ (Bureaucracy) ไม่มีความเหมาะสมที่จะนำมาใช้เป็นรูปแบบของภาคราชการในอนาคตอีกต่อไปแล้ว ในขณะเดียวกันในโลกของนักปฏิบัติปัจจุบัน ในหลายประเทศกำลังดำเนินการปฏิรูประบบราชการตามแนวกระแสใหม่ของ paradigm ใหม่ของการปกครองแบบประชาธิปไตย 
เพราะมีปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านกระบวนทัศน์ของการบริหารปกครองดังกล่าว ได้แก่ สภาพการแข่งขันระหว่างประเทศและโลกาภิวัตน์ วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ กระแสอนุรักษ์นิยม การต่อต้านรัฐบาลและการกระจายอำนาจ ความสำเร็จของระบบเศรษฐกิจเสรี และความล้มเหลวของระบบวางแผนและควบคุมเศรษฐกิจแบบรวมศูนย์อำนาจหรือระบบสังคมนิยม ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันของรัฐบาลและระบบราชการ ตลอดจนความเข้มแข็งและการเปลี่ยนแปลงของภาคธุรกิจเอกชน
นาย อิทธิพัฒน์ เเซมกลาง63423471016

Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management หรือ NPM)
 ให้ความสำคัญต่อสัมฤทธิผลของการบริหารจัดการ และความรับผิดชอบต่อผลงานของผู้บริหาร โดยจะมีการกำหนดวัตถุประสงค์ขององค์การและเป้าหมายของแต่ละบุคคลอย่างชัดเจนในรูปตัวชี้วัดผลงาน (Key Performance Indicators : KPI) เพื่อทำการตรวจสอบและวัดผลสำเร็จและให้รางวัลตอบแทนตามผลงาน ในขณะเดียวกันจะพยายามให้ความมีอิสระและยืดหยุ่นทางด้านการบริหารจัดการ โดยเฉพาะเรื่องของรูปแบบการจัดโครงสร้างองค์กรและการใช้ทรัพยากรทางการเงินและบุคลากร นอกจากนี้ยังพยายามเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลและระบบราชการจากเดิมที่เป็นผู้ปฏิบัติ และดำเนินงานเองโดยตรงไปสู่การเป็นผู้กำกับ ช่วยเหลือ ร่วมมือ สนับสนุนและส่งเสริมให้กลไกตลาด ภาคเอกชน องค์กรประชาสังคม ชุมชน และประชาชนสามารถเข้ามาเป็นผู้ดำเนินการแทน อันจะนำไปสู่การโอนถ่ายภารกิจ รวมทั้งการลดขนาดและจำกัดบทบาทหน้าที่ของภาครัฐให้เล็กลงในท้ายที่สุด
การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่(New Public Management) คือ การปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ โดยนาหลักการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการและการแสวงหาประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการที่มุ่งสู่ ความเป็นเลิศ โดยการนาเอาแนวทางหรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้กับการบริหารงานภาครัฐ เช่น การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์
นาย อิทธิพัฒน์ เเซมกลาง 63423471016

Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง
แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงของรัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะสาขาวิชาการเปลี่ยนแปลงการบริหารภาครัฐ
ปัจจัยที่มีผลต่อทิศทางของสาขารัฐประศาสนศาสตร์มีดังต่อไปนี้
มีการเรียกร้องให้รัฐประศาสนศาสตร์เรียนในสิ่งที่สอดคล้องกับความจริง
รัฐประศาสนศาสตร์แยกตัวออกมาจากรัฐศาสตร์ที่เป็นสรรพบุรุษและมีเนื้อหาเป็นของตนเอง
เกิดสาขาวิชาใหม่ที่พยายามศึกษาแบบบูรณาการ
คณะบริหารธุรกิจและการจัดการเริ่มมีการจัดหลักสูตรในการจัดการภาครัฐ
สถาบันด้านรัฐประศาสนศาสตร์แพร่หลายในช่วงทศวรรษที่ 1960 และ 1970 จะมีลักษณะเฉพาะตัว
แนวคิดของกลุ่ม “รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่”
แนวคิดมนุษยนิยมในองค์การ
การสอนจริยธรรมการบริหาร
แนวโน้มของการบริหารภาครัฐ
1. ระบบราชการ (bureaucracy)
ระบบราชการตามทฤษฎีของแม็กซ์ เวเบอร์ (Max Weber)
2.เทคนิคการจัดการ (management techniques)
“วิทยาการจัดการ” (management science)
แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์
แนวโน้มการบริหารภาครัฐซึ่งเป็นตัวกำหนดค่านิยมและทิศทางการบริหารภาครัฐสำหรับแนวโน้มที่สำคัญ
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการนิยามความ หมายใหม่ให้กับรัฐบาล(economic changes and redefining government)
โลกาภิวัตน์ (Globalization)
เทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมของงาน (technology and work environment)
บทบาทของพลเมืองในกระบวนการปกครอง (role of citizens in the governance process)
การท้าทายทางจริยธรรมที่ข้าราชการกำลังเผชิญ (ethical challenges facing the public service)
รูปแบบองค์การสมัยหลัง ระบบราชการ
วอร์เรน เบนนิส (Warren Bennis)
องค์การที่ไม่มีลำดับชั้นการบังคับบัญชา
ใช้วิธีบังคับบัญชา แบบประชาธิปไตย
ไทเออร์ (Thayer)
“ทฤษฎีที่ไม่มีลำดับชั้น การบังคับบัญชา แต่มีโครงสร้าง”
รัฐประศาสนศาสตร์ในปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงไปเรื่องและเป็นไปอย่างยืดเยื้อหรือค่อยๆ เปลี่ยนไปโดยได้รับอิทธิพลจากหลายๆปัจจัยคือการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง กฎหมายและเทคโนโลยีรวมไปถึงอิทธิพลจากต่าง ประเทศแนวคิดที่ ผลต่อการเปลี่ยนแปลง
1การผลักดันอำนาจแก่ท้องถิ่นขัดแย้งกับการผลักรวมอำนาจ
2การผลักดันให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหาร
3นักเศรษฐศาสตร์ การจัดการ และนักรัฐธรรมนูญนิยม
4ค่านิยมได้กลับมาอีกครั้งทั้งที่นักรัฐประศาสนศาสตร์
5การสร้างมาตรฐานวิชาชีพเป็นการทำลายการมีชีวิตขององค์การ
6โลกสมัยใหม่ให้ความสำคัญกับองค์การมากเกินไป
นาย อิทธิพัฒน์ เเซมกลาง 63423471016

Assignment 4. อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
1. มีปรัชญาในการใช้ชีวิต(หรือการบริหาร) แบบลำดับขั้นบังคับบัญชา (hierarchy) ในการทำงาน 2. มีการแบ่งงานกันทำ (division of labor) ตามความเชี่ยวชาญ 3. ไม่ยึดหลักความเป็นส่วนตัวหรือประโยชน์ส่วนตัว (impersonality) ในการทำงาน 4. ต้องมีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ เพื่อใช้ในการทำงาน (laws and regulations) 5. มีความเป็นวิชาชีพ (career) และ 6. การแบ่งแยกระหว่างทรัพย์สินและภาระงานขององค์กร (separation of property and affairs)
คิดแบบระบบราชการที่ปราถนาว่าวิชารัฐประศาสนศาสตร์จะมอบความรักและความชัดเจนให้กับพวกเขา ซึ่งสำนักคิดนี้ทำได้ดีทีเดียว ดังจะเห็นได้จากระบบราชการ (bureaucracy) เกิดขึ้น ดำรงอยู่ ยังเป็นแนวคิดที่มีอิทธิพลสำคัญต่อการศึกษาทั้งในทางทฤษฎีและในภาคปฏิบัติของวิชารัฐประศาสตร์อยู่มากทีเดียวในปัจจุบัน แม้จะมีข้อดีข้อเสียอยู่บ้าง แต่ก็เป็นคนรักกลุ่มแรก ๆ ของวิชารัฐประศาสนศาสตร์

ริสโตเฟอร์ ฮู้ด (Christopher Hood) บอกว่า “NPM” ของตัวเขาเองต่างหาก คือ ทางเลือกใหม่สำหรับรักครั้งนี้ !! คริสโตเฟอร์ ฮู้ด (Christopher Hood) กับเพื่อนในแก็งส์ร่วมสำนัก ให้เหตุผลบอกว่า ระบบการจัดการแบบราชการของ Max Weber นั้น ไม่ได้มีความวิเศษวิโศมากกว่าวิธีการจัดการแบบอื่นเลย มิหนำซ้ำกลับเต็มไปด้วยปัญหาและความยุ่งยากจากกฎ ระเบียบ หรือกระบวนการทางกฎหมายที่อยู่ในระบบราชการมากมาย ถึงขนาดเปรียบเปรยแนวคิดการจัดการแบบราชการ (Bureaucracy) ของ Max Weber ว่าเป็นเสมือน “วงจรแห่งความชั่วร้าย” ที่จะนำไปสู่การทำงานที่ก่อให้เกิด “การทำงานที่ผิดเป้าหมาย (goals displacement)”
นางสาวเกศรา จักรโนวัน รหัสนักศึกษา 63423471128 รุ่นที่ 46
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
ตอบ = รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ (new public administration) มุ่งเน้นส่งให้การบริหารจัดการภาครัฐปรับเปลี่ยนมาศึกษาบทบาทการบริหารงานภาครัฐกับประเด็นสาธารณะ ที่สอดคล้องกับความต้องการและความหลากหลายทางสังคมมากขึ้นและได้เกิดแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ขึ้น(new public management)เพื่อปฏิรูปการทำงานของภาครัฐซึ่งเป็นการพลิกบทบาทการบริหารงานของภาครัฐที่ต้องดำเนินการร่วมกับภาคเอกชนในการดำเนินกิจการสาธารณะการบริการสาธารณะแนวใหม่ (new public service) นำไปปรับปรุงการบริหารงานของภาครัฐในการเข้าไปมีส่วนร่วมกับภาครัฐในการดำเนินกิจการสาธารณะเป็นหลักปฏิบัติในการบริหารงานภาครัฐ.
การบริหารงานภาครัฐในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์นั้น มีการขยายขอบเขตที่กว้างขึ้นและร่วมสมัยมากขึ้น ทั้งในด้านการศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) การจัดการแบบเครือข่าย (network governance) และการบริหารจัดการองค์การร่วมสมัย (contemporary organizationtheory) การบริหารงานภาครัฐจะปรับเปลี่ยนไปตามกระแสการพัฒนามากขึ้นทั้งการศึกษาการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ จึงกล่าวได้ว่าการศึกษาการบริหารงานภาครัฐในแนวทางของรัฐประศาสนศาสตร์นั้นมีแนวโน้มในการพัฒนาศาสตร์องค์ความรู้ในเชิงปฏิบัติที่สอดคล้องกับบริบทการพัฒนา ทั้งองค์รู้ที่เป็นแนวคิดกระแสหลักและกระแสรองเพื่อตอบสนองกับการอธิบาย
ปรากฏการณ์การพัฒนาในสังคมที่มีความหลากหลาย รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่คือการจัดการภาครัฐแนวใหม่(New Public Management: NPM)การบริการสาธารณะแนวใหม่ (New Public Service: NPS) และแนวคิดการจัดการภาคีสาธารณะแนวใหม่(New Public Governance: NPG)
นางสาวเกศรา จักรโนวัน รหัสนักศึกษา 63423471128 รุ่นที่ 46
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน.
ตอบ = การบริการสาธารณะแนวใหม่(NPS)ให้ความสำคัญกับพลเมือง (Citizen First) ผลประโยชน์สาธารณะ (Public Interest) ความเป็นประชาธิปไตย(Democratic) ความสามารถในการรับผิดชอบได้ต่อพลเมือง(Accountability) การเจรจาต่อรองเพื่อหาข้อสรุปและพันธะสัญญาต่อพลเมืองและชุมชน(Community) เพื่อกระจายผลประโยชน์สาธารณะนั้นไปสู่สังคมอย่างแท้จริงขณะที่ TPA ยังมองประชาชนเป็นเพียงผู้รอรับบริการจากรัฐ(Client) เน้นการบริหารภายในมากกว่าภายนอก ยังคำนึงถึงเรื่องประสิทธิภาพประสิทธิผลและประหยัดเป็นค่านิยมหลักในทางการบริหาร จัดองค์การแบบทางการที่เน้นสายการบังคับบัญชาผลประโยชน์สาธารณะถูกกำหนดโดยฝ่ายการเมืองและข้าราชการประจำ หรือกำหนดไว้แล้วในนโยบายและกฎหมายต่างๆความรับผิดชอบได้เป็นเรื่องของผู้เชี่ยวชาญและนักบริหารระดับสูง กระบวนการตัดสินใจต่างๆจึงถูกผูกขาดอยู่ในกลุ่มนักการเมืองและข้าราชการ พลเมืองหรือประชาชนจึงเข้ามามีส่วนร่วมได้ในระดับที่จากัดการปฏิบัติงานก็เป็นไปกฎเกณฑ์ กฎระเบียบ จนส่งผลให้เกิดการทางานที่ขาดประสิทธิภาพและล่าช้าข้าราชการก็ขาดแรงจูงใจในการทางานและถูกปิดกั้นในความคิดสร้างสรรค์
การบริการสาธารณะแนวใหม่(NPS) กับรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (NPA) นั้นมีสาระสำคัญและค่านิยมพื้นฐานที่คล้ายคลึงกันมากไม่ว่าจะเป็นการเน้นการมีส่วนร่วมของพลเมือง ความเป็นประชาธิปไตย บทบาทของนักบริหารรัฐกิจในการเปลี่ยนแปลงสังคมค่านิยมการบริหารที่ไม่ใช่เฉพาะเรื่องประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประหยัดเท่านั้น แต่ยังให้ความสำคัญกับเรื่องความเสมอภาคเป็นธรรม ความรับผิดชอบได้ จริยธรรมในการบริหาร ซึ่งความคล้ายคลึงกันนี้ทำให้มองได้ว่าแนวคิดทั้งสองเป็นกลุ่มแนวคิดเดียวกันเป็นแนวคิดเชิงปทัสถานที่ปฏิเสธปฏิฐานนิยมทางตรรกะ (anti-logicalpositivism) เหมือนกัน เพียงแต่ NPS มาขยายรายละเอียดของNPA เพิ่มขึ้นในหลายๆ ประเด็นเท่านั้น โดย NPS มีระดับในเรื่องการค้นหาความต้องการหรือความจาเป็นของพลเมือง ตลอดจนเรื่องประชาธิปไตยที่มีระดับที่เพิ่มมากขึ้นกว่าNPA และยังพบอีกว่า NPA ถือเป็นหนึ่งในแนวคิดที่เป็นรากฐานของNPS สำหรับความแตกต่างระหว่างการบริการสาธารณะแนวใหม่(NPS) กับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
นางสาวเกศรา จักรโนวัน รหัสนักศึกษา 63423471128 รุ่นที่ 46
(ต่อ) Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน.(NPM) นั้นมีอยู่หลายประเด็นที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงเพราะความตั้งใจของ NPS ในการเป็นแนวคิดหรือวาทกรรมเชิงวิพากษ์NPM ตั้งแต่ที่ NPS ไม่เห็นด้วยที่จะมองประชาชนเป็นลูกค้าเหมือนNPM แต่กลับเห็นว่าประชาชนคือพลเมืองที่ต้องการผลประโยชน์ของส่วนรวมหรือผลประโยชน์ระยะยาวมากกว่าผลประโยชน์ส่วนตนหรือผลประโยชน์ระยะสั้นในการบริการสาธารณะนักบริหารรัฐกิจก็เป็นเพียงผู้รับผิดชอบร่วมหาใช่ผู้ประกอบการหรือเจ้าของกิจการไม่ประสิทธิภาพและผลิตภาพไม่ใช่เรื่องที่มีความสำคัญมากไปกว่าความเสมอภาค เป็นธรรม และความรับผิดชอบได้ของภาครัฐโดยเห็นว่าค่านิยมในเรื่องความเป็นธรรม จริยธรรมและความรับผิดชอบได้ต่างหากที่เป็นเป้าหมายของการบริการสาธารณะการบริการของรัฐไม่ได้เป็นการส่งมอบสินค้าหรือบริการให้แก่พลเมืองเท่านั้นแต่มันคือการส่งมอบความเป็นประชาธิปไตยไปสู่พลเมือง
สรุป แนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS) เป็นแนวคิดเชิงปทัสถานเน้นการวิพากษ์และมีลักษณะเป็นวาทกรรม (discourse) ที่มีเป้าหมายของการนำเสนอเพื่อการวิพากษ์วิจารณ์แนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์อื่นๆโดยเฉพาะการวิพากษ์แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่(NPM) ซึ่งเป็นแนวคิดที่อาศัยรูปแบบการบริหารจากภาคเอกชนมาใช้ โดยประเด็นการวิพากษ์ที่สำคัญคือการจัดการภาครัฐแนวใหม่(NPM) ได้ทำให้เกิดช่องว่างในการบริหารภาครัฐ โดยเฉพาะในเรื่องของความชอบธรรมความสามารถรับผิดชอบได้ การตรวจสอบได้ ภาวะผู้นาและจริยธรรมในทางการบริหาร ซึ่งในหลายกรณีได้เบี่ยงเบนไปจากวิถีทางของประชาธิปไตยโดยเฉพาะในเรื่องของการอยู่นอกเหนือขอบเขตของหลักกฎหมายมหาชน การทุจริตเชิงนโยบายและความขัดแย้งต่อหลักผลประโยชน์สาธารณะการที่สวมวิญญาณผู้ประกอบการมาทำหน้าที่บริหารภาครัฐนั้นทำให้เกิดการมองประชาคนเป็นเพียงลูกค้าให้ความสำคัญเฉพาะการสร้างความพึงพอใจหรือผลประโยชน์เฉพาะหน้าในระยะสั้นๆ เท่านั้น.


