หลักรัฐประศาสนศาสตร์ สัปดาห์ที่ 2






 https://1drv.ms/p/s!Ah3794ylVPC8hkczGQhM8mmhttps://1drv.ms/p/s!Ah3794ylVPC8hkczGQhM8mmQ73lj?e=5gyCIfQ73lj?e=5gyCIf



https://1drv.ms/b/s!Ah3794ylVPC8hkqV5https://1drv.ms/b/s!Ah3794ylVPC8hkqV57fjHPvLfFJa?e=t5ZVNu7fjHPvLfFJa?e=t5ZVNu



https://1drv.ms/b/s!Ah3794ylVhttps://1drv.ms/b/s!Ah3794ylVPC8hkndQ4RinCOx7iDE?e=0mpym9PC8hkndQ4RinCOx7iDE?e=0mpym9





https://1drv.ms/b/s!Ah3794ylhttps://1drv.ms/b/s!Ah3794ylVPC8hkuEQS0_qx-SiS0M?e=rCRqbNVPC8hkuEQS0_qx-SiS0M?e=rCRqbN


https://1drv.ms/b/s!Ah3794ylVPC8hlDCZDa1wLurUHZG?e=QkBmE0การจัดการสาธารณะใหม่

Comments

(ส่งการบ้านช่วงเช้า-ช่วงบ่าย ) วันที่ 08/05/63
น.ส.ธวิภรณ์ ธีรเกษตร รหัสนักศึกษา 61823451107 รุ่นที่ 41

1.)อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง?
ตอบ. มาตราการในการเปิดร้านเสริมสวย โดยผู้ประกอบการร้านตัดผมจะต้องให้ความร่วมมือกับกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุขที่ให้คำแนะนำผู้ประกอบการร้านตัดผม เสริมสวย (เฉพาะตัด สระ ไดร์)เตรียมความพร้อมรับมาตรการผ่อนปรน และถือปฏิบัติตามคำแนะนำของกรมอนามัย เพื่อสร้างสุขอนามัยที่ดีให้กับตนเองและผู้ใช้บริการ ป้องกันการแพร่เชื้อโควิด-19 มีมาตรการ ผ่อนปรนให้สถานประกอบการร้านตัดผม เสริมสวย เปิดให้บริการได้ตั้งแต่ 3พฤษภาคม 2563 นั้น ในส่วนผู้ประกอบการ ผู้ให้บริการ พนักงานและผู้เกี่ยวข้องกับงานบริการทุกคน ต้องให้ความสำคัญด้านความสะอาด ปลอดภัย สร้างสุขอนามัยที่ดีให้กับตนเองและลูกค้าผู้ใช้บริการ และปฏิบัติตามมาตรการของกรมอนามัยในการควบคุมป้องกันเชื้อโควิด-19 อย่างเคร่งครัด ดังนี้ 1) มีการตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายแก่พนักงานทุกคนที่ให้บริการ ในร้านตัดผม เสริมสวย (เฉพาะตัด สระ ไดร์) ถ้ามีอุณหภูมิร่างกายเกิน 37.5 องศาเซลเซียส หรือมีไข้ ไอ จาม ให้หยุดปฏิบัติงานและไปพบแพทย์ 2)จัดหาหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยสำหรับพนักงานทุกคนอย่างเพียงพอ โดยให้พนักงานทุกคนสวมเสื้อคลุม ใส่หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย และสวม Face shield ตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน 3) กำหนดให้พนักงานทุกคนล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำ หรือเจลแอลกอฮอล์ ก่อนและหลังให้บริการลูกค้าคนต่อไป 4)ห้ามให้บริการอื่น ๆ ที่ต้องสัมผัสใกล้ชิดกับใบหน้าของลูกค้า หรือถ้าใช้ใบมีดโกน ให้เปลี่ยนใบมีดกับลูกค้า ทุกคน ห้ามใช้ซ้ำ
สำหรับการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในร้านนั้น ควรจัดให้มีจุดล้างมือหรือเจลแอลกอฮอล์ สำหรับบริการลูกค้าที่บริเวณประตูทางเข้า หรือเคาน์เตอร์รับชำระเงินทุกจุดอย่างเพียงพอ

2.)บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง ?
ตอบ. การติดตามสถานการณ์ของประชาชนในการเฝ้าระวังของเรื่องมาตราการควบคุมของโรคไวรัสโควิด-19 โดยมีการประชุมทุกอาทิตย์ ประชุมผ่านระบบวีดีโอคอนเฟอเร้นซ์กับผู้บังคับหน่วยทั่วประเทศ ในการติดตามและห่วงใยประชาชนโดยมีการรายงานผู้ที่อยู่ในการเฝ้าระวัง เพิ่มขึ้นหรือลดลง และ พ้นการเฝ้าระวัง เพิ่มขึ้นหรือลดลง กี่รายโดยสรุปส่งยอดให้กับผู้บังคับบัญชาให้รับทราบด้วยตลอด และมีการแจกจ่ายถุงยังชีพ เจลแอลกอฮอล แมสปิดปาก ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) สําหรับกําลังพล ครอบครัว และผู้พักอาศัย ในหน่วย/ค่ายทหารของ ทบ. เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อไวรัสโควิด-19 ตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชาในการใส่ใจและห่วงใยประชาชน แม้ว่าในขณะนี้ ในหน่วยทหารของกองทัพบกจะไม่มีผู้ติดเชื้อเพิ่ม แต่ได้กำชับให้ทุกหน่วยทหารยังคงดำรงความเข้มข้นในการตรวจสอบเฝ้าระวังในทุกพื้นที่ ทุกชุมชนทหาร โดยให้ผู้บังคับหน่วยกำกับดูแลตามมาตรการป้องกัน COVID-19 กองทัพบก และตามมาตรการของภาครัฐในช่วง พ.ร.ก.ฉุกเฉินอย่างเคร่งครัด หากผู้ใดฝ่าฝืน อาจต้องจำคุกถึง 2 ปี หรือปรับ 4 หมื่น
(แบบฝึกหัดท้ายบท ช่วงเช้า-ช่วงบ่าย ) วันที่ 08/05/63
นายนธี พรมจันทร์ รหัสนักศึกษา 61423451015 รุ่นที่ 41
1.)อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง?
ตอบ แนวคิดการบริหารการเมืองในเรื่องมาตราการในการเปิดร้านขายอาหาร โดยผู้ประกอบการร้านอาหารจะต้องให้ความร่วมมือกับกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุขที่ให้คำแนะนำผู้ประกอบการร้านอาหารตรียมความพร้อมและถือปฏิบัติตามคำแนะนำของกรมอนามัย เพื่อสร้างสุขอนามัยที่ดีให้กับตนเองและผู้ใช้บริการป้องกันการแพร่เชื้อโควิด-19 ในส่วนผู้ประกอบการร้านอาหาร ผู้ให้บริการ พนักงานและผู้เกี่ยวข้องกับงานบริการทุกคน ต้องให้ความสำคัญด้านความสะอาด ปลอดภัย สร้างสุขอนามัยที่ดีให้กับตนเองและลูกค้าผู้ใช้บริการ และปฏิบัติตามมาตรการของกรมอนามัยในการควบคุมป้องกันเชื้อโควิด-19 อย่างเคร่งครัด ดังนี้
1.มีการตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายแก่พนักงานของร้านทุกคนที่ให้บริการรวมถึงลูกค้าที่มาใช้บริการ 2.กำหนดให้สบู่และน้ำหรือเจลแอลกอฮอล์ไว้สำหรับพนักงานที่ให้บริการ 3.จัดหาหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยสำหรับพนักงานทุกคนอย่างเพียงพอใส่หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยและสวม Face shield ตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน 4.จัดที่นั่งเว้นระยะห่าง 1 เมตรให้กับลูกค้าที่มาใช้บริการ ในส่วนของลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการก็ต้องปฏิบัติตัวด้วยเช่นกันคือ ต้องสวมใส่แมสทุกครั้งและต้องล้างมือด้วยเจลหรือเจลแอลกอฮอล์ทุกครั้งที่มาใช้บริการ.