นางสาวเกศรา จักรโนวัน รหัสนักศึกษา 63423471128 รุ่นที่ 46
Assignment 3.แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสู่ขอบเขตอะไรบ้าง.
ตอบ = อนาคตของรัฐประศาสนศาสตร์ย่อมมีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญมี 5 แนวโน้ม คือ เครือข่ายการบริหารกิจการบ้านเมือง การมีส่วนร่วมของประชาชน การบริหารกิจการบ้านเมืองอิเล็กทรอนิกส์ ความโปร่งใส และความเป็นหุ้นส่วนระหว่างรัฐ-เอกชน ส่วนประเด็นการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญอื่น ๆ ได้แก่ รูปร่างของหน่วยงานภาครัฐ การปฏิรูปการจัดการภาครัฐ ความเท่าเทียมกัน การจัดการคนและองค์การ ความสอดคล้องกับสังคม และความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้.
1.เครือข่ายการบริหารกิจการบ้านเมือง (Governance Networks)โครงสร้างภาครัฐกำลังเปลี่ยนแปลงและกลไกใหม่ ๆ จะถูกนำมาใช้เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลง
2.การมีส่วนร่วมของพลเมือง (Citizen Participation)นักวิชาการกล่าวว่า แนวคิดในระบอบประชาธิปไตยของภาครัฐต้องให้พลเมืองกำหนดนโยบายสาธารณะและเป็นผู้นำนโยบายไปสู่การปฏิบัติตามวิถีทางอนาคต
3.การบริหารกิจการบ้านเมืองอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง“การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของภาครัฐเพื่อมุ่งหมายปรับปรุงข่าวสารและส่งมอบบริการเพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของพลเมืองในกระบวนการตัดสินใจและท าให้ภาครัฐเพิ่มความสามารถในการตรวจสอบได้ โปร่งใสและมีประสิทธิผล”
4.ความโปร่งใส (Transparency)สหประชาชาติระบุว่าความโปร่งใสของภาครัฐตั้งอยู่บนการเข้าถึงข่าวสารของพลเมืองและการอำนวยความสะดวกให้พลเมืองเข้าใจกระบวนการตัดสินใจ
5.ความเป็นหุ้นส่วนระหว่างรัฐ-เอกชน: พื้นที่เพิ่มค่าเชิงธุรกิจ (Public-private Partnerships: Business Improvement Districts)การมีส่วนร่วม การเอาใจใส่และการมีพันธกรณีว่าจะปรับปรุงชุมชนของตน คือ สิ่งที่มีความสำคัญรวมถึงชุมชนธุรกิจและย่านธุรกิจของเมืองแบบดั้งเดิม ชุมชนที่มีมากมายและกำลังเพิ่มมากขึ้นเหล่านี้ต่างแสวงหาและค้นพบวิธีการสร้างแนวทางสู่ความสำเร็จของการพัฒนา การฟื้นฟู และการปรับปรุงโดยการสร้างพื้นที่เพิ่มค่าเชิงธุรกิจ
นางสาวเกศรา จักรโนวัน รหัสนักศึกษา 63423471128 รุ่นที่ 46
Assignment 4. . อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
อิทธิพลทางความคิดของสำนักพฤติกรรมนิยมที่สำคัญคือ
1) นักวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ได้เริ่มนำระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตร์สังคมและพฤติกรรมมาใช้ในงานวิจัยพื้นฐานของรัฐประศาสนศาสตร์เป็นส่วนใหญ่ จนขาดความเอาใจใส่ต่องานวิจัยประยุกต์
2) การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้มุ่งไปสู่ทิศทางของการวิจัยเชิงปริมาณมากขึ้น ในขณะที่ละเลยการวิจัยเชิงคุณภาพ
3) นักวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ภายใต้สำนักพฤติกรรมนิยมได้ทุ่มเทความสนใจไปสู่การสร้างทฤษฎีระดับสูงและทฤษฎีระดับกลางมากยิ่งกว่าทฤษฎีระดับล่าง ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์จึงควรมีลักษณะที่เป็นองค์ความรู้สากล ซึ่งไม่จำกัดด้วยวัฒนธรรม เวลา สถานการณ์ และระเบียบวิธีวิจัยทั้งที่ในความเป็นจริง
4) สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์เริ่มได้รับการพัฒนาเข้าสู่ความเป็นสหวิทยาการมากยิ่งขึ้น
แนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่
1. เห็นว่านักบริหาร (administrators) เป็นผู้ที่ปฏิบัติงานทั้ง 2 อย่าง คือก าหนดนโยบายและ
บริหารนโยบาย ดังนั้น เรื่องนโยบายและการบริหารจึงควรเป็นเรื่องที่ต่อเนื่องกัน นักบริหารควรได้รับ
การมอบหมายทั้งเรื่องการจัดการที่ดีและความเป็นธรรมในสังคม ซึ่งถือเป็นค่านิยม วัตถุประสงค์ หรือ
เหตุผลร่วมกันของรัฐประศาสนศาสตร์ 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ห่วงใยเรื่องการเปลี่ยนแปลง คือ รัฐประศาสนศาสตร์จะต้อง
พยายามแสวงหาหนทางที่จะเปลี่ยนแปลงนโยบายและโครงสร้างต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคขัดขวางความเป็น
ธรรมในสังคม วัตถุประสงค์ของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ คือ 1) การจัดการที่ดี 2)มีประสิทธิภาพ
3) ประหยัด และ 4) มีความเป็นธรรมทางสังคม 3. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีแนวโน้มที่จะศึกษาแบบทดลองหรือสนับสนุนรูปแบบของการจัดองค์การราชการที่แก้ไขในแนวคิดบางประการ
4. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่สนับสนุนการปกครองโดยฝ่ายบริหารที่ไม่แต่เพียงพยายามแสวงหาทางที่จะให้ฝ่ายบริหารปฏิบัติหน้าที่ในการกำหนดนโยบายตามอำนาจที่ได้รับมอบให้เป็นผลสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และประหยัดที่สุด แต่พึงพยายาม แสวงหาหนทางที่จะใช้ในการบริหารนโยบาย เพื่อช่วยปรับปรุงคุณภาพของชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน
5. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ พยายามที่จะให้มีการมุ่งความสนใจไปที่ตัว ปัญหาและ
พยายามพิจารณาทางเลือกต่างๆ ที่เป็นไปได้ในการเผชิญกับปัญหานั้นๆโดยสถาบัน
6. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่เน้นในส่วนที่เป็นราชการมากกว่าบริหารทั่วๆไปในการแก้ไขปัญหา
รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่จะมุ่งเน้นแนวศีลธรรม (moral tones) แต่เบื้องหลังความคิดของกลุ่มนี้คือการเรียกร้องความเป็นอิสระจากทั้งรัฐศาสตร์และการจัดการรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ก็ได้รับการยอมรับว่าเป็นทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change) ที่มุ่งให้ความสำคัญต่อปัญหาสาธารณะและการแก้ไขปัญหาสาธารณะ การศึกษาผลกระทบขององค์การต่อผู้รับบริการและผลกระทบของผู้รับบริการต่อองค์การ และการให้ความสำคัญต่อความเสมอภาค และความเป็นธรรมในสังคม ซึ่งนับได้ว่าเป็นครั้งแรกที่รัฐประศาสนศาสตร์ให้ความสนใจต่อการศึกษาปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นภายนอกองค์การ.
น.ส.ณัฐภรณ์ ยศพิมพ์ รหัส 63423471025
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM) เป็นการบริหารงาน
ที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ มีมาตรฐานวัดได้ ใช้กลไกการตลาดเปิดโอกาสในการแข่งขันทั้งภาคเอกชน และภาค ประชาชนในการเข้าร่วมการลงทุนอย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ การให้บริการที่ตอบสนองต่อความ ต้องการของประชาชน ดังนั้นเพื่อให้ระบบราชการมีความสอดคล้องกับแนวคิดการปฏิรูประบบราชการ ควรมีลักษณะ คือ รัฐจะมีบทบาทหน้าที่เฉพาะในส่วนที่จำเป็นจะต้องทำเท่านั้นเพื่อเปิดโอกาสให้ ประชาชนและชุมชนมีบทบาทมากขึ้น มีการบริหารจัดการภายในภาคราชการที่มีความรวดเร็ว คุณภาพสูง และมีประสิทธิภาพ มีการจัดองค์กรที่มีความกะทัดรัดคล่องตัวและปรับเปลี่ยนได้อย่าง รวดเร็ว เน้นการทำงานที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือตามลักษณะของการทำงานที่ทันสมัย ใช้อุปกรณ์ที่ เหมาะสมต่อการทำงาน มีการพัฒนาสมรรถนะข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีคุณภาพสูง ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์โดยมีประชาชนเป็นเป้าหมาย มีกลไกการบริหารงานบุคคล ที่หลากหลาย มีระบบค่าตอบแทนที่เป็นธรรมเพื่อเปิดโอกาสให้บุคคลที่มีความรู้ความสามารถเต็มใจ มารับราชการอย่างมืออาชีพ มีวัฒนธรรมองค์กรและมีบรรยากาศในการทำงานแบบมีส่วนร่วม มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ดังนั้น การบริหารจัดการภาครัฐเป็นนวัตกรรมทางการบริหารอย่างหนึ่งเพื่อดำเนินการ ขับเคลื่อนการปฏิรูประบบราชการไทย ได้มีการประยุกต์ใช้เป็นหลักคิด หลักปฏิบัติ โดยมีเป้าประสงค์ หลักของการพัฒนาระบบราชการไทย คือ พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้น ปรับบทบาท ภารกิจให้มีความเหมาะสม ยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการท างานให้เทียบเท่าเกณฑ์สากล และตอบสนองต่อการบริหารปกครองอย่างมีประสิทธิภาพ
ลักษณะสำคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ลักษณะสำคัญของการบริหารนำเสนอแนวคิดนี้ได้อย่างครอบคลุมที่สุดคือ โจนาธาน บอสตัน (Jonathan Boston) และคณะ (ทศจัดการภาครัฐแนวใหม่ แม้จะมีนักวิชาการแสดงทัศนะไว้อย่าง หลากหลาย แต่นักวิชาการรุ่นแรกๆ โดยสรุปลักษณะสำคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ 10 ประการ ดังต่อไปนี้
1) มีความเชื่อว่าการบริหารงานมีลักษณะความเป็นสากลสภาพ หรือไม่มีความแตกต่าง อย่างเป็นนัยสำคัญระหว่างการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชน และการบริหารงานภาครัฐ
2) ปรับเปลี่ยนการให้น้ำหนักความสำคัญจากเดิมที่มุ่งเน้นการควบคุมทรัพยากร และกฎระเบียบ เป็นเรื่องของการควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์ หรือปรับเปลี่ยนจากการให้ความสำคัญ ในภาระรับผิดชอบต่อกระบวนงาน (Process Accountability) ไปสู่ภาระรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธิ์ (Accountability for result)
3) ให้ความสำคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย
4) โอนถ่ายอำนาจการควบคุมของหน่วยงานส่วนกลาง (Devolution of Centralized Power) เพื่อให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน
5) ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่โดยแบ่งออกเป็น 3 ภารกิจ ได้แก่
1. งานเชิงพาณิชย์ (การกำกับดูแล ควบคุม)
2. งานเชิงพาณิชย์ (การกำกับดูแล ควบคุม)
3. งานเชิงนโยบายและการให้บริการ เพื่อให้องค์การมีขนาดเล็กลงในรูปแบบของหน่วยงานอิสระใน กำกับ
6) เน้นการบริหารกิจการของรัฐเป็นรูปแบบเอกชนและให้มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอก (Outsourcing) รวมทั้งบูรณาการวิธีการจัดจ้างและการประมูลงาน (Competitive Tendering) เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและลดต้นทุน
7) บุคลากรของภาครัฐในเรื่องการทำสัญญาจ้างปรับให้เป็นระยะสั้น กำหนดเงื่อนไข ข้อตกลงให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบได้
8) นำรูปแบบการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชนที่ประสบความสำเร็จมาประยุกต์ใช้ เช่น การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารคุณภาพเชิงรวม การจ่ายรางวัลค่าตอบแทนตามผลงาน การจัด จ้างบุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวเฉพาะกิจ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการบริหารงาน
9) มีการสร้างแรงจูงใจในองค์การ เช่น การจ่ายตอบแทนในรูปของตัวเงินมากขึ้นเพื่อ เป็นรางวัล (Monetary Incentives)
10) พยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต เพื่อให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณที่คุ้มค่า
ดังนั้นลักษณะสำคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ เป็นการปรับเปลี่ยนการควบคุม ผลผลิตและผลลัพธ์ มีความเป็นสากล ให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหาร และให้ความสำคัญต่อ เรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่ ให้มีขนาดเล็กลง รวมทั้งการประยุกต์ใช้วิธีการจัดจ้างและการแข่งขันประมูลงานเพื่อลดต้นทุน มีการสร้างแรงจูงใจ และให้รางวัลตอบแทนมากขึ้น สร้างระเบียบวินัยและความประหยัดในการใช้ จ่ายเงินงบประมาณ โดยพยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต

น.ส.ณัฐภรณ์ ยศพิมพ์ รหัส 63423471025
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่เป็นการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ โดยนำหลักการ เพิ่มประสิทธิภาพและการแสวงหาประสิทธิภาพของระบบราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศนำเอาแนวทาง หรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้กับการบริหารงานภาครัฐ ตลอดทั้งการมุ่งเน้น การให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ เหตุผลที่มีการน าแนวคิดการ บริหารงาน ภาครัฐแนวใหม่มาใช้เนื่องจากกระแสโลกาภิวัตน์ ส่งผลให้สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก ประเทศ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับองค์การทั้งภาครัฐและเอกชน ที่ต้องเพิ่มศักยภาพและความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยน เพื่อตอบสนองความต้องการของระบบที่ เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งระบบราชการไทยมีปัญหาที่สำคัญ คือ การขาดธรรมาภิบาล และหากภาครัฐ ไม่ปรับเปลี่ยนและพัฒนาการบริหารจัดการของภาครัฐเพื่อไปสู่องค์กรสมัยใหม่โดยยึดหลักธรรมาภิบาล
การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่จึงเป็นแนวคิดพื้นฐานของการบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่งจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงระบบของภาครัฐและยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ ที่เป็นรูปธรรม โดยมีแนวทางใน การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน กำหนดการวัดผลและการให้รางวัลแก่ผลการดำเนินงานทั้งใน ระดับองค์กรและระดับบุคคล เปิดกว้างต่อแนวคิดในเรื่องของการแข่งขัน ทั้งการแข่งขันระหว่างหน่วย งานของรัฐ ด้วยกันและระหว่างหน่วยงานของรัฐกับหน่วยงานของภาคเอกชน ลดการควบคุม จากส่วนกลางและเพิ่มอิสระในการบริหารให้แก่หน่วยงาน สร้างระบบสนับสนุนทั้งในด้านบุคลากร เทคโนโลยีเพื่อช่วยให้หน่วยงาน สามารถทำงานได้อย่างบรรลุวัตถุประสงค์
การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ หมายถึง การปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ โดยนำหลักการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการและการแสวงหาประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ โดยการนำเอาแนวทางหรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้ กับการบริหารงานภาครัฐ เช่น การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์การบริหารงานแบบมืออาชีพ การคำนึงถึงหลักความคุ้มค่า การจัดการโครงสร้างที่กะทัดรัดและแนวราบ การเปิดโอกาสให้เอกชน เข้ามาแข่งขันการให้บริการสาธารณะ การให้ความสำคัญต่อค่านิยม จรรยาบรรณวิชาชีพ ตลอดทั้ง การมุ่งเน้นการให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสู่ขอบเขตอะไรบ้าง
การสร้างความพร้อมของระบบราชการไทยเพื่อเข้าสู่การเป็น ประชาคมอาเซียน เพื่อการสร้างความพร้อมของระบบบริหารงานของหน่วยงานที่มีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน มีเป้าหมายเพื่อเตรียมความพร้อมของระบบราชการไทยเพื่อรองรับการก้าว เข้าสู่ประชาคมอาเซียน รวมทั้งประสานพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือกันในการส่งเสริมและยกระดับธรรมาภิบาลในภาครัฐของประเทศสมาชิกอาเซียน อันจะนำไปสู่ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ความมั่นคง ทางการเมือง และความเจริญผาสุกของสังคมร่วมกัน ดังนั้น แนวทางการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ ราชการไทย (พ.ศ. 2556-2561) ได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ไว้โดยการพัฒนางานบริการ ของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐสู่ความเป็นเลิศ โดยเน้นการจัดโครงสร้างองค์การที่มีความทันสมัย พัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากรให้มีความเป็นมืออาชีพ วางระบบการบริหารจัดการสินทรัพย์ ของราชการอย่างครบวงจรให้เกิดประโยชน์สูงสุด บูรณาการการท างานร่วมกันภายในระบบราชการ ส่งเสริมให้หน่วยงานราชการทบทวนบทบาทและภารกิจของตนให้มีความเหมาะสม มุ่งเน้นการพัฒนา รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับภาคส่วนอื่น วางกลไกให้หน่วยงานของรัฐสร้างความโปร่งใส ในการปฏิบัติราชการ และสร้างความพร้อมของระบบราชการไทยเพื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน
Assignment 4. อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
การพัฒนาระบบราชการที่ผ่านมาได้นำแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่มาปรับใช้ โดยมีเหตุผลหลักที่สำคัญจากปัญหาของระบบราชการไทยที่มีหลายประการและสั่งสมมานาน และกระแสโลกาภิวัตน์ส่งผลให้สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกประเทศ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ การลดความเหลื่อมล้ำที่เน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืน และทั่วถึงเป็นธรรม การเติบโตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม ภายใต้ปัจจัยด้านต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลงในสภาวะแวดล้อมของประเทศ ความต้องการและความคาดหวังต่อการได้รับบริการจากภาครัฐเพิ่มสูงขึ้น ตลอดจนการมุ่งแก้ไขปัญหาที่ สั่งสมมาของระบบราชการไทยในเรื่องโครงสร้างนวัตกรรม กฎหมาย กฎระเบียบ ที่เป็นอุปสรรค และ ซ้ำซ้อนไม่ทันสมัย ทั้งนี้ได้กำหนดแผนกลยุทธ์และมาตรการในการพัฒนาระบบราชการ ได้แก่
1) การลด ขั้นตอนและระยะเวลาในการปฏิบัติราชการ
2) การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชน ให้เป็นที่ยอมรับ ปรับปรุง แก้ไข ยกระดับ และพัฒนากฎหมาย ระเบียบ ขั้นตอนการให้บริการ การอำนวยความสะดวก และมาตรฐานของส่วนราชการ
3) การพัฒนาขีดสมรรถนะและศักยภาพของ ข้าราชการการน าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาใช้ในการให้บริการประชาชน (e-Service) การแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนจากการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการและการทุจริตคอร์รัปชัน
4) การบูรณาการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานและภาคส่วนต่าง ๆ โดยยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ ราชการจึงได้กำหนดให้ปรับปรุงกลไกภาคราชการให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส สามารถตอบสนอง ความต้องการของประชาชนได้ และก่อให้เกิดความเชื่อมั่น ศรัทธาต่อการท างานของภาคราชการเพิ่มขึ้น ซึ่งจะเอื้อต่อการเสริมสร้างรากฐานที่เข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และสังคมในการพัฒนาประเทศ และพร้อม ที่จะรองรับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคต
supreya said…
นางสาวสุปรียา หมื่นทอง63423471141
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ หมายถึง การปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ โดยนำหลักการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการและการแสวงหาประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศโดยการนำเอาแนวทางหรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้ กับการบริหารงานภาครัฐ เช่น การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ การบริหารงานแบบมืออาชีพ การคำนึงถึงหลักความคุ้มค่า การจัดการโครงสร้างที่กะทัดรัดและแนวราบ การเปิดโอกาสให้เอกชนเข้ามาแข่งขันการให้บริการสาธารณะ การให้ความสำคัญต่อค่านิยมจรรยาบรรณวิชาชีพ ตลอดทั้งการมุ่งเน้นการให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ
ในทัศนะของ Grueing (2001, pp. 10-11) มองว่าทฤษฎีการจัดการสาธารณะ โดยเฉพาะการจัดการภาครัฐแนวใหม่ที่มีการสร้างแขนงวิชาในช่วง ทศวรรษที่ 1970s ประกอบสร้างจากรัฐประศาสนศาสตร์แนวนีโอคลาสสิกซึ่งแตกออกเป็นทฤษฎีการจัดการสาธารณะใน 2 กลุ่ม คือ
ก) กลุ่มที่มุ่งไปสู่รูปแบบการจัดการเชิงกลไกหรืออย่างมีเหตุผล (Rational/ Mechanistic management) ที่เน้นการจัดการตามเป้าหมาย (Sherwood and Page, 1976) เทคนิคการวัดผลการปฏิบัติงานและการตรวจสอบ (Henry, 1990) การตลาดภาครัฐ (Kotler, 1975) และการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Wechsler and Backoff, 1986) แนวการศึกษาอย่างมีเหตุผลเน้นการเก็บรวบรวมข้อมูลและ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาคำตอบที่เหมาะสมให้กับปัญหาทางการจัดการสาธารณะอีกทั้งยังเน้นการวัดผลการปฏิบัติงานและให้รางวัลบนพื้นของการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result based management) และ
ข) กลุ่มที่มุ่งไปสู่รูปแบบการจัดการเชิงมนุษย์นิยมหรือการจัดการที่มององค์การเป็นสิ่งมีชีวิต (Humanistic/ organic management) โดยการจุดประกายทางความคิดจากผลงานของ Peters และ Waterman (1982) ที่แสดงให้เห็นว่าบริษัทอเมริกันที่ดีที่สุดและประสบความสำเร็จมากที่สุดต่างมิได้ใช้รูปแบบการจัดการเชิงกลไกลอย่างมีเหตุผลแต่ประการใดในทางตรงข้ามบริษัทเหล่านี้ต่างใช้โครงสร้างแบบมีชีวิต (Organic structure) กลยุทธ์เชิงมนุษย์นิยม (Humanistic strategies) และวัฒนธรรมอย่างข้น (Thick culture) อาทิ การสร้างวัฒนธรรมองค์การในรูปของความรู้ความเชื่อ ศีลธรรม ประเพณี ศิลปะ ตลอดจนกฎระเบียบต่างๆที่เป็นที่ยอมรับร่วมกันในองค์การต่อลูกจ้างของตนเป็นการปรับเปลี่ยนไปสู่รูปแบบการบริหารเชิงมนุษย์นิยมมากขึ้นโดยอาศัยเทคนิคต่างๆอาทิ การพัฒนาองค์การ (Golembiewski, 1969) การจัดการคุณภาพโดยรวม(Milakovich, 1991; Swiss, 1992) การจัดการเชิงกลยุทธ์ที่เน้นวัฒนธรรม (Moore, 1995) เป็นต้น
supreya said…
นางสาวสุปรียา หมื่นทอง63423471141
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ลักษณะสำคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ 10 ประการ ดังต่อไปนี้
1) มีความเชื่อว่าการบริหารงานมีลักษณะความเป็นสากลสภาพหรือไม่มีความแตกต่างอย่างเป็นนัยสำคัญระหว่างการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชนและการบริหารงานภาครัฐ
2) ปรับเปลี่ยนการให้น้ำหนักความสำคัญจากเดิมที่มุ่งเน้นการควบคุมทรัพยากร และกฎระเบียบเป็นเรื่องของการควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์หรือปรับเปลี่ยนจากการให้ความสำคัญ ในภาระรับผิดชอบต่อกระบวนงาน (Process Accountability) ไปสู่ภาระรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธิ์ (Accountability for result)
3) ให้ความสำคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย
4) โอนถ่ายอำนาจการควบคุมของหน่วยงานส่วนกลาง (Devolution of Centralized Power) เพื่อให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน
5) ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่โดยแบ่งออกเป็น 3 ภารกิจ ได้แก่ 1. งานเชิงพาณิชย์ (การกำกับดูแล ควบคุม)
2. งานเชิงพาณิชย์ (การกำกับดูแล ควบคุม) และ
3. งานเชิงนโยบายและการให้บริการเพื่อให้องค์การมีขนาดเล็กลงในรูปแบบของหน่วยงานอิสระในกำกับ
6) เน้นการบริหารกิจการของรัฐเป็นรูปแบบเอกชนและให้มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอก (Outsourcing) รวมทั้งบูรณาการวิธีการจัดจ้างและการประมูลงาน (Competitive Tendering) เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและลดต้นทุน
7) บุคลากรของภาครัฐในเรื่องการทำสัญญาจ้างปรับให้เป็นระยะสั้นกำหนดเงื่อนไขข้อตกลงให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบได้
8) นำรูปแบบการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชนที่ประสบความสำเร็จมาประยุกต์ใช้ เช่น การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารคุณภาพเชิงรวม การจ่ายรางวัลค่าตอบแทนตามผลงาน การจัดจ้างบุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวเฉพาะกิจ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงาน
9) มีการสร้างแรงจูงใจในองค์การ เช่น การจ่ายตอบแทนในรูปของตัวเงินมากขึ้นเพื่อ เป็นรางวัล (Monetary Incentives)
10) พยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิตเพื่อให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณที่คุ้มค่า (ทศพร ศิริสัมพันธ์, 2551)
supreya said…
นางสาวสุปรียา หมื่นทอง63423471141
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง
การศึกษารัฐประศาสนศาสนศาสตร์ทั้งสามยุคที่ได้อธิบายไว้ในข้างต้นนั้นส่งผลให้ศาสตร์สาขาวิชาได้ถูกพัฒนาและเกิดการทบทวนองค์ความรู้ในการอธิบายการบริหารงานภาครัฐทำให้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐนั้นได้ถูกจำแนกตามจุดสนใจทั้งในด้านการค้นหาหลักการบริหารภาครัฐและการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัยสืบเนื่องจากแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่นั้นได้ขยายขอบเขตการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐให้กว้างขึ้นจนกระทั่งการการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลกภายใต้อิทธิพลของแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ได้นำมาสู่การศึกษาการบริการสารธารณะแนวใหม่เพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารภาครัฐโดยมุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการดำเนินสาธารณกิจต่างๆร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชนภายใต้หลักการบริหารแบบประชาธิปไตยส่งผลให้ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งประเด็นไปที่การศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) ในการบริหารงานของภาครัฐ การจัดการแบบเครือข่าย (network governance) เช่น องค์การ ไม่แสวงหาก าไร (nonprofit organization) อาสาสมัคร(volunteer) เป็นต้น และการบริหารจัดการองค์การร่วม สมัย (contemporary organization theory) เช่น การสร้างความร่วมมือในองค์การ (collaboration) ทุนมนุษย์ (human capital) (วัชรพล ศุภจักรวัฒนจา และวัชรพล พุทธรักษา, 2561) นอกจากนี้แนวโน้มการศึกษาของสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตภายใต้บริบทการพัฒนาในยุคอุตสาหกรรมดิจิตอลขอบเขตของการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะขยายประเด็นไปถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการดำเนินสาธารณกิจของภาครัฐ เช่น การจัดการข้อมูลการนำระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการดำเนินการบริหารงานภาครัฐ (e-government) เป็นต้น รวมไปถึงการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ (บุญทัน ดอกไธสง, 2562: 41-43) ดังนั้นทิศทางและแนวโน้มของการศึกษาการบริหารงานภาครัฐในอนาคต จะมุ่งสู่การศึกษาการ บริหารงานที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนา และการสร้างการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการ บริหารงานภาครัฐ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์การบริหารงานภาครัฐครอบคุลมในทุกมิติ ซึ่งผู้เขียนเห็นว่าการ เปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนานี้ ส่งผลให้นักวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ต้องมีการปรับตัวและเรียนรู้ กระแสการพัฒนาที่มีความหลากหลาย และอาจนำมาด้วยการขาดความเชี่ยวชาญในองค์ความรู้ใหม่ที่จะนำมาอธิบายหรือค้นหาหลักการบริหารงานภาครัฐจนนำมาสู่วิกฤตอัตลักษณ์ด้านองค์ความรู้ของศาสตร์สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงจำเป็นต้องยึดแนวทางการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของภาครัฐเพื่อหลีกเลี่ยงวิกฤตติด้านองค์ความรู้ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
supreya said…
นางสาวสุปรียา หมื่นทอง 63423471141
Assignment 4. อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
จากการศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่กับแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคต่างๆจะเห็นได้ว่าการบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS) มีความเหมือนกับแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (NPA) ค่อนข้างมากขณะที่จะมีความแตกต่างกับแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ดั้งเดิม (OPA) และแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) เป็นอย่างมากโดยความเหมือนและความแตกต่างดังกล่าวในแต่ละประเด็นมีดังนการบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS) ให้ความสำคัญกับพลเมือง (Citizen First) ผลประโยชน์สาธารณะ (Public Interest) ความเป็นประชาธิปไตย (Democratic) ความสามารถในการรับผิดชอบได้ต่อพลเมือง (Accountability) การเจรจาต่อรองเพื่อหาข้อสรุปและพันธสัญญาต่อพลเมืองและชุมชน (Community) เพื่อกระจายผลประโยชน์สาธารณะนั้นไปสู่สังคมอย่างแท้จริงขณะที่ OPA ยังมองประชาชนเป็นเพียงผู้รอรับบริการจากรัฐ (client) เน้นการบริหารภายใน มากกว่าภายนอกยังคำนึงถึงเรื่องประสิทธิภาพประสิทธิผลและประหยัดเป็นค่านิยมหลักในทางการบริหารจัดองค์การแบบทางการที่เน้นสายการบังคับเห็นว่าประชาชนคือพลเมืองที่ต้องการผลประโยชน์ของส่วนรวมหรือผลประโยชน์ระยะยาวมากกว่าผลประโยชน์ส่วนตนหรือผลประโยชน์ระยะสั้นในการบริการสาธารณะนักบริหารรัฐกิจก็เป็นเพียงผู้รับผิดชอบร่วมหาใช่ผู้ประกอบการหรือเจ้าของกิจการไม่ประสิทธิภาพและผลิตภาพไม่ใช่เรื่องที่มีความสำคัญมากไปกว่าความเสมอภาคเป็นธรรมและความรับผิด ชอบได้ของภาครัฐโดยเห็นว่าค่านิยมในเรื่องความเป็นธรรมจริยธรรมและความรับผิดชอบได้ต่างหากที่เป็นเป้าหมายของการบริการสาธารณะการบริการของรัฐไม่ได้เป็นการส่งมอบสินค้าหรือบริการให้แก่พลเมืองเท่านั้นแต่มันคือการส่งมอบความเป็นประชาธิปไตยไปสู่พลเมือง
แนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่พบว่าการบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS) มีรากฐานสำคัญ มาจาก 4 แนวคิด คือ
(1) ประชาธิปไตยพลเมือง (2) ตัว แบบชุมชนและประชาสังคม
(3) มนุษย์นิยมองค์การและ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ และ
(4) รัฐประศาสนศาสตร์หลังสมัยใหม่สาระสำคัญหรือองค์ความรู้ของ NPS ได้ มาจากการตีความ วิเคราะห์และวิพากษ์วิจารณ์แนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์อื่นๆโดยเฉพาะการวิพากษ์แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM)
หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อาจารย์ ผศ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
ธีรวัฒน์ ชาตะลี รหัสนักศึกษา 634-234-711-45 รุ่น 46
Module – 3 มี 4 ข้อ
Assignment ที่ 1 รัฐประศานศาสตร์แนวใหม่มีอะไรบ้างเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของGrueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้นอะไรบ้าง
ตอบ
แนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ เป็นการคิด การจัดระเบียบความสำคัญในการบริหารในด้านโครงสร้างต่าง ๆ ที่มีความสำคัญในด้านต่าง ๆ เช่น แนวคิดการแยกการเมืองออกจากการบริหาร ที่ไม่สอดคล้องกับสภาวะธรรมชาติความเป็นจริง อิทธิพลรัฐประศาสนาศาสตร์ต่อการพฤติกรรมสังคมที่เป็นพื้นฐาน การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ แบบจุลภาค การวิจัยภาคสนาม ลักษณะของการแสวงหาข้อมูล พฤติกรรมนิยม องค์ความรู้ต่าง ๆ ควรมีลักษณะสากล วัฒนธรรมการบริหาร เวลา สถานการณ์ ระเบียบการวิจัยที่เป็นจริง การมีส่วนร่วมกันทางสังคม การรับฟังความคิดเห็นของฝ่ายต่าง ๆ การเคารพสิทธิของตนเองและปัจจักบุคคลในสังคม ในด้านต่างๆ วัฒนธรรมองค์การ แบบบูรณาการ
รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่เป็นหลักธรรมในสังคม การบริหารเป็นการปฎิบัติงาน 2 ฝ่าย คือ การกำหนดนโยบายและการบริหารนโยบาย การบริหารควรมีความต่อเนื่อง นักบริหารควรมอบหมายในเรื่องการจัดการที่ดีและความเป็นธรรมในสังคม เป็นค่านิยม วัตถุประสงค์ เหตุผลร่วมกันในด้านรัฐประศาสนศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายทางด้านโครงสร้างต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรค ขัดขวางความเป็นธรรมในสังคม โดยมุ่งเน้นการจัดการที่ดี ประสิทธิภาพ การประหยัด ความเป็นธรรมในสังคม การศึกษาแบบทดลองราชการแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลง สนับสนุน การจัดการองค์การ เช่น การกระจายอำนาจการลดหลั่นของอำนาจ การขยายความรับผิดชอบ ระบบราชการ ควรสนับสนุนการเมืองการปกครองฝ่ายบริหาร การแสวงหาอำนาจ การปฎิบัติหน้าที่ในการกำหนดนโยบายตามที่ได้รับมอบหมาย การประหยัด เพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ควรมุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาและความพยายามพิจารณาจากตัวเลือกต่าง ๆการเปลี่ยนแปลงแก้ไข ปรับปรุงและมีจุดมุ่งหมายเพื่อบรรลุเป้าหมายในการแก้ไขปัญหา การเน้นระบบราชการทั่วไปมากกว่า ลักษณะรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่จะมีลักษณะในการบริหารที่เป็นสากลร่วมกันระหว่างรัฐกับเอกชนไม่มีความแตกต่างกันมาก มีการปรับเปลี่ยน มุ่งเน้นการควบคุมทรัพยากร กฎระเบียบต่าง ๆ ให้ความสำคัญกับทักษะในด้านการบริหารการจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย มีการถ่ายโอนอำนาจการควบคุมต่าง ๆจากส่วนกลาง เน้นการบริการด้านรูปแบบกิจการในลักษณะการจ้างงานมากกว่าเพื่อลดค่าใช้จ่ายลง การปรับเปลี่ยนโครงสร้างให้มีขนาดที่เหมาะสมกับหน่วยงานราชการต่างๆ เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการทำงาน การนำรูปแบบการบริหารเอกชนมาปรับปรุงและประยุกต์ใช้ มีการสร้างแรงจูงใจและผลสัมฤทธิ์ในการทำงานรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐ (Public Managment) หรือ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public) เป็นการมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ มีมาตรฐานที่วัดได้ โดยใช้กลไกการตลาดในการแข่งขันทั้งภาครัฐและเอกชน ภาคประชาชน ในการร่วมกันทำงานอย่างโปร่งใส การปรับเปลี่ยนสภาวะต่าง ๆในการบริหารให้เป็นไปตามสภาวะธรรมชาติ การมีส่วนร่วม รับฟังความคิดเห็นต่าง ในการสร้างวิสัยทัศน์ในการพัฒนาและแก้ไขในการเกิดขึ้นของสิ่งใหม่ ๆ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ เป็นการปรับเปลี่ยนการบริหารให้มีความคล่องตัวในการจัดการภาครัฐ โดยนำหลักการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการและการแสวงหาประสิทธิภาพในการปฎิบัติราชการสู่ความเป็นเลิศในการบริหาร เช่นการบริหารงานมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ การบริการงานแบบมืออาชีพ การให้ความสำคัญกับค่านิยม จรรยาบรรณในการบริการประชาชน