2.)บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง?
ตอบ บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองกับข้าราชการประจำคือ การติดตามสถานการณ์ของประชาชนในการเฝ้าระวังของเรื่องมาตราการควบคุมของโรคไวรัสโควิด-19ทางภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ร่วมมือกันหลายฝ่ายเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19) โดยในส่วนของมาตราการการป้องกันได้มีการตั้งจุดคัดกรองประชาชนที่เดินทางเข้ามาในพื้นที่และจัดพื้นที่ให้กับประชาชนเพื่อการกักตัวโดยใช้ของการกักตัวประมาณ 14 วันตามระยะเวลาการแสดงอาการของเชื้อโรคโควิด-19และส่งเจ้าหน้าที่ อสม เข้าไปตรวจเช็ควัดไข้ตลอดเวลาที่ประชาชนถูกกักตัว โดยผู้ควบคุมหน่วยของแต่ละจังหวัดจะรายงานสถานการณ์ของประชาชนในการเฝ้าระวังของเรื่องมาตราการควบคุมของโรคไวรัสโควิด-19 โดยมีการประชุมทุกวันผ่านระบบวีดีโอคอนเฟอเร้นซ์กับศูนย์ควบคุมโรคโควิด-19ที่ทางรัฐบาลตั้งขึ้นเพื่อประเมินสถาณการณ์ ในส่วนมาตรการของภาครัฐในช่วง พ.ร.ก.ฉุกเฉิน หากผู้ใดฝ่าฝืนต้องจำคุกถึง 2 ปี หรือปรับ 4 หมื่น.
สำหรับการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในด่านคัดกรองประชาชนได้ให้มีจุดล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์สำหรับเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและให้เจ้าพนักงานที่ปฏิบัติงานสวมใส่แมสทุกครั้งตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน.
นายพิชชา​ ดา​ระ​สวัสดิ์​ said…
การบ้าน​ วันเสาร์​ที่9/5/63​
นายพิชชา​ ดาระ​สวัสดิ์​ รหัส​62423471046​ รุ่น44
ช่วง​เช้า-บ่าย
1.อธิบาย​แนวคิดการบริหารกับการเมือง​รวมทั้งความสัมพันธ์​ระหว่าง​การบริหาร​และการเมือง
=แนวคิดนโยบายของรัฐบาล​ในการประกาศ​ พ.ร.ก​ฉุกเฉิน​และเคอฟิวเพื่อป้องกันการแพร่ะบาดcovid19เพื่อไม่ให้มีการรวมตัวกันและลดจำนวนผู้ติดเชื้อและมีมาตราการอื่นอีกมากมาย​ จะเห็นได้ว่าการบริหาร​กับการเมืองมีความสัมพันธ์​กันโดยฝ่ายการเมืองจะกำหนดนโยบายและนำหลักการบริหารงานมาใช้​ ด้วยการกำหนดเป้าหมายและประสานงานกับสถานบันเทิง​ให้ปิดกิจการเพื่อไม่ให้มีการรวมตัวจนเป็เหตุให้แพร่เชื้อไวรัสcovid19
2.บทบาทข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมการบริหาร
=บทบาทข้าราชการประจำำ​=กำหนดนโยบาย​ บทบาทของข้าราชการ​ประจํา​คือปฏิบัติ​ตามนโยบาย​ที่กำหนดไว้​ สภาพแวดล้อม​ เช่นในสถานการณ์​แพร่ระบาดcovid19
จำนวนประชากรที่ไม่มีรายได้​จำนวนมาก ทำให้​รัฐบาล​มีนโยบายแจกเงิน5,000บาทโดยมีข้าราชการประจำกระทรวง​การคลังสนองนโยบาย
นายธนกร แตงเนียม รหัสนักศึกษา 61423451090 รุ่น41 ช่วงเช้า-บ่าย วันที่ 9 พฤษภาคม 63
1.อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ.
แนวคิดนโยบายการบริหารของรัฐบาลคือในการประกาศ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ช่วงเคอฟิวการปิดสถานที่ต่างๆการตรวจคัดกรอกโรคจากที่ต่างๆรวมทั้งสั่งปิดสถานบริการสถานประกอบการรวมถึงห้างร้านที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงโดยสั่งปิดจนกว่ารัฐบาลจะประกาศมาตรการคลายล็อกดาวน์ เพื่อลดจำนวนผู้ติดเชื้อและไม่ให้มีการรวมกลุ่มและชุมนุมกันโดยบางบริษัทหรือข้าราชการจัดชุดทำงานหยุดวันเว้นวันตามนโยบายเพื่อลดการเสี่ยงการติดเชื้อและนำงานกลับมาทำที่บ้านแทนตามคำเสนอแนะกระทรวงสาธารณะสุขโดยให้ประชาชนทำตามอย่างเคร่งครัดและทุกคนต้องสวมแมสหรือหน้ากากอนามัยผ้าทุกคนและไม่อยู่รวมตัวกันในกลุ่มเสี่ยงจะเห็นได้ว่าความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมืองจะเป็นหลักการนำมาใช้สนองนโยบายภาครัฐและภาคเอกชนให้สนองนโยบายทำตามคำสั่งของรัฐบาล
2.บทบาทข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมการบริหาร
ตอบ.
บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองกับข้าราชการประจำคือ การติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์การติดเชื้อไวรัส โควิด-19 โดยมีการแถลงและเฝ้าระวังทุกวันผ่านโทรทัศน์จากกระทรวงสาธารณะสุขโดยจะเห็นได้ว่ารัฐบาลออกมาตราการหรือคำสั่งผ่านกระทรวงเรื่องการคัดกรอกคนไทยที่เดินทางมาจากต่างประเทศ ให้ไปกักตัว14วันที่อาคารรับรองฐานทัพเรือสัตหีบ เพื่อเฝ้าระวังเชื้อไวรัสโควิด-19และไม่ให้เชื้อมาแพร่กระจายสู่คนในประเทศจะเห็นได้ว่ามาตรการนี้กระทรวงสาธารณะสุขจะเคร่งมากและตัวเลขลดลงอย่างเห็นได้ชัดทำให้ผู้ป่วยในประเทศไทยลดลงตามลำดับทำให้เห็นถึงความสามัคคีของบุคคลากรทางการแพทยืที่ทำงานอย่างหนักเพื่อรักษาคนที่ติดเชื้อและทำให้เลขคนที่รักษาหายกลับบ้านตามตัวเลขที่ติดเชื้ออย่างได้ทันทำให้ประเทศไทยมีตัวเลขจากเลขสามหลักเหลือเลขหลักเดียวภายในระยะเวลาไม่นานและหากผู้ใดฝ่าฝืนคำสั่ง พ.ร.ก.ฉุกเฉินจะถูกจำคุกถึง 2 ปี หรือปรับ 4 หมื่น.
งการบ้านช่วงบ่าย ) วันที่ 10/05/63
น.ส.ธวิภรณ์ ธีรเกษตร รหัสนักศึกษา 61823451107 รุ่นที่ 41
1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง ? โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
ตอบ. กระบวนการบริหาร POSDCoRB ภาระหน้าที่ที่สำคัญของนักบริหาร 7 ประการ คือ
1. Planning (การวางแผน )
2. Organizing (การจัดองค์การ )
3. Staffing (การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน)
4. Directing ( การอำนวยการ )
5. Coordinating (การประสานงาน)
6. Reporting ( การรายงาน )
7. Budgeting (การงบประมาณ)

หลักการในส่วนที่ทำงานของ(กรมสรรพาวุธทหารบก)ได้รับคำสั่งจากผู้บังคับบัญชาโดยตรงจาก ผบ.ทบ. กล่าวในที่ประชุมกองทัพบก (ทบ.) ผ่านระบบวิดีโอคอนเฟอร์เรนซ์ว่า ทบ. มีกำลังพลติดเชื้อ โควิด-19 รวม5 นาย และกักตัว 238 นายทั้งนี้หลัง รัฐบาล เตียมประกาศบังคับใช้ พ.ร.ก.บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ตั้งแต่วันที่ 26 มีค.2563 นั้น ทบ.มีหน้าที่เตรียมกำลังพล บุคลากรทางการแพทย์ เครื่องมือยุทโธปกรณ์ ในการสนับสนุนรัฐบาล และ ศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 (ศอฉ.โควิด-19)จากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส ทำให้ต้องเตรียมพร้อมเพื่อป้องกันกำลังพลอย่างมีประสิทธิภาพจึงมีคำสั่ง 7 ข้อ โดยมีผลการบังคับใช้กับกำลังพลในสังกัด ทบ. ทุกนายตั้งแต่วันที่ 25 มี.ค.63 ดังนี้
1. กำลังพลที่พักอาศัยในบ้านพักของทางราชการให้หลีกเลี่ยงการออกนอกบริเวณโดยไม่จำเป็น ห้ามนำบุคคลภายนอกเข้ามาพักอาศัยโดยเด็ดขาด ยกเว้นได้รับการอนุมัติเป็นลายลักษณ์อักษร จาก ผู้บังคับบัญชา (ระดับผบ.พัน) ขึ้นไป และต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการโรคระบาดของเชื้อไวรัส โควิด - 19 ตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด ห้ามกลับเข้าบ้านพักของทางราชการเกินเวลา 21.00 น.
หากมีความจำเป็น ให้ขออนุญาตผู้บังคับบัญชา เป็นรายบุคคล ส่วนกำลังพลที่มีบ้านพักอาศัยส่วนตัวอยู่นอกหน่วย เพื่อให้เป็นไปตามมาตรการการติดตาม และเฝ้าระวังให้แจ้งที่อยู่บ้านพัก และช่องทางการติดต่อสื่อสาร ที่สามารถติดตามตัวได้ตลอดเวลา ส่วนหน่วยที่มีการฝึกร่วมกับมิตรประเทศในที่ตั้งให้ดำเนินการตามมาตรการนี้เช่นเดียวกัน ยกเว้น การฝึกนอกที่ตั้ง ให้ปฏิบัติตามตารางการฝึก และคำสั่งของกองทัพบก เรื่องมาตรการควบคุมโรคระบาด
2. การเดินทางออกนอกพื้นที่กองทัพ หรือ จังหวัดหนึ่งไปยังอีกจังหวัดหนึ่ง ให้กระทำได้ในเฉพาะกรณีเป็นการปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่ง เช่น การเดินทางไปราชการ การสับเปลี่ยนกำลังของหน่วย หากไม่มีคำสั่งให้กำลังพลทุกระดับปฏิบัติหน้าที่ในที่ตั้งปกติ
3. ให้ ผบ.หน่วย ปรับปรุงอาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อมภายในหน่วยให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น โรงยิม, ใต้ถุนกองร้อย, สโมสรของหน่วยเพื่อลดความแออัดของกำลังพล และลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคให้กับกำลังพล และเพื่อกักบริเวณในการเฝ้าระวังผู้ที่กลับจากการลาพัก
4. ตามที่กองทัพบกได้สั่งการไปแล้ว โดยให้หน่วยปรับเปลี่ยนระเบียบปฏิบัติประจำวันเพื่อป้องกันโรคตามคำแนะนำ ขอให้รักษาวินัยในเรื่องดังกล่าว อย่างเคร่งครัด เช่น อยู่ห่างกันอย่างน้อย 2 เมตร มีอุปกรณ์, ภาชนะ,กระติกน้ำดื่มส่วนตัว ,การกระจายที่นั่ง, แบ่งผลัดรับประทานอาหาร,การออกกำลังกายกลางแจ้งกลางแดด,กิจกรรมใดที่ต้องรวมพลพร้อมกั้น จำนวนมาก, ให้พิจารณาแบ่งการปฏิบัติเป็นผลัดเพื่อลดความแออัด
5. งดการปล่อยลาพักของทหารกองประจำการ เพื่อเป็นการควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อโรคสำหรับการเยี่ยมญาติสามารถปฏิบัติได้ แต่ต้องเป็นไปตามมาตรการการระวังป้องกันโรคระบาด เพื่อเป็นการพิทักษ์กำลังพล ส่วนน้องๆ พลทหารฯ และกำลังพลทุกระดับที่ได้ลาพักไปแล้ว เมื่อกลับมาขอให้หน่วยได้จัดสถานที่ให้อยู่ต่างหากและกันตัวเองออกจากกำลังพลส่วนใหญ่เป็นเวลา 14วัน เพื่อเฝ้าสังเกตอาการหากพบอาการป่วยให้ส่งตรวจรักษาทันที
6.ให้ทุกหน่วยพิจารณาจำกัดทางเข้า - ออกของหน่วย ส่วนกองรักษาการณ์ให้แปรสภาพเป็น เจ้าหน้าที่คัดกรอง, เฝ้าระวัง บุคคลเข้าหน่วย โดยจัดหาอุปกรณ์วัดอุณหภูมิเจลแอลกอฮอล สำหรับล้างมือตามจุดเข้า - ออก โดยกำลังพลที่ปฏิบัติหน้ที่กองรักษาการณ์ให้ใส่หน้ากากทุกนาย
7.ผู้บังคับกองร้อยและผู้บังคับกองพัน จะต้องเป็นผู้ควบคุมการปฏิบัติอย่างใกล้ชิดโดยมีผู้บังคับการกรม และ ผบ.พล หรือเทียบเท่า เป็นผู้กำกับดูแลอีกชั้นหนึ่ง หากไม่กำกับการปฏิบัติฯ หรือได้รับการรายงาน ฯ ถือว่าขัดคำสั่ง จะมีผลในการปรับย้ายทันที
ทั้งนี้ เพื่อเป็นการพิทักษ์กำลังพล และครอบครัวของกองทัพบก ผบ.หน่วยทุกนายจะต้องทุ่มเทเสียสละ ดูแล ผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างดีที่สุดทั้งนี้ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด - 19 ส่งผล ต่อสภาพเศรษฐกิจทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย
(แบบฝึกหัดท้ายบท ช่วงเช้า-ช่วงบ่าย ) วันที่ 10/05/63
นายนธี พรมจันทร์ รหัสนักศึกษา 61423451015 รุ่นที่ 41
1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง ? โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
ตอบ. กระบวนการบริหาร POSDCoRB ภาระหน้าที่ที่สำคัญของนักบริหาร 7 ประการ คือ
1. Planning (การวางแผน )
2. Organizing (การจัดองค์การ )
3. Staffing (การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน)
4. Directing ( การอำนวยการ )
5. Coordinating (การประสานงาน)
6. Reporting ( การรายงาน )
7. Budgeting (การงบประมาณ)
ในส่วนของกระบวนการบริหารในบริษัทเอกชนที่ทำงานนั้น ได้รับคำสั่งจากจากรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ที่สื่อสารให้กับผู้บริหารและหัวหน้างานเกี่ยวกับการหยุดพักการเดินสายการผลิตชั่วคราวจากสถานการณ์ COVID -19 และเพื่อให้มั่นใจว่าเราจะสามารถกลับมาเปิดการผลิตได้อย่างราบรื่น ไม่มีเหตุการณ์อะไรมาทำให้สะดุด บริษัทขอให้ผู้บริหาร หัวหน้างาน และพนักงานทุกท่านช่วยกันรักษาและปฏิบัติตามที่บริษัทกำหนด ทั้งการดูแลและสร้างจิตสำนึกในการป้องกันตัวเองเพื่อไม่ให้เกิดความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัส COVID-19 และ ปฏิบัติตามมาตรการของภาครัฐฯ และคำสั่งบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด อาทิเช่น
1.ห้ามออกนอกเคหะสถานระหว่าง 22.00 - 04.00 ของวันถัดไป 
2.งดหรือชะลอการเดินทางข้ามจังหวัด 
3.งดการชุมนุม ทำกิจกรรม หรือการมั่วสุม 
4.งดการเดินทางเข้า-ออก ราชอาณาจักรไทย 
5.ห้ามเข้าไปในพื้นที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ในส่วนของบริษัทที่มีข้อปฏิบัติต่อผู้บริหาร หัวหน้างาน และพนักงานที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรการของภาครัฐฯ และคำสั่งบริษัทฯนั้น บริษัทสามารถบอกเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชยได้ทันที.