เอกสารอ้างอิง : ผศ. ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ : บรรยาย
ฉัตรชัย นาถ้ำพลอย

หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อาจารย์ ผศ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
ธีรวัฒน์ ชาตะลี รหัสนักศึกษา 634-234-711-45 รุ่น 46
Module – 3
Assignment ที่ 2 รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ การบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เหมือนกัน
ตอบ
รัฐประศานศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ การบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะที่ มุ่งเน้นความต้องการของสังคมในระดับกว้าง ในระดับการกำหนดนโยบายและการนำนโยบายไปปฎิบัติ บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม การมีส่วนร่วมในภาคส่วนต่าง ๆในเชิงบูรณาการ การให้บริการตอบสนองความต้องการของประชาชน สามารถตรวจสอบได้ โปร่งใส ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสม และการพัฒนาศักยภาพในด้านต่าง ๆของทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ เพื่อยกขีดความสามารถของคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นและดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขดังนั้นการจัดการภาครัฐแนวใหม่ควรให้ความสำคัญกับทรัพยากรมนุษย์ที่เป็นกลไกหลักในการพัฒนาในด้านต่าง ๆ เอกชน ภาครัฐ และส่วนอื่น ๆการสนับสนุนส่งเสริมความเข้มแข็งในการพัฒนา มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากทั้งการจัดระบบองค์การ การบริหารภาครัฐเป็ฯนวัตกรรมอย่างหนึ่งเพื่อดำเนินการขับเคลื่อนการปฎิรูประบบราชการไทย มีการประยุกต์ใช้หลักคิด หลักปฎิบัติ โดยมีเป้าประสงค์หลักของการพัฒนาระบบราชการไทยคือ พัฒนาคุณภาพการให้บริการปาระชาชนที่ดีขึ้น การปรับบทบาทภารกิจให้มีความเหมาะสมยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทำงานให้เทียบเท่าเกณฑ์สากลและตอบสนองการบริหารการปกครองอย่างมีประสิทธิภาพ แนวทางการบริหารการจัดการภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยถทธศาสตร์ราชการไทยประกอบด้วย การสร้างความเป็นเลิศในการให้บริการประชาชน การพัฒนาองค์การให้มีขีดความสามารถสูงทันสมัยการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารสินทรัพย์ของภาครัฐให้เกิดประโยชน์สูงสุด การวางระบบราชการแบบบูรณาการ การส่งเสริมระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกันระหว่างภาครัฐ เอกชน ภาคประชาชน การยกระดับความโปร่งใสการสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาในการบริหารราชการแผ่นดิน การสร้างความพร้อมของระบบราชการไทยเพื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน เป็นต้น รัฐประศาสนศาสตร์การบริหารการพัฒนาภาครัฐแนวใหม่เป็นการนำเอาการปรับเปลี่ยนการบริหารการจัดการภาครัฐ โดยใช้หลักการเพิ่มประสิทธิภาพและการแสวงหาประสิทธิภาพของระบบราชการมุ่งสู่ความเป็นเลิศการนำเอาระบบบริหารเอกชนมาปรับใช้กับการบริหารภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการให้บริการประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ เนื่องจากโลกาภิวัฒน์ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาควรเพิ่มศักยภาพและความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยน เพื่อตอบสนองของระบบต่อการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาการบริหารการจัดการมุ่งสู่องค์กรสมัยใหม่โดยยึดหลักธรรมาภิบาล เป็นการปรับเปลี่ยนการบริหารที่ดีมาปรับใช้

เอกสารอ้างอิง : ผศ. ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ : บรรยาย
ฉัตรชัย นาถ้ำพลอย
หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อาจารย์ ผศ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
ธีรวัฒน์ ชาตะลี รหัสนักศึกษา 634-234-711-45 รุ่น 46
Module – 3
Assignment ที่ 3 แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสู่ขอบเขตอะไรบ้าง
ตอบ
แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสู่ขอบเขตของการพัฒนาและเกิดการทบทวนองค์ความรู้ในการอธิบายการบริหารงานภาครัฐทำให้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐถูกจำแนกจุดสนใจในด้านต่าง ๆ เช่นหลักการบริหารภาครัฐ การศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัยสืบเนื่องมาจากแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ได้ขยายขอบเขตการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐให้กว้างขึ้นจนกระทั่งการปฎิรูประบบราชการเกิดขึ้นทั่วโลกภายใต้อิทธิพลแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ นำไปสู่การศึกษาการบริการสาธารณะแนวใหม่เพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารงานภาครัฐโดยมุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน พลเมืองในการดำเนินกิจการต่าง ๆร่วมกับภาครัฐ เอกชนภายใต้หลักการบริหารแบบประชาธิปไตย รัฐประศาสนศาสตร์ จะมุ่งเน้นในการศึกษาหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานภาครัฐ การจัดการแบบเครือข่าย เช่น องค์กรไม่แสวงหากำไร อาสาสมัครและการบริหารการจัดการองค์กรร่วมสมัย การนำเทคโนโลยีมาร่วมในการบริหาร ภายใต้การบริหารเทคโนโลยีดิจิตอลในการดำเนินการ แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต แนวคิดจะไม่ใช้ระบบการปฎิรูประบบราชการแต่จะเป็นการแปลงโฉมภาครัฐด้วยการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคมใหม่ ตามหลักเหตุและผลที่ได้รับการยอมรับคือระบบราชการเดิมจะใช้ไม่ได้อีกต่อไป จะมีการแปรรูปหน่วยงานต่าง ๆออกไปตามขอบข่ายและตามความต้องการของสังคมเป็นหลักเป็นการแปรรูปเป็นรัฐวิสาหกิจและการใช้บุคคลที่สามในการการดำเนินการต่างๆ แทนภาครัฐโดยอาศัยแนวคิดและวิธีการจัดการภาคเอกชนมาประยุกต์ใช้ภายใต้หลักการบริหารเอกชนและอยู่ในการกำกับดูแลตามหลักการปกครองแห่งนิติรัฐ ตามขอบข่ายมีระบบธรรมาภิบาลหรือการจัดการที่ดีในการบริหาร ขอบข่ายในรัฐประศาสนศาสตร์จะพัฒนาไปสู่รูปแบบของการศึกษานโยบายสาธารณะที่มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน การศึกษานโยบายสาธารณะจึงมีความสำคัญและจำเป็น เนื่องจากเป็นกิจกรรมของรัฐบาลเปรียบเสมือนแผนการปฎิบัติงานของรัฐบาลเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ในทางปฎิบัติ การศึกษาการบริหารงานของรัฐ การเรียนรู้นโยบายสาธารณะจะช่วยให้เข้าใจแนวทางที่เป็นกรอบชี้นำการบริหารงานทั้งหมด ในทางปฎิบัติเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่เกี่ยวข้องในการนำนโยบายไปปฎิบัติสามารถเข้าใจเทคนิคและระเบียบวิธีการในการกำหนด วิเคราะห์และประเมินผลนโยบายได้อย่างมีประสิทธิภาพ