นายประเสริฐ เอนกวิชณกุล
การบ้าน​ วันเสาร์​ที่9/5/63​ รหัส ​62423471132​ รุ่น44
ช่วง​เช้า-บ่าย
ฝ่ายการเมืองมีบทบาทหน้าที่กําหนดนโยบาย ควบคุม กํากับ และดูแลให้การนํานโยบายไป
ปฏิบัติบรรลุผลสําเร็จ ส่วนฝ่ายบริหารราชการหรือข้าราชการประจํามีบทบาทหน้าที่ในการนํานโยบายที่ฝ่าย
การเมืองกําหนดไปปฏิบัติซึ่งเป็นการแยกบทบาทหน้าที่ออกจากกันอย่างชัดเจน ไม่แทรกแซงหรือก้าวก่าย
บทบาทหน้าที่กันก็ตาม แต่ในแง่ของความเป็นจริง กระบวนการทั้งสองมีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกัน
อย่างใกล้ชิดจนไม่สามารถแยกออกจากกันได้เปรียบเสมือนเหรียญที่มีสองด้าน เพราะทั้งสองฝ่ายจะต้อง
ทํางานร่วมกันและพึ่งพากันตลอดเวลา เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ
บทบาทของฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจําจึงต้องมีการทํางานที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อทําให้
การทํางานเป็นไปโดยราบรื่น แต่หลายครั้งมักเกิดปัญหาฝ่ายการเมืองเข้าแทรกแซงฝ่ายบริหารราชการในแง่
ของการแต่งตั้ง โยกย้ายข้าราชการประจํา อย่างไรก็ตามฝ่ายบริหารราชการก็มีการแทรกแซงฝ่ายการเมืองโดย
การเข้ามามีส่วนร่วมในการกําหนดนโยบายโดยเฉพาะเรื่องที่ต้องใช้ความรู้ทางเทคนิคสูง ซึ่งฝ่ายการเมืองอาจมี
ข้อมูลน้อยหรือไม่มีความเชี่ยวชาญ เช่น ฝ่ายบริหารราชการจะเข้ามามีบทบาทในการกําหนดนโยบายของรัฐ
โดยการเข้ามามีส่วนร่วมในการริเริ่มร่างข้อเสนอนโยบาย การชักจูงหว่านล้อมให้ฝ่ายการเมืองกําหนดนโยบาย
ให้เป็นไปตามทิศทางที่ตนหรือองค์การต้องการ การเสนอทางเลือกให้ฝ่ายการเมืองตัดสินใจ เป็นต้น
ดังนั้น ฝ่ายการเมืองและฝ่ายบริหารราชการจึงมีความสัมพันธ์ในบทบาทหน้าที่ของกันและกัน
โดยบางครั้งมีการแทรกแซงบทบาทหน้าที่ของอีกฝ่ายหนึ่ง เพราะในทางปฏิบัติเราไม่สามารถแบ่งบทบาท
ระหว่างฝ่ายการเมืองกับฝ่ายข้าราชการประจําได้อย่างเด็ดขาด แต่ความสัมพันธ์ดังกล่าวจะต้องมีความสมดุลกัน
การปฏิบัติงานจึงจะเกิดเสถียรภาพและสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้
นายสิทธิพร เลาหพูนรังษี รหัสนักศึกษา 61823451112 รุ่นที่ 41
1.อธิบาย​แนวคิดการบริหารกับการเมือง​รวมทั้งความสัมพันธ์​ระหว่าง​การบริหาร​และการเมือง
ตอบ แนวคิดนโยบาย พรก.ฉุกเฉน โควิด-19 ของรัฐ ให้ปิดสถานบันเทิง สนามกีฬา หรือที่ที่สามารถชุมนุมกันได้ เพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื่อ และเพื่อความปลอดภัยของตัวประชาชนเอง และสถานที่ที่กล่าวมาข้างต้นก็ให้ความร่วมมือแก่รัฐบาล ถือว่าเป็นความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารและการเมือง
2.บทบาทข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมการบริหาร
ตอบ ข้าราชการฝ่ายการเมือง-เป็นคนออกนโยบายต่างๆ / ข้าราชการประจำ-เป็นคนนำนโยบายที่ข้าราชการฝ่ายการเมืองออกมานั้น ไปใช้
นายพิชชา​ ดาระ​สวัสดิ์​ รหัส​62423471046​ รุ่น44
วันอาทิตย์​ที่10/5/63​ ช่วงเช้า-บ่าย

1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง​ โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
กระบวนการบริหาร
1.1​ Planning​ = การวางแผน
1.2​ Organizing​ = จัดองค์การ
1.3​ Staffing​ = การจัดบุคลากร
1.4​ Direct​ing​ = อำนวยการ
1.5​ Coordinating​ =การ ประสานงาน
1.6​ Reporting​ = การรายงาน
1.7​ Budgeting​ = การทำงบประมาณ
เป้าหมาย​ของหน่วยงานคือการอำนวยความ​
สะดวก​ ความสะอาด และควาใปลออดภัญ​ให้​
กับผู้​จัดจ้าง​ มีการสรรหาแลคัดเลือก​พนักงาน​
อย่าง​มีมาตรฐาน​ เช่น​ มีความ​ซื่อสัตย์​ ขยัน​
อดทน​ มีความรับผิดชอบ​ มีปฏิภาณไหวพริบ​
ดี​ มีการอบรมในด้านต่างๆ​ เช่น​ การระงับ​
เหตุอัคคีภัย​ ทักษะการต่อสู้​ มีการประสาน​
งานแบ่งหน้าที่และมีการรายงานความเรียบ​
ร้อยต่อหัวหน้างาน​






นางสาวนิตย์รดี จิณะไชย รหัสนักศึกษา62423471015 รุ่น44
งานประเมินความรู้ เช้า-บ่าย
วันเสาร์ที่9/05/63
•คำถาม
1.อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง?
ตอบ แนวคิดการบริหารคือ การดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่
กำหนดไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งหลาย ได้แก่ คน เงิน วัตถุสิ่งของเป็นอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานนั้น
คำนิยามนี้ใช้ในทางปฏิบัติจริงๆ ซึ่งเน้นไปที่การจัดการ
แนวคิดการเมืองคือ กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับกระบวนการกําหนดนโยบายของรัฐ เพื่อจัดสรรผลประโยชน์และคุณค่า ต่าง ๆ ทางสังคมให้แก่ประชาชนโดยส่วนรวมอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ซึ่งการจัดสรรผลประโยชน์และคุณค่า ทางสังคมให้แก่ประชาชนจะออกมาในรูปของกฎหมาย นโยบาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ หรือคําสั่ง เป็นต้น
1. ประเทศที่ระบบการเมืองพัฒนาแล้ว เช่น อังกฤษ สวีเดน นั้น ระบบการเมืองพัฒนาไปมากจนถึงจุดที่พลเมืองทุกคนมีโอกาสเข้าร่วมทำกิจกรรมทางการเมืองโดยถ้วนหน้ากันบุคคลอื่นที่มิใช่ข้าราชการเข้ามาร่วมในกระบวนการนโยบายด้วย
2. ประเทศที่กำลังพัฒนาทางการเมือง กล่าวคือ ระบอบการเมืองยังคงอยู่ในวงจรของการมีการจัดตั้งรัฐบาลโดยผ่านกระบวนการเลือกตั้ง สลับกับการโค่นล้มรัฐบาลโดยส่วนมากเป็นการกระทำของกลุ่มทหารมักพบว่ามีการก้าวก่ายแทรกแซงในการทำงานของข้าราชการประจำ ซึ่งส่วนมากจะเข้ามาในช่วงการนำนโยบายไปปฏิบัติ