เอกสารอ้างอิง : ผศ. ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ : บรรยาย
ผศ.พรรณเพ็ญ คุณวพานิชกุล
ฉัตรชัย นาถ้ำพลอย
หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อาจารย์ ผศ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
ธีรวัฒน์ ชาตะลี รหัสนักศึกษา 634-234-711-45 รุ่น 46
Module – 3
Assignment ที่ 4 อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ
อิทธิพลแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แบบดั่งเดิม พบว่ามีความไม่สอดคล้องกันในหลายประเด็นโดยเฉพาะเป้าหมายและคุณค่าทางการบริหารในด้านการให้ความสำคัญกับการบริหารภาครัฐต้องบรรลุผลตามหลัก 3E คือ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และ ประหยัด ส่วนแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่จะมุ่งเน้นการมีคุณค่าต่อการพัฒนาองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ที่เป็นเอกลักษณ์ เพราะเห็นว่าการบริหารงานภาครัฐเป็นสิ่งจำเป็น การบริหารภาครัฐไม่ได้ต้องการบรรลุคุณค่า รัฐประศาสนแนวใหม่ต่อพฤติกรรมบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม โดยมุ่งเน้นมิติความต้องการของสังคม การตอบสนอง นโยบาย ความรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่เป้าหมายที่กำหนดไว้ในแผนงาน การสร้างความเป็นเลิศให้กับประชาชนที่มาใช้บริการ การพัฒนาองค์การให้มีขีดความสามารถสูงที่ทันสมัย การส่งเสริมระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกันระหว่าง ภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน การยกระดับความโปร่งใสความน่าเชื่อถือศรัทธาในการบริหารราการแผ่นดิน การสร้างความพร้อมของระบบราชการไทยเพื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน แนวคิดและอิทธิพลในการปฎิรูประบบการบริหารต่อพฤติกรรม บทบาทและหน้าที่ทุกๆ ฝ่ายควรมีการแสดงความคิดเห็น การมีส่วนร่วม การยอมรับความแตกต่าง ในด้านต่าง ๆ เพื่อ ปรับเปลี่ยนการจัดการบริหารในการจัดการภาครัฐโดยการนำหลักการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการและการแสวงหาประสิทธิภาพในการปฎิบัติงานราชการมุ่งสู่ความเป็นเลิศ นำเอาแนวคิด วิธีการ การบริหารของเอกชน ทุกภาคส่วนมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมในการจัดการด้านการบริหารทั้งแนวราบและแนวดิ่ง เพื่อลดขั้นตอนและระยะเวลาในการปฎิบัติงาน และปรับปรุงพัฒนาคุณภาพในการให้บริการประชาชนให้เป็นที่ยอมรับเพื่อยกระดับในด้านต่าง ๆเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของข้าราชการการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ให้เกิดขึ้นกับประชาชน รัฐประศาสนศาสตร์จึงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนา การนำเอาแนวคิดเกี่ยวกับระบบทฤษฎีองค์การมาปรับใช้ ได้แก่ ปัจจัยนำเข้า เช่น คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ ข่าวสาร ฯลฯ ผ่านกระบวนการแปรรูปสภาพ เช่น การวางแผน การจัดการองค์การ ระบบอำนวยการ ระบบการบริหารงานบุคคล ระบบงบประมาณ ฯลฯ ผ่านไปสู่ปัจจัยนำออก เช่น ผลผลิต สินค้า บริการ ความพึงพอใจ ฯลฯ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ผู้บริหารในหน่วยงานภาครัฐต้องรับผิดชอบในการบริหารงานกับผู้บังคับบัญชาตามกฎหมายและต้องคำนึงถึงฝ่ายต่าง ๆ เช่นนักการเมือง ประชาชนผู้มาใช้บริการ ลัสาธารณะชน สำหรับผู้บริหารในหน่วยงานภาคเอกชนจะต้องรับผิดชอบ แม้ว่าจะต้องคำนึงถึงความต้องการของลูกค้าบ้างแต่ก็มีความรับผิดชอบน้อยกว่าผู้บริหารภาครัฐ

เอกสารอ้างอิง : ผศ. ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ : บรรยาย
ฉัตรชัย นาถ้ำพลอย
นายศรัณย์ สัธนานันต์ 63423471130
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง
-แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคตและการเปลี่ยนแปลงของรัฐประศาสนศาสตร์ เริ่มจากการได้อธิบายให้เห็นถึงขอบเขตเนื้อหาของรัฐประศาสนศาสตร์ในอดีตและปัจจุบันว่า ถึงแม้รัฐประศาสนศาสตร์จะเป็นวิชาที่มีการสั่งสมองค์ความรู้มาเป็นเวลายาวนานนับศตวรรษ เนื้อหาและขอบเขตของวิชาจึงมีมากมายก็ตาม แต่อาจกล่าวได้ว่ารัฐประศาสนศาสตร์ ไม่ใช่ทั้งรัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การบริหารธุรกิจ สังคมวิทยา จิตวิทยา นิติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ ภูมิศาสตร์ หรือคอมพิวเตอร์ แต่เป็นวิชาที่อาศัยการนำเอาประโยชน์จากทุกศาสตร์มาใช้ผสมผสานกันเพื่อประโยชน์ในการบริหารราชการแผ่นดิน หรืออีกนัยหนึ่งถือเป็นวิชาที่อาศัยสหวิทยาการที่มุ่งนำองค์ความรู้ทางสังคมศาสตร์สาขาต่าง ๆ และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการบริหารราชการแผ่นดินเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชน
-New Public Service เป็นข้อเสนอเกี่ยวกับพลเมืองและการคืนอำนาจให้ประชาชนโดยเดนฮาร์ดทและเดนฮาร์ดท ได้เสนอกระบวนทัศน์ใหม่ที่เรียกว่า New Public Service หรือ การบริการสาธารณะแนวใหม่ นักคิดทั้งสองมองว่ารัฐบาลไม่ต้องกุมทิศหรือชี้ทิศ และยังกล่าวถึง “Public Spirit” ที่เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนว่าเป็นเครื่องมือสำคัญในการกระตุ้นจิตวิญญาณสาธารณะ สาระสำคัญของแนวคิดนี้มีแนวทางทั้งหมด 7 ข้อ ได้แก่
1. “มุ่งรับใช้พลเมือง ไม่ใช่บริการลูกค้า” ประชาชนต้องได้รับการปฏิบัติในฐานะพลเมืองโดยการแสดงความห่วงใยถึงชุมชนและความตั้งใจจริงในการรับผิดชอบต่อสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับเพื่อนบ้านและชุมชน ในทางกลับกันภาครัฐต้องตอบสนองต่อความต้องการและความสนใจของพลเมือง ข้อนี้ยังมีไว้เพื่อเสริมแรงประชาชนให้เติมเต็มความรับผิดชอบในฐานะพลเมือง และผู้บริหารงานภาครัฐก็ต้องยอมรับเสียงของพวกเขาด้วย
2. “รัฐต้องมุ่งบริหารให้เกิดสาธารณะประโยชน์” ผู้บริหารงานภาครัฐต้องสร้างความร่วมมือและร่วมแสดงความคิดเห็นในความต้องการสาธารณะ เป้าหมายเพื่อสร้างความรับผิดชอบร่วมกันในผลประโยชน์และร่วมรับผิดชอบร่วมกันโดยถือเป็นบทบาทของภาครัฐในกระบวนการที่จะน าประชาชนมาอยู่ร่วมกันเพื่อจัดตั้งทิศทางที่สังคมควรจะเป็น ภาครัฐควรสนับสนุนให้พลเมืองกล้าออกเสียงความคิดเห็นในทุก ๆ เวทีของกระบวนการธรรมาภิบาล
3. ให้ความสำคัญกับการสร้างพลเมืองและช่วยกันทำสาธารณประโยชน์มากกว่าการสร้างนักการเมืองและข้าราชการให้เป็นเสมือนผู้ประกอบการในราชการผลประโยชน์สาธารณะเป็นเรื่องที่เจ้าหน้าที่รัฐและประชาชนต้องประสานงานให้เกิดความหมาย ต่อสังคมเจ้าหน้าที่รัฐต้องเรียนรู้ที่จะเชื่อใจพลเมือง ให้โอกาส แล้วจะได้ตัดสินใจได้อย่างถูกต้องและต้องมีบทบาทในการให้ความรู้แก่ประชาชนเพื่อสร้างบรรยากาศของการเสวนาและบรรยากาศการเรียนรู้ของผลประโยชน์ร่วมกัน
4. “ทำด้วยวิถีประชาธิปไตยและคิดในเชิงยุทธศาสตร์” นโยบายและโครงการที่สามารถตอบสนองความต้องการสาธารณะจะต้องมีคุณภาพและใช้ได้จริงจะต้องมาจากความร่วมมือและกระบวนการความพยายามร่วมมือกันภาครัฐต้องกระตุ้นสำนึกพลเมือง ให้เกิดความภาคภูมิใจ และความรับผิดชอบของพลเมือง พร้อมทั้งช่วยพัฒนาความรู้ของพลเมือง
5. “รัฐประศาสนศาสตร์นั้นต้องขึ้นต่ออะไรหลายอย่าง ไม่ใช่ขึ้นต่อฝ่ายการเมืองเท่านั้น” เจ้าหน้าที่บ้านเมืองต้องใส่ใจให้ความสำคัญกับค่านิยมชุมชน กฎหมายรัฐธรรมนูญ บรรทัดฐานการเมือง มาตรฐานความเป็นมืออาชีพและผลประโยชน์ของพลเมือง เป็นต้นแนวคิดนี้ตระหนักถึงความสำคัญของความเชื่อมั่นในระบบอภิบาลประชาธิปไตย และยังหมายถึงการรวบรวมแนวความคิดใหม่ในบทบาทของเจ้าหน้าที่รัฐในฐานะผู้นำ ผู้ให้บริการ ผู้อำนวยความสะดวกของผลประโยชน์สาธารณะที่ไม่ใช่แค่ผู้ประกอบการ
6. “รัฐต้องรับใช้ ไม่ใช่กุมทิศหรือนำทาง” มีความจำเป็นมากขึ้นเรื่อย ๆ สำหรับเจ้าหน้าที่รัฐในการช่วยสนับสนุนพลเมืองให้พวกเขาได้รับผลประโยชน์ร่วมกันมากกว่าที่จะพยายามควบคุมหรือสั่งการสังคม ให้เป็นไปในทิศทางใหม่ ๆ นักบริหารรัฐกิจต้องยอมรับหน้าที่ความรับผิดชอบในการรับใช้ พลเมืองโดยการเป็นผู้ให้บริการจัดหาทรัพยากรสาธารณะ ผู้อำนวยความสะดวกแก่พลเมืองและก่อให้เกิดการสนทนาประชาธิปไตย ภาวะผู้นำของแนวคิดนี้ต้องอยู่บนฐานของค่านิยมร่วมกัน และเจ้าหน้าที่รัฐต้องตระหนักระวังและมีการติดต่อกับแหล่งอื่น ๆ อยู่เสมอเพื่อการสนับสนุนช่วยเหลือพลเมืองที่เกี่ยวข้องและจัดการชุมชน
7. “ให้ราคากับประชาชนมาก ไม่ใช่สนใจแต่ผลิตภาพของงาน” องค์การสาธารณะและเครือข่ายที่มีการมีส่วนร่วมมีแนวโน้มว่าจะประสบความสำเร็จในระยะยาว หากพวกเขาร่วมมือกันภายใต้กระบวนการของความร่วมมือและภาวะผู้นำร่วมกันบนฐานของความเคารพประชาชนทุกคนนอกจากนั้นเจ้าหน้าที่รัฐยังต้องเป็นผู้ขับเคลื่อนให้กำลังใจและให้รางวัลมากกว่าที่จะเฝ้าดูหรือปกป้องคนนั้น
นายศรัณย์ สัธนานันต์ 63423471130
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่สนใจต่อการสร้างตัวแบบความคิดที่เน้นการผสมผสานองค์ความรู้อันหลากหลายทั้งในด้านการเมืองและการบริหาร เพื่อพัฒนาองค์การแบบใหม่ที่ไม่เป็นอำนาจนิยม แต่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนให้ประชาชนมีส่วนร่วมมากขึ้นในกิจกรรมภาครัฐมากขึ้น นัยหนึ่งนี้จึงเป็นการกระจายอำนาจการตัดสินใจจากรัฐไปสู่ประชาชนมากขึ้น ขณะเดียวกันจึงทำให้ทราบถึงความต้องการอันแท้จริงของประชาชนมากขึ้น แม้นักรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ยอมรับว่าการจัดองค์การแบบนี้อาจมีผลเสียต่อประสิทธิภาพและไม่เป็นการประหยัดก็ตาม แต่ก็คุ้มค่าเมื่อมองในแง่การปรับตัวและความยืดหยุ่นของระบบราชการเพื่อ “ตอบสนอง” เอาใจใส่ประชาชนผู้รับบริการมากขึ้น และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นการส่งเสริมต่อความเป็นธรรมทางสังคมในการให้บริการสาธารณะ
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ ให้ความสำคัญต่อสัมฤทธิผลของการบริหารจัดการ และความรับผิดชอบต่อผลงานของผู้บริหาร โดยจะมีการกำหนดวัตถุประสงค์ขององค์การและเป้าหมายของแต่ละบุคคลอย่างชัดเจนในรูปตัวชี้วัดผลงาน เพื่อทำการตรวจสอบและวัดผลสำเร็จและให้รางวัลตอบแทนตามผลงาน ในขณะเดียวกันจะพยายามให้ความมีอิสระและยืดหยุ่นทางด้านการบริหารจัดการ โดยเฉพาะเรื่องของรูปแบบการจัดโครงสร้างองค์กรและการใช้ทรัพยากรทางการเงินและบุคลากร นอกจากนี้ยังพยายามเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลและระบบราชการจากเดิมที่เป็นผู้ปฏิบัติ และดำเนินงานเองโดยตรงไปสู่การเป็นผู้กำกับ ช่วยเหลือ ร่วมมือ สนับสนุนและส่งเสริมให้กลไกตลาด ภาคเอกชน องค์กรประชาสังคม ชุมชน และประชาชนสามารถเข้ามาเป็นผู้ดำเนินการแทน อันจะนำไปสู่การโอนถ่ายภารกิจ รวมทั้งการลดขนาดและจำกัดบทบาทหน้าที่ของภาครัฐให้เล็กลงในท้ายที่สุด
ลักษณะสำคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ 10 ประการ ดังต่อไปนี้
1) มีความเชื่อว่าการบริหารงานมีลักษณะความเป็นสากลสภาพ หรือไม่มีความแตกต่างอย่างเป็นนัยสำคัญระหว่างการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชน และการบริหารงานภาครัฐ
2) ปรับเปลี่ยนการให้น้ำหนักความสำคัญจากเดิมที่มุ่งเน้นการควบคุมทรัพยากรและกฎระเบียบ เป็นเรื่องของการควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์ หรือปรับเปลี่ยนจากการให้ความสำคัญในภาระรับผิดชอบต่อกระบวนงาน ไปสู่ภาระรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธิ์
3) ให้ความสำคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย
4) โอนถ่ายอำนาจการควบคุมของหน่วยงานส่วนกลาง เพื่อให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน
5) ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่โดยแบ่งออกเป็น 3 ภารกิจ ได้แก่
1. งานเชิงพาณิชย์ 2. งานเชิงพาณิชย์ และ 3. งานเชิงนโยบายและการให้บริการ เพื่อให้องค์การมีขนาดเล็กลงในรูปแบบของหน่วยงานอิสระในกำกับ
6) เน้นการบริหารกิจการของรัฐเป็นรูปแบบเอกชนและให้มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอกรวมทั้งบูรณาการวิธีการจัดจ้างและการประมูลงาน เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและลดต้นทุน
7) บุคลากรของภาครัฐในเรื่องการทำสัญญาจ้างปรับให้เป็นระยะสั้น กำหนดเงื่อนไขข้อตกลงให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบได้
8) นำรูปแบบการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชนที่ประสบความสำเร็จมาประยุกต์ใช้ เช่น การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารคุณภาพเชิงรวม การจ่ายรางวัลค่าตอบแทนตามผลงาน การจัดจ้างบุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวเฉพาะกิจ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงาน
9) มีการสร้างแรงจูงใจในองค์การ เช่น การจ่ายตอบแทนในรูปของตัวเงินมากขึ้นเพื่อเป็นรางวัล
10) พยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต เพื่อให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณที่คุ้มค่า
นายศรัณย์ สัธนานันต์ 63423471130
Assignment 4. อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
กรอบแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคนี้แบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มมนุษยสัมพันธ์ ซึ่งให้ความสนใจต่อการยึดหลักการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกลุ่ม อย่างไม่เป็นทางการ ซึ่งจะนำมาซึ่งความร่วมแรงร่วมใจทำงานสู่ความสำเร็จ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ การให้ความสนใจต่อโครงสร้างองค์การแบบอรูปนัย องค์การที่ไม่มีรูปแบบหรือองค์การอย่างไม่เป็นทางการ และอีกกลุ่มคือ กลุ่มมนุษยนิยมองค์การ ซึ่งเป็นกลุ่มที่มุ่งให้ความสนใจต่อคนเป็นปัจจัยสำคัญแห่งความสำเร็จของการบริหารองค์การภายใต้บริบทต่าง ๆ เช่น บรรยากาศขององค์การ ความพอใจในงาน แรงจูงใจ ขวัญกำลังใจ เป็นต้น
การศึกษารัฐประศาสนศาสนศาสตร์ทั้งสามยุคที่ได้อธิบายไว้ในข้างต้นนั้น ส่งผลให้ศาสตร์สาขาวิชาได้ถูกพัฒนาและเกิดการทบทวนองค์ความรู้ในการอธิบายการบริหารงานภาครัฐ ทำให้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐนั้นได้ถูกจำแนกตามจุดสนใจ ทั้งในด้านการค้นหาหลักการบริหารภาครัฐและการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัยสืบเนื่องจากแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่นั้น ได้ขยายขอบเขตการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐให้กว้างขึ้น จนกระทั่งการการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลก ภายใต้อิทธิพลของแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ ได้นำมาสู่การศึกษาการบริการสารธารณะแนวใหม่เพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารภาครัฐ โดยมุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการดำเนินสาธารณกิจต่าง ๆ ร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชนภายใต้หลักการบริหารแบบประชาธิปไตย
ส่งผลให้ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งประเด็นไปที่การศึกษาหลักธรรมภิบาล ในการบริหารงานของภาครัฐ การจัดการแบบเครือข่าย เช่น องค์การไม่แสวงหากำไร อาสาสมัคร เป็นต้น และการบริหารจัดการองค์การร่วมสมัย (contemporary organization theory) เช่น การสร้างความร่วมมือในองค์การ ทุนมนุษย์ (วัชรพล ศุภจักรวัฒนจา และวัชรพล พุทธรักษา, 2561) นอกจากนี้แนวโน้มการศึกษาของสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ภายใต้บริบทการพัฒนาในยุคอุตสาหกรรมดิจิตอล ขอบเขตของการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะขยายประเด็นไปถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการดำเนินสาธารณกิจของภาครัฐ เช่น การจัดการข้อมูล การนำระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการดำเนินการบริหารงานภาครัฐ (e-government) เป็นต้นรวมไปถึงการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ (บุญทัน ดอกไธสง, 2562: 41-43)
ดังนั้นทิศทางและแนวโน้มของการศึกษาการบริหารงานภาครัฐในอนาคต จะมุ่งสู่การศึกษาการบริหารงานที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนา และการสร้างการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการบริหารงานภาครัฐ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์การบริหารงานภาครัฐครอบคุลมในทุกมิติ ซึ่งผู้เขียนเห็นว่าการเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนานี้ ส่งผลให้นักวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ต้องมีการปรับตัวและเรียนรู้กระแสการพัฒนาที่มีความหลากหลาย และอาจนำมาด้วยการขาดความเชี่ยวชาญในองค์ความรู้ใหม่ที่จะนำมาอธิบายหรือค้นหาหลักการบริหารงานภาครัฐ จนนำมาสู่วิกฤตอัตลักษณ์ด้านองค์ความรู้ของศาสตร์สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงจำเป็นต้องยึดแนวทางการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของภาครัฐ เพื่อหลีกเลี่ยงวิกฤตติด้านองค์ความรู้ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
นายศรัณย์ สัธนานันต์ 63423471130
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