2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหารมีอะไรบ้าง
ตอบ บทบาทข้าราชการฝ่ายการเมืองรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการเมือง
1.การกําหนดนโยบาย โดยปกติการกําหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
1.1 พระราชบัญญัติ ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคําแนะนํา และการยินยอมของรัฐสภา
1.2 พระราชกําหนด ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจ บริหารให้ใช้บังคับ เพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ
1.3 พระราชกฤษฎีกา ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัย อํานาจรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกําหนดเพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่น ดิน ซึ่งพระราชกฤษฎีกา มีศักดิ์ต่ำกว่าพระราชบัญญัติและขัดต่อพระราชบัญญัติไม่ได้
1.4 กฎกระทรวง ซึ่งเป็นกฎที่กระทรวงต่าง ๆ กําหนดขึ้นมาเพื่อให้มีผลบังคับใช้โดยเร็วในการ แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในสังคม
2. การกํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจําว่าเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของนโยบายหรือไม่เพียงใด
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจําระดับสูง (ระดับกรมขึ้นไป) เพื่อให้เป็น หลักประกันว่านโยบายของฝ่ายการเมืองจะได้รับการปฏิบัติจากข้าราชการประจําอย่างเต็มความสามารถ หาก ข้าราชการประจําละเลยไม่นํานโยบายไปปฏิบัติอย่างจริงจัง ฝ่ายการเมืองก็มีอํานาจในการโยกย้ายข้าราชการ

บทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการเมือง
1.การปฏิบัติงานประจํา คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานที่เทียบเท่า โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน เป็นงานที่ทําประจํา ไม่มีกรอบเวลาสิ้นสุด
2. การนํานโยบายไปปฏิบัติ ถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญประการหนึ่งของข้าราชการประจํา ซึ่งมีความยากในการปฏิบัติมากกว่างานประจํา เพราะนโยบาย แผนงาน โครงการนั้นมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
3. การให้ข้อมูลรายละเอียด คําชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมืองในการกําหนด นโยบายหรือการให้ข้อมูลในการแถลงต่อรัฐสภา
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน ของข้าราชการประจํา
5. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากงานประจํา ซึ่งถือว่าเป็นนโยบายครั้งคราว หรือ คําสั่งเฉพาะกิจจากฝ่ายการเมือง
นางสาวนิตย์รดี จิณะไชย รหัสนักศึกษา62423471015 รุ่น44
งานประเมินความรู้ เช้า-บ่าย
วันอาทิตย์ที่10/05/63
•คำถาม
1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้างโดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
ตอบ กระบวนการของการบริหารของแต่ละองค์กรนั้นมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับว่าองค์กรไหนจะใช้วิธีการใดในการบริหารจัดการกับทรัพยากรภายในองค์กรของตน เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและเพื่อให้บรรลุวัตถุปะสงค์สูงสุดตามที่องค์กรนั้นๆได้วางไว้
ในกระบวนการบริหารจัดการในองค์กรดิฉันนั้นประกอบไปด้วยหลากหลายแนวความคิดทางบริหาร เช่นหลัก POSDC, POLC,POSCORB เป็นต้นซึ่งผู้บริหารองค์กรมีหน้าที่ที่จะเลือกสรรเอาหลักการในการบริหารที่เหมาะสมมาประยุกต์หรือปรับใช้กับองค์กรของตนเพื่อประโยชน์ขององค์กรเอง แต่โดยรวมแล้วหลักการบริหารจะประกอบไปด้วยขั้นตอนเหล่านี้คือ
1. การวางแผน (Planning) หมายถึง กระบวนการในการกำหนดเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ สำหรับช่วงเวลาในอนาคต และวิธีรการให้องค์การบรรลุเป้าหมาย โดยยึดหลักความมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลมากที่สุด
2.การจัดองค์กร (Organizing) หมายถึง ขบวนการของการกำหนดรูปแบบโครงสร้างขององค์กร กฎเกณฑ์ ที่จะใช้ควบคุมทรัพยากรต่างๆ ให้ทำงานร่วมกัน เพื่อบรรลุเป้าหมายขององค์การ โดยจะต้องมีการกำหนดอำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของพนักงานแต่ละคนว่าใครทำอะไร ใช้วิธี และเครื่องมืออะไรบ้าง ในการทำงานตามกฎเกณฑ์เฉพาะที่จะทำให้งานนั้นดำเนินไปได้
3.การจัดคนเข้าทำงาน(Staffing) หมายถึง หน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล โดยเริ่มตั้งแต่ เสาะหา คัดเลือก บรรจุคนที่มีความรู้ ความสามารถเข้าทำงาน พัฒนาฝึกอบรมให้บุคคลกรมีความสามารถมากเพิ่มขึ้นในการทำงาน
4.การสั่งการ(Directing) หมายถึง ความพยายามที่จะทำให้การกระทำต่างๆ ของทุกฝ่ายในองค์กร เป็นไปในทางที่จะส่งเสริมให้เกิดผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
5.การควบคุม(Controlling) หมายถึง การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานต่างๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่และมีข้อบกพร่องอะไรที่จะต้องทำการแก้ไขหรือไม่
6.ภาวะผู้นำในองค์กร( Leading) หมายถึง หน้าที่ทางการบริหารที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมองค์การ การใช้อำนาจหน้าที่ แรงจูงใจ อันจะทำให้บุคลากรขององค์การสามารถทำงานได้บรรลุวัตถุประสงค์ที่องค์การตั้งไว้
ขั้นตอนที่สำคัญที่สุดในกระบวนการบริหารนั้นอาจหมายถึงขั้นตอนทั้งหมดที่มีอยู่ เพราะในการบริหารจัดการองค์กรนั้นจะต้องใช้การร่วมมือของทุกส่วน ทุกขั้นตอน เพื่อให้องค์กรสามารถขับเคลื่อนต่อไปได้ เริ่มตั้งแต่กระบวนการวางแผน และกำหนดเป้าหมาย การจัดการรูปแบบ โครงสร้างขององค์กร การกำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การเลือกสรรคนที่มีคุณภาพ เข้ามาทำงาน การควบคุมให้งานที่ทำบรรลุผลสำเร็จ และมีประสิทธิภาพ ไปจนถึงผู้นำในองค์กรที่จะต้องทำหน้าที่ผู้นำเพื่อเป็น แบบอย่างที่ดี เป็นแรงจูงใจให้บุคลากร เพราะฉะนั้นขั้นตอนที่สำคัญที่สุดในกระบวนการบริหารนั้นเราอาจกล่าวได้ว่าอาจเป็นได้ทุกส่วนทุกขั้นตอนและมีความสำคัญเท่าๆกัน
(แบบฝึกหัดวันที่ 09 พ.ค.63)
นายดุษฎี ราชา
รหัสนักศึกษา 61423451002 รุ่นที่ 41

1. อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ การเมืองมีหน้าที่กำหนดนโยบาย ควบคุม กำกับ และดูแลให้การนำนโยบายไปปฏิบัติให้บรรลุผลสำเร็จ
การบริหารราชการหรือข้าราชการประจำมีหน้าที่ในการนำนโยบายที่ฝ่ายการเมืองกำหนด
ไปปฏิบัติ
ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง จะเป็นการแยกหน้าที่ออกจากกัน บทบาทหน้าที่ก็มีความแตกต่างกัน แต่กระบวนการทั้งสองมีความสัมพันธ์กัน อย่างใกล้ชิดไม่สามารถแยกจากกันได้ เพราะทั้งสองฝ่ายจะต้อง ทำงานร่วมกันและพึ่งพากันตลอดเวลา เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ บทบาทของฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจำจึงต้องมีการทำงานที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อทำให้ การทำงานเป็นไปโดยราบรื่น ยกตัวอย่างเช่น
ในสถานการณ์โรค Covid - 19 ที่กำลังเกิดขึ้นของประเทศไทยในปัจจุบัน ซึ่งในการกำหนดให้ประชาชนทุกคนสวมหน้ากาก ล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ ไม่อยู่ใกล้ชิดกัน และงดเดินทางเพื่อไม่ให้ติดเชื้อโรค Covid - 19 แพร่ระบาดรุนแรงมากขึ้น โดยรัฐบาลจะเป็นกำหนดนโยบายนี้ขึ้นมาเพื่อป้องกันไม่ให้ประชาชนมีความเสี่ยงที่ติดเชื้อโรคฯ จากการสัมผัสซึ่งทางรัฐบาลก็ได้มีมาตรการให้ประชาชนหลีกเลี่ยงในเขตชุมชนแออัด ตลาด ห้างสรรพสินค้าต่างๆ รวมทั้งการขนส่งสาธารณะ โดยการปฏิบัติ ออกตรวจ และกวดขัน ป้องกันนั้นมาจากข้าราชการประจำซึ่งทำหน้าที่เป็นด่านหน้าในการปฏิบัติ
และคัดกรองประชาชนไม่ให้ละเมิดคำสั่งหรือมาตรการที่ทางรัฐกำหนด เพื่อเป็นการป้องกันเชื้อโรค Covid - 19 แพร่ระบาดให้น้อยลงนั่นเอง ดังนั้น บทบาทข้าราชการการเมืองและข้าราชการประจำก็มีความสอดคล้องกันมากขึ้น ซึ่งทั้งสองมีลักษณะแต่งต่างกันแต่การดำเนินงานก็เพื่อเป็นไปในทิศทางเดียวกัน


2. บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง
ตอบ บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมืองที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้
1. การกำหนดนโยบาย โดยปกติการกำหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
1.1 พระราชบัญญัติ
1.2 พระราชกำหนด
1.3 พระราชกฤษฎีกา
1.4 กฎกระทรวง
2. การกำกับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนำนโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจำ
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจำระดับสูง

ข้าราชการประจำมีบทบาทหน้าที่หลักที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้
1. การปฏิบัติงานประจำ คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน
2. การนำนโยบายไปปฏิบัติถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สำคัญประการหนึ่งของข้าราชการประจำ
3. การให้ข้อมูลรายละเอียด คำชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมือง
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน
5. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่นๆ ที่นอกเหนือจากงานประจำซึ่งถือว่าเป็นนโยบาย
ครั้งคราว
สภาพแวดล้อมทางการบริหาร
สภาพแวดล้อมทางการบริหารเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ “การบริหารงานภายนอก” หรือต้องเกี่ยวข้องกับปัจจัยภายนอกองค์การ เพื่อโน้มน้าวให้หน่วยงานและบุคคลหันมาสนับสนุนนโยบาย
และให้ความร่วมมือในการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายของการบริหาร เช่น มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดโรค Covid – 19 โดยให้หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารจำเป็นต้องเข้าไปมีปฏิบัติมาตรการเกี่ยวกับโรค Covid – 19 และให้ข้อมูลความรู้ในลักษณะการติดต่อ และการป้องโรคฯ
กับประชาชนเพื่อไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดโรค Covid – 19 ดังนั้น หน่วยงานเหล่านี้จะเป็นการปฏิบัตินโยบายเป็นหลักเพื่อให้องค์การอื่นๆ และประชาชนหันมาปฏิบัติ และป้องกันโรคฯ ตามนโยบายที่ทางรัฐกำหนดขึ้น
(แบบฝึกหัดวันที่ 10 พ.ค.63)
นายดุษฎี ราชา
รหัสนักศึกษา 61423451002 รุ่นที่ 41

1. กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
ตอบ กระบวนการบริหาร หรือ POSDCoRB” มีหน้าที่ที่สำคัญของนักบริหาร 7 ประการ คือ
1. Planning การวางแผน = เป็นการวางเค้าโครงกิจกรรมซึ่งเป็นการเตรียมการก่อนลงมือปฏิบัติ เพื่อให้การดำเนินการสามารถบรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. Organizing การจัดองค์การ = เป็นการกำหนดโครงสร้างขององค์การ โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับงาน เช่น การแบ่งงาน เป็นกรม กอง หรือแผนก โดยอาศัยปริมาณงาน คุณภาพงาน หรือจัดตามลักษณะเฉพาะของงาน
3. Staffing การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน = เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การนั่นเอง ทั้งนี้เพื่อให้บุคลากรมาปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับการจัด แบ่งหน่วยงานที่กำหนดไว้
4. Directing การอำนวยการ = ภารกิจในการใช้ศิลปะในการบริหารงาน เช่น ภาวะผู้นำ มนุษย์สัมพันธ์ การจูงใจ และการตัดสินใจ เป็นต้น
5. Coordinating การประสานงาน = เป็นการประสานให้ส่วนต่าง ๆ ของกระบวนการทำงานมีความต่อเนื่องกัน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และราบรื่น
6. Reporting การรายงาน = เป็นกระบวนการและเทคนิคของการแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาตามชั้นได้ทราบถึงผลการปฏิบัติงาน
7. Budgeting การงบประมาณ = เป็นภารกิจที่เกี่ยวกับการวางแผนการทำบัญชีการควบคุมเกี่ยวกับการเงินและการคลัง
แนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานของกระผม คือ หน่วยงานของผมเป็นหน่วยงานข้าราชการทหาร ในการบริหารการเกี่ยวกับการออกฝึกของหน่วยงาน มีรายละเอียดดังนี้
1. การวางแผน = การวางแผนออกฝึกต้องดำเนินการใช้ยุทโธปกรณ์ของหน่วยที่มีในการออกฝึกจำนวนเท่าไหร่ และใช้กำลังพลจำนวนเท่าไหร่ และในการออกฝึกต้องกินอยู่กี่วัน และสิ่งอำนวยความสะดวกนั้น ซึ่งทาง ผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานผมจะร่วมหารือกับกำลังพลในการประเมินโครงสร้าง แผนการออกฝึก และงบประมาณ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของ ทบ. ในการฝึก
2. การจัดองค์การ = ในการออกฝึกต้องทางหน่วยจะแบ่งเป็น หมวด และหมู่เพื่อแยกประเภทในการปฏิบัติงานในด้านยุทโธปกรณ์ในการออกฝึกให้มีประสิทธิภาพ และเป้าหมายที่วางไว้ให้สำเร็จลุล่วงด้วยดี
3. การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน = การนำกำลังพลบรรจุเข้าตำแหน่งในการฝึกเพื่อใช้งานด้านยุทโธปกรณ์ที่ใช้ในการออกฝึกโดยจะแบ่งเป็นประเภทเคลื่อนที่ออกจากฐานเพื่อส่งข้อมูล และประเภทที่จะอยู่ในฐานเพื่อรับข้อมูล โดยกำลังพลที่ได้รับตามตำแหน่งต้องเป็นคนปฏิบัติหน้าที่ของตนให้ดีที่สุด
4. การอำนวยการ = ในการแบ่งเป็น หมวด และหมู่ จะมีผู้นำหมวด หรือหมู่เป็นคนสั่งการกับลูกชุดเพื่อเป็นการขับเคลื่อนขบวนการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับยุทโธปกรณ์ที่ได้รับมอบหมายตามตำแหน่งในการออกฝึกเพื่อให้ได้ข้อมูลตามเป้าหมายที่กำหนดขึ้นมาโดยเฉพาะข้อมูลของฝ่าย
ตรงข้าม
5. การประสานงาน = การประสานของหน่วยงานข้างเคียงในกรณีที่มียุทโธปกรณ์ที่ชำรุดเสียหาย หรือไม่พร้อมใช้งานในการออกฝึก ทางหน่วยจะทำการประสานหน่วยงานอื่นๆ เพื่อขอรับการสนับสนุนยุทโธปกรณ์เพื่อใช้งานตามแผนที่วางไว้
6. การรายงาน = เมื่อได้รับข่าวสารในการออกฝึกทางหน่วยจะต้องรายงานความพร้อมไปยังหน่วย ทบ. ที่เป็นหน่วยที่สูงกว่าเพื่อบอกรายละเอียดในการออกฝึกว่ามีอะไรบ้าง กำลังพลไปออกฝึกเท่าไหร่ และมียุทโธปกรณ์อะไรบ้าง เพี่อให้ทางหน่วย ทบ. รับทราบข้อมูลของการออกฝึก
7. การงบประมาณ = ในเรื่องงบประมาณทาง ทบ. จะเบิกงบประมาณมาให้หน่วยบริหารในการออกฝึก ซึ่งทางหน่วยจะต้องแบ่งงบประมาณออกเป็นค่าใช้จ่ายในด้านการกิน การดื่ม
การอาศัยในพื้นที่ และสิ่งอำนวยความสะดวก ว่าแต่ละวันแต่ละมื้อต้องใช้ค่าใช้จ่ายเท่าไหร่ เพื่อให้เพียงพอต่องบประมาณในการออกฝึก และไม่ทำให้หน่วยใช้งบประมาณที่ฟุ่มเฟือยเกินไป
Nancy said…
งานวันที่ 10/5/63 ช่วงบ่าย
นางสาวชฎาวัลย์ คำพันธ์ รหัส 62423471026 นักศึกษาภาคพิเศษ รุ่นที่ 44