แนวการศึกษาที่ใช้มิติของเวลา แนวทางการศึกษาที่ใช้มิติของเวลา เป็นการศึกษา แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์โดยจำแนกตามช่วงเวลาที่เกิดขึ้น ซึ่งกรณีตัวอย่างที่ใช้มิติของเวลา เช่น นิโคลัส เฮนรี่ พยายามชี้ให้เห็นว่า แนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสน ศาสตร์มีอยู่ 5 พาราไดม์ ขอบเขตเนื้อหา คือ 1) พาราไดม์ 1 การแบ่งแยกการเมืองออกจากการบริหาร ปี ค.ศ.1900-1926 2) พาราไดม์ 2 หลักการบริหาร ปี ค.ศ.19271937 พร้อมกันนี้ได้เกิดการท้าทายหลักการบริหาร ขึ้นปี ค.ศ.1938-1947 และการโต้ตอบการท้าทายในระหว่างปี ค.ศ.1947-1950 3) พาราไดม์ 3 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานที่เป็นส่วนหนึ่งของรัฐศาสตร์ ปี ค.ศ.1950-1970 4) พาราไดม์ 4 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะที่เป็นศาสตร์การบริหาร ปี ค.ศ.1956-1970 5) พาราไดม์ 5 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะที่เป็นศาสตร์การบริหารภาครัฐ ปี ค.ศ.1970 เป็นต้นมา ผลงานของนักวิชาการไทย ได้แก่ พิทยา บวรวัฒนา ได้มีการนำแนวทางการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่ใช้มิติของเวลาเข้ามาใช้เป็นกรอบหรือแนวทางการศึกษา โดยเห็นว่ารัฐประศาสนศาสตร์ตะวันตกมีวิวัฒนาการมาแล้ว 4 ช่วงสมัยที่สำคัญคือ 1) สมัยทฤษฎีดั้งเดิม (ค.ศ.1887-1950) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารแยกออกจากการเมืองระบบราชการ วิทยาศาสตร์การจัดการและหลักการบริหาร 2) สมัยทฤษฎีท้าทายหรือวิกฤติด้านเอกลักษณ์ครั้งแรก (ค.ศ.1950-1960) ได้แก่ ทฤษฎี และแนวการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารคือการเมือง ระบบราชการแบบไม่เป็นทางการมนุษยสัมพันธ์และศาสตร์การบริหาร 3) สมัยวิกฤติด้านเอกลักษณ์ครั้งที่สอง (ค.ศ.1960-1970) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ 4) สมัยทฤษฎีและแนวการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ (ค.ศ.1970-ปัจจุบัน) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษาเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ ทางเลือกสาธารณะเศรษฐศาสตร์การเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงาน การจัดการแบบประหยัด ชีวิตองค์การ การออกแบบองค์การสมัยใหม่และการวิจัยเรื่ององค์การ
1.2 แนวทางการศึกษาที่ใช้มิติของขอบเขตและจุดเน้น แนวทางการศึกษาที่ใช้มิติของขอบเขตและจุดเน้น เป็นการศึกษาที่กำหนดขอบเขตหรือปริมณฑลทางวิชาการ และกำหนดจุดเน้นของการศึกษาซึ่งเป็นแนวทางการศึกษาที่นำเสนอโดยโรเบิร์ต ที โกเล็มบิวสกี้ ทั้งปริมณฑลทางวิชาการและจุดเน้นของการศึกษาอาจแปรเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อมตลอดจนสาธารณกิจของสังคมนั้น ๆ โดยที่ปริมณฑลทางวิชาการอาจมีลักษณะที่ขยายขอบเขตออกไปกว้างขึ้น หรือมีขอบเขตที่เฉพาะเจาะจง หรือย้ายจุดมุ่งเน้นของการศึกษาไปสู่จุด มุ่งเน้นสนใจของการศึกษาใหม่ก็ได้
1.3 แนวทางที่ใช้มิติของหน่วยวิเคราะห์ แนวทางที่ใช้มิติของหน่วยวิเคราะห์เป็นแนวทาง การศึกษาที่ให้ความสำคัญต่อองค์ความรู้ที่เกิดขึ้นและการประยุกต์ใช้โดยยึดถือหน่วยวิเคราะห์ สะท้อนได้จากผลงานของนักวิชาการ เช่น เจมส์ ดี ทอมสัน ใน หนังสือชื่อ “Organization in Action” (1967) ก็ได้ให้ความสำคัญต่อองค์การเป็นหน่วยของการ วิเคราะห์ โดยเน้นศึกษาพฤติกรรมขององค์การต่อการปรับตัวต่อความไม่แน่นอนอันเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสภาพแวดล้อม หรือแนวคิดของการบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบที่ให้ ความสำคัญต่อหน่วยวิเคราะห์ที่เป็นองค์การที่นำมาใช้ในการศึกษาเปรียบเทียบคือ ระบบราชการหรือ แนวคิดของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ ที่ให้ความสำคัญต่อหน่วย วิเคราะห์ที่เป็นประชาชนผู้รับบริการ ผู้ด้อยโอกาส ตลอดจนปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม เป็นต้น ซึ่งจะเห็น ได้ว่าถ้าศึกษาวิเคราะห์ไปถึงแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงแล้ว ก็จะสามารถวิเคราะห์ให้เห็นถึงหน่วยวิเคราะห์ของการศึกษาได้เสมอ ได้แก่ หน่วยการวิเคราะห์ที่เป็นโครงสร้างหน่วยการวิเคราะห์ที่เป็นบุคคล หน่วยการวิเคราะห์ที่เป็นกระบวนการ หน่วยการวิเคราะห์ที่ เป็นชุมชน ประชาชน และสิ่งแวดล้อม
น.ส กัลกร อภิชาติวรนันท์ 63423471007
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาการบริหารงานภาครัฐเกิดปรากฏการณ์การท้าทาย ทั้งในรูปแบบของแนวคิด ทฤษฎี และหลักปฏิบัติทางการบริหาร เนื่องจากบริบทการพัฒนาตามกระแสโลกแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์เปลี่ยนแปลงไปตามบริบทการพัฒนา นำไปสู่การสร้างเงื่อนไขในการ พัฒนาระเบียบวิธีวิยา (methodology) ศาสตร์ (sciences) องค์ความรู้ (body of knowledge) แนวคิด (concepts) ทฤษฎี (theory) และหลักการบริหาร (principles) ให้สอดคล้องกับบริบทการพัฒนาและ ปรากฏการณ์การบริหารงานภาครัฐของแต่ละยุคสมัย ดังจะเห็นได้จากพัฒนาการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ที่มี จุดเริ่มต้นในการศึกษานับแต่มนุษย์เริ่มรวมตัวกันเพื่อดำเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างมีเป้าหมายร่วมกัน จนนำไปสู่ การศึกษาบทบาทของภาครัฐที่ต้องการศึกษาการบริหารงานภาครัฐแยกออกจากการเมืองอย่างเข้มข้นในประเทศ สหรัฐอเมริกา โดย วูดโรว์ วิลสัน (Woodrow Wilson) ) ได้สะท้อนปรากฏขึ้นในงานเขียนเรื่อง ศาสตร์ทางการ บริหาร (The study of administration) ในปี ค.ศ. 1887 ทั้งนี้การศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้รับความนิยม อย่างแพร่หลาย เกิดการท้าท้ายและทบทวนแนวคิดทฤษฎีทางการบริหาร ซึ่งส่งผลให้กระบวนทัศน์ แนวคิดและ ทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์อยู่ในสภาพสับสน จนเกิดวิกฤติทางด้านอัตลักษณ์ของสาขาวิชา และนำไปสู่การ ทบทวนเพื่อสร้างอัตลักษณ์ทางสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ใหม่ให้มีลักษณะสหวิทยาการ (Interdisciplinary) ใน การนำไปอธิบายปรากฏการณ์การบริหารงานของภาครัฐในปัจจุบัน
น.ส กัลกร อภิชาติวรนันท์ 63423471007
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่เป็นการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ โดยนำหลักการ เพิ่มประสิทธิภาพและการแสวงหาประสิทธิภาพของระบบราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ นำเอาแนวทาง หรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้กับการบริหารงานภาครัฐ ตลอดทั้งการมุ่งเน้น การให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ เหตุผลที่มีการน าแนวคิดการ บริหารงาน ภาครัฐแนวใหม่มาใช้เนื่องจากกระแสโลกาภิวัตน์ ส่งผลให้สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก ประเทศ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับองค์การทั้งภาครัฐและเอกชน ที่ต้องเพิ่มศักยภาพและความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยน เพื่อตอบสนองความต้องการของระบบที่ เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งระบบราชการไทยมีปัญหาที่สำคัญ คือ การขาดธรรมาภิบาล และหากภาครัฐ ไม่ปรับเปลี่ยนและพัฒนาการบริหารจัดการของภาครัฐเพื่อไปสู่องค์กรสมัยใหม่โดยยึดหลักธรรมาภิบาล
การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่จึงเป็นแนวคิดพื้นฐานของการบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่งจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงระบบของภาครัฐและยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ ที่เป็นรูปธรรม โดยมีแนวทางใน การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน กำหนดการวัดผลและการให้รางวัลแก่ผลการดำเนินงานทั้งใน ระดับองค์กรและระดับบุคคล เปิดกว้างต่อแนวคิดในเรื่องของการแข่งขัน
กัลกร อภิชาติวรนันท์ 63423471007
Assignment 4. อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) ที่มีการนาแนวคิดและหลักการทาง เศรษฐศาสตร์ รวมตลอดจนถึงหลักการทางการจัดการธุรกิจที่เน้นการแข่งขันเป็นจุดขายและปรับ กลไกการบริหารงานภาครัฐ และเป็นตัวปฏิกิริยานาในการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นไปทั่วโลก โดย เริ่มจากนิวซีแลนด์ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก อังกฤษ และเนเธอร์แลนด์ในภูมิภาคยุโรป รวมถึง สหรัฐอเมริกา และแคนาดา ซึ่งกระแสการเปลี่ยนแปลงนี้ได้รับการตอบสนองจากรัฐบาลของประเทศ ต่างๆ จึงแพร่ขยายไปประเทศต่างๆ ทั่วโลกอย่างรวดเร็วขึ้น อันเนื่องจากการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) เป็นแนวคิดที่มุ่งให้ความสนใจต่อการนาวิธีการที่ใช้ในภาคธุรกิจเอกชนมาใช้ในองค์การภาครัฐ ซ่ึงก็คือ การพยายามทาให้ระบบราชการเป็นเช่นเดียวกันกับภาคธุรกิจเอกชน (Denhardt and Denhardt, 2000) แต่การบริหารงานภาครัฐไม่ได้ดาเนินงานเหมือนกับการบริหารธุรกิจ แต่เป็นการดาเนินงาน ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานความเป็นประชาธิปไตย ข้าราชการจึงไม่ได้ส่งมอบบริการสู่ลูกค้า แต่เขาส่งมอบ ประชาธิปไตย นักบริหารงานภาครัฐไม่ได้มีจุดมุ่งหมายในการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพใน งานเท่านั้น หากแต่ต้องกระทาเพื่อสร้างคุณภาพชีวิตท่ีดีให้แก่ประชาชนทุกคน การบริการสาธารณะ แนวใหม่ต้องขับเคลื่อนโดยพื้นฐานของผลประโยชน์สาธารณะที่เป็นผลประโยชน์ร่วมกันของคนใน สังคม ซึ่งไม่ใช่เพียงแค่การรวบรวมผลประโยชน์ของแต่ละคนเข้าด้วยกันเท่านั้น โดยข้าราชการ
บทบาทสาคัญในการเจรจาและหาข้อตกลงร่วมในผลประโยชน์สาธารณะ การบริการสาธารณะแนว ใหม่ (New Public Service: NPS) จึงเป็นแนวคิดของนักรัฐประศาสนศาสตร์ในสายรัฐศาสตร์ที่ให้ ความสาคัญกับเรื่องคุณค่าหรืออุดมการณ์ โดยเฉพาะคุณค่าความเป็นประชาธิปไตยมากกว่าเรื่อง ประสิทธิภาพหรือผลิตภาพ การบริการสาธารณะแนวใหม่จึงเป็นแนวคิดที่อยู่บนพื้นฐานของค่านิยม ประชาธิปไตย (Value of Democracy) ความเป็นพลเมือง (Citizenship) และผลประโยชน์ สาธารณะ (Public Interest)
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
(New Public Management หรือ NPM)
คือ แนวคิดใหม่ทางการบริหารรัฐกิจที่เน้นการนำเอาแนวคิดและแนวปฏิบัติของการจัดการในภาคธุรกิจมาปรับใช้ในองค์การภาครัฐ นอกจากนี้ยังพบว่าการจัดการภาครัฐแนวใหม่ถือเป็นแนวทางสำคัญต่อการปฏิรูประบบราชการไทยในปัจจุบัน ซึ่งส่งผลให้ระบบราชการไทยต้องปรับตัวอย่างมากในระยะเวลาอันรวดเร็วให้ทันกับกระแสโลกาภิวัตน์และแรงกดดันจากกระแสการปฏิรูประบบราชการของต่างประเทศ
การพัฒนาแนวคิดของรัฐประศาสนศาสตร์นับจากปลายศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา จะเห็นได้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอดตามบริบททางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม เช่น เกิดทัศนะที่มองการบริหารรัฐกิจว่าควรยึดหลักต่างๆ อาทิ หลักการแยกการเมืองออกจากการบริหาร หลักการจัดองค์กรแบบราชการ หรือหลักวิทยาศาสตร์การจัดการ มาจวบจนถึงหลักการบริหารการจัดการที่เป็นหลักสากล สิ่งเหล่านี้ล้วนถูกท้าทายมาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะประเด็นของการขาดเอกลักษณ์ของรัฐประศาสนศาสตร์ ซึ่งจะเห็นได้จากผลงานชิ้นสำคัญของ
Herbert Simon ในงานที่มีชื่อว่า “Administrative Behavior” ในปี 1946 ซึ่งส่งผลกระทบต่อวงวิชาการทางด้านรัฐประศาสนศาสตร์อย่างมาก และทำให้นักวิชาการทางด้านนี้เสื่อมความศรัทธาลงในประเด็นเรื่องความถูกต้องและความเหมาะสมต่อแนวคิดทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์แบบดั้งเดิม
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (
New Public Management หรือ NPM) มีมุมมองที่ตั้งอยู่บนฐานคติว่า การจัดการภาคราชการที่อาศัยรูปแบบองค์การแบบระบบราชการ (Bureaucracy) ไม่มีความเหมาะสมที่จะนำมาใช้เป็นรูปแบบของภาคราชการในอนาคตอีกต่อไปแล้ว ในขณะเดียวกันในโลกของนักปฏิบัติปัจจุบัน ในหลายประเทศกำลังดำเนินการปฏิรูประบบราชการตามแนวกระแสใหม่ของ paradigm ใหม่ของการปกครองแบบประชาธิปไตย
เพราะมีปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านกระบวนทัศน์ของการบริหารปกครองดังกล่าว ได้แก่ สภาพการแข่งขันระหว่างประเทศและโลกาภิวัตน์ วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ กระแสอนุรักษ์นิยม การต่อต้านรัฐบาลและการกระจายอำนาจ ความสำเร็จของระบบเศรษฐกิจเสรี และความล้มเหลวของระบบวางแผนและควบคุมเศรษฐกิจแบบรวมศูนย์อำนาจหรือระบบสังคมนิยม ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันของรัฐบาลและระบบราชการ ตลอดจนความเข้มแข็งและการเปลี่ยนแปลงของภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน.
ตอบ การบริการสาธารณะแนวใหม่(NPS)ให้ความสำคัญกับพลเมือง (Citizen First) ผลประโยชน์สาธารณะ (Public Interest) ความเป็นประชาธิปไตย(Democratic) ความสามารถในการรับผิดชอบได้ต่อพลเมือง(Accountability) การเจรจาต่อรองเพื่อหาข้อสรุปและพันธะสัญญาต่อพลเมืองและชุมชน(Community) เพื่อกระจายผลประโยชน์สาธารณะนั้นไปสู่สังคมอย่างแท้จริงขณะที่ TPA ยังมองประชาชนเป็นเพียงผู้รอรับบริการจากรัฐ(Client) เน้นการบริหารภายในมากกว่าภายนอก ยังคำนึงถึงเรื่องประสิทธิภาพประสิทธิผลและประหยัดเป็นค่านิยมหลักในทางการบริหาร จัดองค์การแบบทางการที่เน้นสายการบังคับบัญชาผลประโยชน์สาธารณะถูกกำหนดโดยฝ่ายการเมืองและข้าราชการประจำ หรือกำหนดไว้แล้วในนโยบายและกฎหมายต่างๆความรับผิดชอบได้เป็นเรื่องของผู้เชี่ยวชาญและนักบริหารระดับสูง กระบวนการตัดสินใจต่างๆจึงถูกผูกขาดอยู่ในกลุ่มนักการเมืองและข้าราชการ พลเมืองหรือประชาชนจึงเข้ามามีส่วนร่วมได้ในระดับที่จากัดการปฏิบัติงานก็เป็นไปกฎเกณฑ์ กฎระเบียบ จนส่งผลให้เกิดการทางานที่ขาดประสิทธิภาพและล่าช้าข้าราชการก็ขาดแรงจูงใจในการทางานและถูกปิดกั้นในความคิดสร้างสรรค์
การบริการสาธารณะแนวใหม่(NPS) กับรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (NPA) นั้นมีสาระสำคัญและค่านิยมพื้นฐานที่คล้ายคลึงกันมากไม่ว่าจะเป็นการเน้นการมีส่วนร่วมของพลเมือง ความเป็นประชาธิปไตย บทบาทของนักบริหารรัฐกิจในการเปลี่ยนแปลงสังคมค่านิยมการบริหารที่ไม่ใช่เฉพาะเรื่องประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประหยัดเท่านั้น แต่ยังให้ความสำคัญกับเรื่องความเสมอภาคเป็นธรรม ความรับผิดชอบได้ จริยธรรมในการบริหาร ซึ่งความคล้ายคลึงกันนี้ทำให้มองได้ว่าแนวคิดทั้งสองเป็นกลุ่มแนวคิดเดียวกันเป็นแนวคิดเชิงปทัสถานที่ปฏิเสธปฏิฐานนิยมทางตรรกะ (anti-logicalpositivism) เหมือนกัน เพียงแต่ NPS มาขยายรายละเอียดของNPA เพิ่มขึ้นในหลายๆ ประเด็นเท่านั้น โดย NPS มีระดับในเรื่องการค้นหาความต้องการหรือความจาเป็นของพลเมือง ตลอดจนเรื่องประชาธิปไตยที่มีระดับที่เพิ่มมากขึ้นกว่าNPA และยังพบอีกว่า NPA ถือเป็นหนึ่งในแนวคิดที่เป็นรากฐานของNPS สำหรับความแตกต่างระหว่างการบริการสาธารณะแนวใหม่(NPS) กับการจัดการภาครัฐแนวใหม่

Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้า
ภาครัฐแนวใหม่ ได้น ามาสู่การศึกษาการบริการสารธารณะแนวใหม่เพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารภาครัฐ โดยมุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการดำเนินสาธารณกิจต่างๆ ร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชนภายใต้หลักการบริหารแบบประชาธิปไตยส่งผลให้ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งประเด็นไปที่การศึกษาหลักธรรมภิบาล (goodgovernance) ในการบริหารงานของภาครัฐ การจัดการแบบเครือข่าย (network governance) เช่น องค์การไม่แสวงหากำไร(nonprofit organization) อาสาสมัคร(volunteer) เป็นต้น และการบริหารจัดการองค์การร่วมสมัย (contemporary organization theory) เช่น การสร้างความร่วมมือในองค์การ (collaboration) ทุนมนุษย์(human capital) (วัชรพล ศุภจักรวัฒนจา และวัชรพล พุทธรักษา, 2561)
การจัดการคนและองค์การ ความสอดคล้องกับสังคม และความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้.
1.เครือข่ายการบริหารกิจการบ้านเมือง (Governance Networks)โครงสร้างภาครัฐกำลังเปลี่ยนแปลงและกลไกใหม่ ๆ จะถูกนำมาใช้เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลง
2.การมีส่วนร่วมของพลเมือง (Citizen Participation)นักวิชาการกล่าวว่า แนวคิดในระบอบประชาธิปไตยของภาครัฐต้องให้พลเมืองกำหนดนโยบายสาธารณะและเป็นผู้นำนโยบายไปสู่การปฏิบัติตามวิถีทางอนาคต
3.การบริหารกิจการบ้านเมืองอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง“การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของภาครัฐเพื่อมุ่งหมายปรับปรุงข่าวสารและส่งมอบบริการเพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของพลเมืองในกระบวนการตัดสินใจและท าให้ภาครัฐเพิ่มความสามารถในการตรวจสอบได้ โปร่งใสและมีประสิทธิผล”
4.ความโปร่งใส (Transparency)สหประชาชาติระบุว่าความโปร่งใสของภาครัฐตั้งอยู่บนการเข้าถึงข่าวสารของพลเมืองและการอำนวยความสะดวกให้พลเมืองเข้าใจกระบวนการตัดสินใจ
5.ความเป็นหุ้นส่วนระหว่างรัฐ-เอกชน: พื้นที่เพิ่มค่าเชิงธุรกิจ (Public-private Partnerships: Business Improvement Districts)การมีส่วนร่วม การเอาใจใส่และการมีพันธกรณีว่าจะปรับปรุงชุมชนของตน คือ สิ่งที่มีความสำคัญรวมถึงชุมชนธุรกิจและย่านธุรกิจของเมืองแบบดั้งเดิม ชุมชนที่มีมากมายและกำลังเพิ่มมากขึ้นเหล่านี้ต่างแสวงหาและค้นพบวิธีการสร้างแนวทางสู่ความสำเร็จของการพัฒนา การฟื้นฟู และการปรับปรุงโดยการสร้างพื้นที่เพิ่มค่าเชิงธุรกิจ
Assignment 4. อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ ต้องคำนึงถึงหลักธรรมาภิบาล ประโยชน์สาธารณะ และความเป็นพลเมือง และค่านิยมประชาธิปไตย บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อหา คำตอบกระบวนทัศน์ทางรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาท้องถิ่นที่ยั่งยืนในเชิงระบบ ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยนำเข้า (Inputs) เป็นประโยชน์สาธารณะ ได้แก่ ความต้องการหรือข้อเรียกร้องของชุมชน ท้องถิ่นกระบวนการ (Process) ได้แก่
1) กำหนดนโยบายนำนโยบายไปปฏิบัติ และประเมินนโยบาย
2) บริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3) บริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง
4) บริหารที่มุ่งบรรลุเป้าหมาย
แนวคิดการบริการ
สาธารณะแนวใหม่ (new public service) ถูกเสนอขึ้นมาในการศึกษาและนำไปปรับปรุงการบริหารงานของ
ภาครัฐ ซึ่งให้ความสําคัญกับบทบาทภาคพลเมืองในการเข้าไปมีส่วนร่วมกับภาครัฐในการดำเนินกิจการสาธารณะ
แนวคิดทั้งสองดังกล่าวได้เป็นหลักปฏิบัติในการบริหารงานภาครัฐจนมาถึงปัจจุบัน
และในปัจจุบันนี้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์นั้น มีการขยายขอบเขตที่กว้างขึ้นและร่วมสมัยมากขึ้น ทั้งในด้านการศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) การจัดการ
แบบเครือข่าย (network governance) และการบริหารจัดการองค์การร่วมสมัย (contemporaryorganization theory) ทั้งนี้ในอนาคตการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะปรับเปลี่ยนไปตามกระแสการพัฒนามากขึ้น
ทั้งการศึกษาการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ จึงกล่าวได้ว่าการศึกษาการ
บริหารงานภาครัฐในแนวทางของรัฐประศาสนศาสตร์นั้นมีแนวโน้มในการพัฒนาศาสตร์องค์ความรู้ในเชิงปฏิบัติที่
สอดคล้องกับบริบทการพัฒนา ทั้งองค์รู้ที่เป็นแนวคิดกระแสหลักและกระแสรองเพื่อตอบสนองกับการอธิบาย
กัลกร อภิชาติวรนันท์ 63423471007
Assignment  3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง  
ทิศทางและแนวโน้มการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต
การศึกษารัฐประศาสนศาสนศาสตร์ทั้งสามยุคท่ีได้อธิบายไว้ในข้างต้นน้ัน ส่งผลให้ศาสตร์สาขาวิชาได้ถูก พัฒนาและเกิดการทบทวนองค์ความรู้ในการอธิบายการบริหารงานภาครัฐ ทาให้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐ นั้นได้ถูกจาแนกตามจุดสนใจ ทั้งในด้านการค้นหาหลักการบริหารภาครัฐและการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัย สืบเน่ืองจากแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่น้ัน ได้ขยายขอบเขตการศึกษาการบริหารงานของ ภาครัฐให้กว้างขึ้น จนกระท่ังการการปฏิรูประบบราชการท่ีเกิดขึ้นทั่วโลก ภายใต้อิทธิพลของแนวคิดการจัดการ ภาครัฐแนวใหม่ ได้นามาสู่การศึกษาการบริการสารธารณะแนวใหม่เพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารภาครัฐ
โดยมุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการดาเนินสาธารณกิจต่างๆ ร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชนภายใต้ หลักการบริหารแบบประชาธิปไตย
ส่งผลให้ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งประเด็นไปท่ีการศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) ในการบริหารงานของภาครัฐ การจัดการแบบเครือข่าย (network governance) เช่น องค์การ ไม่แสวงหากาไร (nonprofit organization) อาสาสมัคร(volunteer) เป็นต้น และการบริหารจัดการองค์การร่วม สมัย (contemporary organization theory) เช่น การสร้างความร่วมมือในองค์การ (collaboration) ทุนมนุษย์ (human capital) (วัชรพล ศุภจักรวัฒนจา และวัชรพล พุทธรักษา, 2561) นอกจากน้ีแนวโน้มการศึกษาของ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ภายใต้บริบทการพัฒนาในยุคอุตสาหกรรมดิจิตอล ขอบเขตของการศึกษา การบริหารงานภาครัฐจะขยายประเด็นไปถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการดาเนินสาธารณกิจของภาครัฐ เช่น การจัดการข้อมูล การนาระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการดาเนินการบริหารงานภาครัฐ (e-government) เป็นต้น รวมไปถึงการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ
นายณัฐวุฒิ จิตณรงค์ 63423471005
Assignment1.
รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ ประกอบด้วย 3 แนวคิด คือ
1.รัฐประศาสนศาสตร์ แนวคลาสสิก (Classical public administration)
2.รัฐประศาสนศาสตร์ แนวนีโอคลาสสิก (Neoclassical public administration) 3.รัฐประศาสนศาสตร์ แนวใหม่ (New public administration)
โดยทฤษฎี ทางเลือกสาธารณะนั้นก่อตั้งโดย James Buchanan และ Warren Nutter ทั้งคู่มาจากศูนย์โทมัส เจเฟอร์สันเพื่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมืองและ ปรัชญาสังคมแห่งมหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย ซึ่งศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคม โดยใช้หน่วยในการวิเคราะห์เป็นปัจเจกบุคคล อาศัยลัทธิปัจเจกชนนิยมเชิงระเบียบวิธี (Methodological individualism) เป็นแนวทางพื้นฐานใน การศึกษา อันเป็นการอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมจากผลรวบยอดของ พฤติกรรมของปัจเจกบุคคลแต่ละคนมารวมกัน โดยมีข้อตกลงเบื้องต้นว่า ปัจเจกบุคคล มุ่งหวังในเป้าหมายของตน
นายณัฐวุฒิ จิตณรงค์ 63423471005
Assignment2
ลักษณะสำคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ 10 ประการ ดังต่อไปนี้
1) มีความเชื่อว่าการบริหารงานมีลักษณะความเป็นสากลสภาพ หรือไม่มีความแตกต่างอย่างเป็นนัยสำคัญระหว่างการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชน และการบริหารงานภาครัฐ
2) ปรับเปลี่ยนการให้น้ำหนักความสำคัญจากเดิมที่มุ่งเน้นการควบคุมทรัพยากรและกฎระเบียบ เป็นเรื่องของการควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์ หรือปรับเปลี่ยนจากการให้ความสำคัญในภาระรับผิดชอบต่อกระบวนงาน ไปสู่ภาระรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธิ์
3) ให้ความสำคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย
4) โอนถ่ายอำนาจการควบคุมของหน่วยงานส่วนกลาง เพื่อให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน
5) ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่โดยแบ่งออกเป็น 3 ภารกิจ ได้แก่
1. งานเชิงพาณิชย์ 2. งานเชิงพาณิชย์ และ 3. งานเชิงนโยบายและการให้บริการ เพื่อให้องค์การมีขนาดเล็กลงในรูปแบบของหน่วยงานอิสระในกำกับ
6) เน้นการบริหารกิจการของรัฐเป็นรูปแบบเอกชนและให้มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอกรวมทั้งบูรณาการวิธีการจัดจ้างและการประมูลงาน เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและลดต้นทุน
7) บุคลากรของภาครัฐในเรื่องการทำสัญญาจ้างปรับให้เป็นระยะสั้น กำหนดเงื่อนไขข้อตกลงให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบได้
8) นำรูปแบบการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชนที่ประสบความสำเร็จมาประยุกต์ใช้ เช่น การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารคุณภาพเชิงรวม การจ่ายรางวัลค่าตอบแทนตามผลงาน การจัดจ้างบุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวเฉพาะกิจ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงาน
9) มีการสร้างแรงจูงใจในองค์การ เช่น การจ่ายตอบแทนในรูปของตัวเงินมากขึ้นเพื่อเป็นรางวัล
10) พยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต เพื่อให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณที่คุ้มค่า
นายณัฐวุฒิ จิตณรงค์ 63423417005
Assignment3
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) ที่มีการนาแนวคิดและหลักการทาง เศรษฐศาสตร์ รวมตลอดจนถึงหลักการทางการจัดการธุรกิจที่เน้นการแข่งขันเป็นจุดขายและปรับ กลไกการบริหารงานภาครัฐ และเป็นตัวปฏิกิริยานาในการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นไปทั่วโลก โดย เริ่มจากนิวซีแลนด์ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก อังกฤษ และเนเธอร์แลนด์ในภูมิภาคยุโรป รวมถึง สหรัฐอเมริกา และแคนาดา ซึ่งกระแสการเปลี่ยนแปลงนี้ได้รับการตอบสนองจากรัฐบาลของประเทศ ต่างๆ จึงแพร่ขยายไปประเทศต่างๆ ทั่วโลกอย่างรวดเร็วขึ้น อันเนื่องจากการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) เป็นแนวคิดที่มุ่งให้ความสนใจต่อการนาวิธีการที่ใช้ในภาคธุรกิจเอกชนมาใช้ในองค์การภาครัฐ ซ่ึงก็คือ การพยายามทาให้ระบบราชการเป็นเช่นเดียวกันกับภาคธุรกิจเอกชน (Denhardt and Denhardt, 2000) แต่การบริหารงานภาครัฐไม่ได้ดาเนินงานเหมือนกับการบริหารธุรกิจ แต่เป็นการดาเนินงาน ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานความเป็นประชาธิปไตย ข้าราชการจึงไม่ได้ส่งมอบบริการสู่ลูกค้า แต่เขาส่งมอบ ประชาธิปไตย นักบริหารงานภาครัฐไม่ได้มีจุดมุ่งหมายในการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพใน งานเท่านั้น หากแต่ต้องกระทาเพื่อสร้างคุณภาพชีวิตท่ีดีให้แก่ประชาชนทุกคน การบริการสาธารณะ แนวใหม่ต้องขับเคลื่อนโดยพื้นฐานของผลประโยชน์สาธารณะที่เป็นผลประโยชน์ร่วมกันของคนใน สังคม ซึ่งไม่ใช่เพียงแค่การรวบรวมผลประโยชน์ของแต่ละคนเข้าด้วยกันเท่านั้น โดยข้าราชการ
บทบาทสาคัญในการเจรจาและหาข้อตกลงร่วมในผลประโยชน์สาธารณะ การบริการสาธารณะแนว ใหม่ (New Public Service: NPS) จึงเป็นแนวคิดของนักรัฐประศาสนศาสตร์ในสายรัฐศาสตร์ที่ให้ ความสาคัญกับเรื่องคุณค่าหรืออุดมการณ์ โดยเฉพาะคุณค่าความเป็นประชาธิปไตยมากกว่าเรื่อง ประสิทธิภาพหรือผลิตภาพ การบริการสาธารณะแนวใหม่จึงเป็นแนวคิดที่อยู่บนพื้นฐานของค่านิยม
นายณัฐวุฒิ จิตณรงค์ 63423471005
Assignment4
การพัฒนาระบบราชการที่ผ่านมาได้นำแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่มาปรับใช้ โดยมีเหตุผลหลักที่สำคัญจากปัญหาของระบบราชการไทยที่มีหลายประการและสั่งสมมานาน และกระแสโลกาภิวัตน์ส่งผลให้สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกประเทศ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ การลดความเหลื่อมล้ำที่เน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืน และทั่วถึงเป็นธรรม การเติบโตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม ภายใต้ปัจจัยด้านต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลงในสภาวะแวดล้อมของประเทศ ความต้องการและความคาดหวังต่อการได้รับบริการจากภาครัฐเพิ่มสูงขึ้น ตลอดจนการมุ่งแก้ไขปัญหาที่ สั่งสมมาของระบบราชการไทยในเรื่องโครงสร้างนวัตกรรม กฎหมาย กฎระเบียบ ที่เป็นอุปสรรค และ ซ้ำซ้อนไม่ทันสมัย ทั้งนี้ได้กำหนดแผนกลยุทธ์และมาตรการในการพัฒนาระบบราชการ ได้แก่
1) การลด ขั้นตอนและระยะเวลาในการปฏิบัติราชการ
2) การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชน ให้เป็นที่ยอมรับ ปรับปรุง แก้ไข ยกระดับ และพัฒนากฎหมาย ระเบียบ ขั้นตอนการให้บริการ การอำนวยความสะดวก และมาตรฐานของส่วนราชการ
3) การพัฒนาขีดสมรรถนะและศักยภาพของ ข้าราชการการน าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาใช้ในการให้บริการประชาชน (e-Service) การแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนจากการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการและการทุจริตคอร์รัปชัน
4) การบูรณาการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานและภาคส่วนต่าง ๆ โดยยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ ราชการจึงได้กำหนดให้ปรับปรุงกลไกภาคราชการให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส สามารถตอบสนอง ความต้องการของประชาชนได้ และก่อให้เกิดความเชื่อมั่น ศรัทธาต่อการท างานของภาคราชการเพิ่มขึ้น
Nan. said…
63423471003 สรัญณัฎฐ์ ศรีจันทึก
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็น โครงสร้างตามทัศนะของ Grueing
(2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
ตอบ พัฒนารัฐประศาสนศาสตร์ในแนวทางใหม่ที่ Gruening (2001, p. 4) เรียกว่า'รัฐประศาสนศาสตร์แนวนีโอคลาสสิก' (Neoclassic public administration) ผ่านตำราเล่มสำคัญและวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของเขา คือ 'Administrative Behavior: A Study ofDecision-Making in Administrative Organization' (1947) ได้พัฒนาทฤษฎีการตัดสินใจที่ให้มโนทัศน์ใหม่ อาทิ ความมีเหตุผลที่จำกัด (Bounded rationality) ความไม่สมบูรณ์ของข่าวสาร (Incomplete information) ความคลุมเครือในเป้าหมาย (Goal ambiguity) ข้อจำกัดทางทรัพยากร
(Resource limitations) กลยุทธ์การตัดสินใจตามความพอใจ (Satisficing strategy ) เป็นต้น
มุ่งเน้นการให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ
Nan. said…
63423471003 สรัญณัฎฐ์
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง
ตอบ ทิศทางและแนวโน้มของการศึกษาการบริหารงานภาครัฐในอนาคต จะมุ่งสู่การศึกษาการ บริหารงานที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนา และการสร้างการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการ บริหารงานภาครัฐ เพื่อออธิบายปรากฏการณ์การบริหารงานภาครัฐครอบคุลมในทุกมิติ ซึ่งผู้เขียนเห็นว่าการ เปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนานี้ ส่งผลให้นักวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ต้องมีการปรับตัวและเรียนรู้ กระแสการพัฒนาที่มีความหลากหลาย และอาจนพมาด้วยการขาดความเช่ียวชาญในองค์ความรู้ใหม่ท่ีจะนพมา อธิบายหรือค้นหาหลักการบริหารงานภาครัฐ จนนพมาสู่วิกฤตอัตลักษณ์ด้านองค์ความรู้ของศาสตร์สาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงจพเป็นต้องยึดแนวทางการศึกษาประเด็นสาธารณะ ร่วมสมัยท่ีมีความเก่ียวข้องกับการดพเนินงานของภาครัฐ เพื่อหลีกเลี่ยงวิกฤตติด้านองค์ความรู้ที่จะเกิดข้ึนใน อนาคต
Nan. said…
63423471003 สรัญณัฎฐ์
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ 1 มีความเชื่อว่าการบริหารงานมีลักษณะความเป็นสากลสภาพ หรือไม่มีความแตกต่าง
อย่างเป็นนัยสำคัญระหว่างการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชน และการบริหารงานภาครัฐ
2) ปรับเปลี่ยนการให้น้ำหนักความสำคัญจากเดิมที่มุ่งเน้นการควบคุมทรัพยากร
และกฎระเบียบ เป็นเรื่องของการควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์ หรือปรับเปลี่ยนจากการให้ความสำคัญ
ในภาระรับผิดชอบต่อกระบวนงาน (Process Accountability) ไปสู่ภาระรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธิ์
(Accountability for result)
3) ให้ความสำคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย
4) โอนถ่ายอำนาจการควบคุมของหน่วยงานส่วนกลาง (Devolution of Centralized
Power) เพื่อให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน
5) ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่โดยแบ่งออกเป็น 3 ภารกิจ ได้แก่
1. งานเชิงพาณิชย์ (การกำกับดูแล ควบคุม) 2. งานเชิงพาณิชย์ (การกำกับดูแล ควบคุม) และ
3.งานเชิงนโยบายและการให้บริการ เพื่อให้องค์การมีขนาดเล็กลงในรูปแบบของหน่วยงานอิสระใน
กำกับ
6) เน้นการบริหารกิจการของรัฐเป็นรูปแบบเอกชนและให้มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอก
(Outsourcing) รวมทั้งบูรณาการวิธีการจัดจ้างและการประมูลงาน (Competitive Tendering)
เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและลดต้นทุน
7) บุคลากรของภาครัฐในเรื่องการทำสัญญาจ้างปรับให้เป็นระยะสั้น กำหนดเงื่อนไข
ข้อตกลงให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบได้
8) นำรูปแบบการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชนที่ประสบความสำเร็จมาประยุกต์ใช้
เช่น การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารคุณภาพเชิงรวม การจ่ายรางวัลค่าตอบแทนตามผลงาน การจัด
จ้างบุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวเฉพาะกิจ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อการบริหารงาน
9) มีการสร้างแรงจูงใจในองค์การ เช่น การจ่ายตอบแทนในรูปของตัวเงินมากขึ้นเพื่อ
เป็นรางวัล (Monetary Incentives)
10 พยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต เพื่อให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณที่คุ้มค่า
(ทศพร ศิริสัมพันธ์, 2551)
Nan. said…
63423471003 สรัญณัฎฐ์
Assignment 4. อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ ส่งผลให้ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งประเด็นไปที่ การศึกษาหลักธรรมภิบาล (good
governance) ในการบริหารงานของภาครัฐ การจัดการแบบเครือข่าย (network governance) เช่น องค์การ
ไม่แสวงหากำไร (nonprofit organization) อาสาสมัคร(volunteer) เป็นต้น และการบริหารจัดการองค์การร่วม
สมัย (contemporary organization theory) เช่น การสร้างความร่วมมือในองค์การ (collaboration) ทุนมนุษย์
(human capital) (วัชรพล ศุภจักรวัฒนจา และวัชรพล พุทธรักษา, 2561) นอกจากนี้แนวโน้มการศึกษาของ
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ภายใต้บริบทการพัฒนาในยุคอุตสาหกรรมดิจิตอล ขอบเขตของการศึกษา
การบริหารงานภาครัฐจะขยายประเด็นไปถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการดำเนินสาธารณกิจของภาครัฐ เช่น
การจัดการข้อมูล การนำระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการดำเนินการบริหารงานภาครัฐ (e-government) เป็นต้น
รวมไปถึงการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ (บุญทัน ดอกไธสง, 2562: 41-43)
ดังนั้นทิศทางและแนวโน้มของการศึกษาการบริหารงานภาครัฐในอนาคต จะมุ่งสู่การศึกษาการ
บริหารงานที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนา และการสร้างการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการ
บริหารงานภาครัฐ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์การบริหารงานภาครัฐครอบคุลมในทุกมิติ ซึ่งผู้เขียนเห็นว่าการ
เปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนานี้ ส่งผลให้นักวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ต้องมีการปรับตัวและเรียนรู้
กระแสการพัฒนาที่มีความหลากหลาย และอาจนำมาด้วยการขาดความเชี่ยวชาญในองค์ความรู้ใหม่ที่จะนำมา
อธิบายหรือค้นหาหลักการบริหารงานภาครัฐ จนนำมาสู่วิฤตอัตลักษณ์ด้านองค์ความรู้ของศาสตร์สาขาวิชา
รัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงจำป็นต้องยึดแนวทางการศึกษาประเด็นสาธารณะ
ร่วมสมัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของภาครัฐ เพื่อหลีกเลี่ยงวิกฤตติด้านองค์ความรู้ที่จะเกิดขึ้นใน
อนาคต

Popular posts from this blog

วีดิโอการพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม: สถานการณ์จำลอง

การบริหารการพัฒนา กลุ่ม 391 กองทัพบก Module 1 วันเสาร์ที่ 30-วันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม 2565

หลักรัฐประศาสนศาสตร์ สัปดาห์ที่ 3 16-17 พ.ค.2563