1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
ตอบ POSDCORB ใช้วางกรอบการทำงานองค์กร ใช้เป็นแนวทางในการบริหาร
1. Planning การวางแผน
2. Organization การจัดองค์การ
3. Staffing การจัดกำลังคน
4. Directing การอำนวยการ
5. Coordinating การประสานงาน
6. Reporting การรายงาน
7. Budgeting การงบประมาณ
กระบวนการริหารในบริษัทเอกชนที่ทำมีแนวทางการป้องกันไวรัส COVID-19 ให้สวมหน้ากากอนามัย ปรับเปลี่ยนลักษณะการทำงานเลี่ยงการพบปะลูกค้า ตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย ใช้น้ำยาฆ่าเชื้อฉีดพ่นทำความสะอาดภายในบริษัท ติดตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสเพื่อวางแผนประคองกิจการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของบริษัท เป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม และเป็นการเตรียมพร้อมรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ที่อาจเกิดขึ้นในองค์กร
1. พนักงานต้องสวมหน้ากากอนามัยในเวลาทำงาน การต้องพบปะลูกค้า ล้างมือด้วยเจลล้างมือแอลกอฮอล์ และตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายทุกครั้ง
2. มีจุดคัดกรองพนักงานและบุคคลภายนอกที่มาติดต่องาน เพื่อตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายก่อนเข้ามาภายในออฟฟิศ
3. หลีกเลี่ยงการทำงาน หรือเดินทางในสภาพแวดล้อมที่แออัด ที่ก่อเกิดการสุ่มเสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อไวรัส ในการประชุมกับบริษัทคู่ค้าที่อาจเลี่ยงการประชุมไม่ได้ ก็มีการสวมหน้ากากอนามัยตลอดทุกครั้งในการประชุม
4. บริษัทมีการจัดเตรียมสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อดูแลสุขอนามัยให้กับพนักงาน มีการแจกหน้ากากอนามัยให้พนักงาน มีเจลล้างมือแอลกอฮอล์ และเครื่องตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย
5. เจ้าหน้าที่ที่ประสานงานกับสำนักงานประกันสังคม จะมีการรายงานสถานการณ์และสวัสดิการที่จะได้รับจากรัฐให้พนักงานในองค์กรทราบ และบริษัทมีการจัดทำประกันชีวิตไวรัส COVID-19 ให้พนักงาน
6. หากมีความจำเป็นต้องเดินทาง ต้องแจ้งเหตุผล ต้องแจ้งข้อมูลที่เป็นความจริงและต้องได้รับอนุญาตจากบริษัท
7. วางแผนและควบคุมงบประมาณของบริษัท ลดค่าใช้จ่ายบางอย่างที่ลดได้ลง เพื่อนำเงินมาสนับสนุนมาตรการการป้องกันไวรัส COVID-19 ภายในบริษัท
Nancy said…
งานวันที่ 9/5/63 ช่วงเช้า-บ่าย
นางสาวชฎาวัลย์ คำพันธ์ รหัส 62423471026 นักศึกษาภาคพิเศษ รุ่นที่ 44

1. อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมือง รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ การเมืองเป็นเรื่องของการกำหนดนโยบายและเป้าหมายของรัฐ การตัดสินใจว่าควรดำเนินนโยบายอย่างไร เท่ากับการยอมรับว่านโยบายนั้นดีกว่าทางเลือกด้านอื่นๆ นักการเมืองสามารถอ้างความชอบธรรมในการเลือกได้ เพราะการได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน เป็นผู้กลั่นกรอง สะท้อนเจตนารมณ์และความต้องการของประชาชน
การบริหารเป็นเรื่องของการปฏิบัติตามโยบาย เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายที่นักการเมืองได้กำหนดไว้ การเมืองกับการบริหารจึงเกี่ยวพันกันอย่างมาก เช่น รัฐบาลประกาศภาวะฉุกเฉินทั้งประเทศเพื่อควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส COVID -19 การห้ามเข้าพื้นที่เขตกำหนดตามคำสั่งผู้ว่าราชการจังหวัดต่างๆ ห้ามการชุมนุม ห้ามแพร่เฟคนิวส์ที่ทำให้เกิดความตื่นตระหนกเกี่ยวกับ COVID -19 การสั่งปิดสถานประกอบการ เช่น สถานบริการ สปา สถานศึกษา ห้างสรรพสินค้า ยกเว้นส่วนซูเปอร์มาร์เก็ต กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากคำสั่งปิดสถานประกอบการ แรงงานในระบบ นอกระบบและผู้ประกอบอาชีพอิสระ จะได้รับการเยียวยาจากรัฐอย่างไร มาตรการต่างๆ ตามประกาศของรัฐเพื่อลดการแพร่ระบาดของไวรัส COVID -19 ต้องมีความชัดเจน สามารถรองรับผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในหลายรูปแบบ ประชาชนและผู้ประกอบการจะได้เตรียมตัววางแผนได้
ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับการบริหารเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายและวิธีการการเมืองเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจรัฐในกำหนดเป้าหมายของรัฐเพื่อการแบ่งสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด การบริหารเป็นวิธีการในทางปฏิบัติที่จะช่วยดำเนินการตามที่ฝ่ายการเมืองกำหนดไว้ตามข้อมูลความเป็นจริง จากผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องโดยตรง เช่น ข้าราชการ ซึ่งเป็นผู้บริหารกิจการของรัฐ ดังนั้น การกำหนดเป้าหมาย นักบริหารจึงเข้าไปมีส่วนร่วมด้วยเสมอ เพื่อไปสู่การนำนโยบายไปปฏิบัติ ให้เกิดเสถียรภาพ สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ เพื่อนำความเจริญก้าวหน้ามาสู่ประชาชนและสังคม
2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำ รวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง
ตอบ บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมือง
1. การกำหนดนโยบาย
1.1 พระราชบัญญัติ มีมติสั่งปิดสถานประกอบการตามมาตรา 35 ควบคุมโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558
1.2 พระราชกำหนด ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินทั่วราชอาณาจักร ตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน เพื่อควบคุมการระบาดของ COVID -19
1.3 พระราชกฤษฎีกา พระราชกฤษฎีกากำหนดจำนวนเงินฝากที่ได้รับการคุ้มครองเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2563
1.4 กฎกระทรวง เรื่องการได้รับประโยชน์ทดแทนในกรณีว่างงานเนื่องจากมีเหตุสุดวิสัย อันเกิดจากการระบาดของโรคติดต่ออันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ พ.ศ. 2563
2. รัฐมนตรีว่าการและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงจะเป็นผู้กำกับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนำนโยบายไปปฏิบัติของหน่วยงานที่ตนรับผิดชอบ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของนโยบาย
3. การแต่งตั้งข้าราชการประจำระดับสูง(ระดับกรมขึ้นไป)

บทบาทของข้าราชการประจำ
1. การปฏิบัติงานประจำ คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง กรม หรือหน่วยงานที่เทียบเท่าโดยมีกฎ ข้อบังคับ ขั้นตอนในการปฏิบัติที่ชัดเจน เป็นงานที่ทำประจำไม่มีกรอบเวลาสิ้นสุด เช่น งานธุรการ งานป้องกันปราบปราม
2. การนำนโยบายไปปฏิบัติ มีการกำหนดเวลารอบเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด
3. การให้ข้อมูลรายละเอียด เกี่ยวกับการแพร่ระบาดของโรคในช่องทางต่างๆ
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ๆ เพื่อสนับสนุนด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการแพทย์ เพราะการแพร่ระบาดของไวรัส COVID -19 อาจส่งผลกระทบระยะยาวได้ โดยเฉพาะผลกระทบทางเศรษฐกิจในระยะยาว
5. คำสั่งเฉพาะกิจจากฝ่ายการเมือง ให้ปฏิบัติราชการในหรือนอกสถานที่ตั้งได้ ด้วยการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารสนับสนุนการทำงาน

สภาพแวดล้อมทางการบริหาร
สภาพแวดล้อมการบริหารงานแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ สภาพแวดล้อมทั่วไป สภาพแวดล้อมภายนอกที่มีผลกับองค์การ เช่น เศรษฐกิจ การเมือง การศึกษา วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อมภายในองค์การเฉพาะองค์การ เช่น บุคลากร งบประมาณ วิธีการปฏิบัติงาน องค์การต้องมีทรัพยากรที่เพียงพอในการปฏิบัติงาน การบริหารในสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงจะต้องมีการวางแผน การรองรับ และกลยุทธ์วิธีการดำเนินงาน เพื่อการบริหารงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result-Based Management) และมีประสิทธิภาพ
nuengpolamat said…

(แบบฝึกหัดท้ายบท ช่วงเช้า-ช่วงบ่าย ) วันที่ 9/5/63
นาย หนึ่ง พลอามาตย์ รหัสนักศึกษา 61423451109 รุ่นที่ 41
1.)อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง ?
ตอบ แนวคิดการบริหารคือ การดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่
กำหนดไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งหลาย ได้แก่ คน เงิน วัตถุสิ่งของเป็นอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานนั้น
คำนิยามนี้ใช้ในทางปฏิบัติจริงๆิ ซึ่งเน้นไปที่การจัดการ
แนวคิดการเมืองคือ กิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวกับกระบวนการกําหนดนโยบายของรัฐ เพื่อจัดสรรผลประโยชน์และคุณค่า ต่าง ๆ ทางสังคมให้แก่ประชาชนโดยส่วนรวมอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ซึ่งการจัดสรรผลประโยชน์และคุณค่า ทางสังคมให้แก่ประชาชนจะออกมาในรูปของกฎหมาย นโยบาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ หรือคําสั่งเป็นต้น มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด การบริหารและการเมือง ระบบการเมืองจะเป็นระบบใหญ่ที่ครอบคลุมระบบบริหารแต่ในทางปฏิบัติอาจไม่ชัดเจน บางช่วงเวลาการเมืองต้องอาศัยนักบริหารซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านระบบการเมืองในปัจจุบัน นักวิชาการ ส่วนใหญ่มักนิยมใช้ทฤษฎีระบบมาอธิบายการเมือง David Easton ได้นำเสนอการวิเคราะห์ของระบบการเมือง
ประเทศที่ระบบการเมืองพัฒนาแล้ว เช่น อังกฤษ สวีเดน นั้น ระบบการเมืองพัฒนาไปมากจนถึงจุดที่พลเมืองทุกคนมีโอกาสเข้าร่วมทำกิจกรรมทางการเมืองโดยถ้วนหน้ากันมีโอกาสรวมกลุ่มทางการเมืองเพื่อเรียกร้องความต้องการต่างๆ หรือไม่ก็แสดงออกถึงการสนับสนุนนโยบายบางอย่างที่ออกมาบังคับใช้ การที่ระบบการเมืองเป็นระบบที่เปิดกว้างย่อมทำให้การกำหนดนโยบายรวมถึงการนำนโยบายไปปฏิบัติ หรือการประเมินผลสำเร็จของนโยบายเปิดกว้างให้บุคคลอื่นที่มิใช่ข้าราชการเข้ามาร่วมในกระบวนการนโยบายด้วย
ประเทศที่กำลังพัฒนาทางการเมือง กล่าวคือ ระบอบการเมืองยังคงอยู่ในวงจรของการมีการจัดตั้งรัฐบาลโดยผ่านกระบวนการเลือกตั้ง สลับกับการโค่นล้มรัฐบาลโดยส่วนมากเป็นการกระทำของกลุ่มทหารมักพบว่ามีการก้าวก่ายแทรกแซงในกิจกรรมของกระบวนการนโยบาย โดยบางครั้งฝ่ายการเมืองเข้ามาก้าวก่ายการทำงานของข้าราชการประจำ ซึ่งส่วนมากจะเข้ามาในช่วงการนำนโยบายไปปฏิบัติ การแทรกแซงดังกล่าว นักวิชาการบางคนมองว่าเป็นบทบาทที่ทั้งสองฝ่ายต่างก็ให้ความเกื้อกูลกันในการกำหนดนโยบาย

2.)บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง?
ตอบ บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมืองที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้
1. การกำหนดนโยบาย โดยปกติการกำหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
1.1 พระราชบัญญัติ
1.2 พระราชกำหนด
1.3 พระราชกฤษฎีกา
1.4 กฎกระทรวง
2. การกำกับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนำนโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจำ
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจำระดับสูง
ข้าราชการประจำมีบทบาทหน้าที่หลักที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้
1. การปฏิบัติงานประจำ คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน
2. การนำนโยบายไปปฏิบัติถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สำคัญประการหนึ่งของข้าราชการประจำ
3. การให้ข้อมูลรายละเอียด คำชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมือง
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน
5. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่นๆ ที่นอกเหนือจากงานประจำซึ่งถือว่าเป็นนโยบาย
สภาพแวดล้อมทางการบริหาร
สภาพแวดล้อมทางการบริหารเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ “การบริหารงานภายนอก” หรือต้องเกี่ยวข้องกับปัจจัยภายนอกองค์การ เพื่อโน้มน้าวให้หน่วยงานและบุคคลหันมาสนับสนุนนโยบาย และให้ความร่วมมือในการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายของการบริหาร เช่น ช่วงนี้มีการเเพร่ระบาดของเชื้อไวรัส ทางรัฐจึงขอความร่วมมือให้ทุกหน่วยงาน หรือ ปชช ทั่วไปช่วยกันเว้นระยะห่าง ล้างมือทำความสะอาดอยู่ บ่อยๆ เป็นต้น
nuengpolamat said…
(แบบฝึกหัดท้ายบท ช่วงเช้า-ช่วงบ่าย ) วันที่ 9/5/63
นาย หนึ่ง พลอามาตย์ รหัสนักศึกษา 61423451109 รุ่นที่ 41
1.)อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง ?
ตอบ แนวคิดการบริหารคือ การดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่
กำหนดไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งหลาย ได้แก่ คน เงิน วัตถุสิ่งของเป็นอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานนั้น
คำนิยามนี้ใช้ในทางปฏิบัติจริงๆิ ซึ่งเน้นไปที่การจัดการ
แนวคิดการเมืองคือ กิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวกับกระบวนการกําหนดนโยบายของรัฐ เพื่อจัดสรรผลประโยชน์และคุณค่า ต่าง ๆ ทางสังคมให้แก่ประชาชนโดยส่วนรวมอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ซึ่งการจัดสรรผลประโยชน์และคุณค่า ทางสังคมให้แก่ประชาชนจะออกมาในรูปของกฎหมาย นโยบาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ หรือคําสั่งเป็นต้น มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด การบริหารและการเมือง ระบบการเมืองจะเป็นระบบใหญ่ที่ครอบคลุมระบบบริหารแต่ในทางปฏิบัติอาจไม่ชัดเจน บางช่วงเวลาการเมืองต้องอาศัยนักบริหารซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านระบบการเมืองในปัจจุบัน นักวิชาการ ส่วนใหญ่มักนิยมใช้ทฤษฎีระบบมาอธิบายการเมือง David Easton ได้นำเสนอการวิเคราะห์ของระบบการเมือง
ประเทศที่ระบบการเมืองพัฒนาแล้ว เช่น อังกฤษ สวีเดน นั้น ระบบการเมืองพัฒนาไปมากจนถึงจุดที่พลเมืองทุกคนมีโอกาสเข้าร่วมทำกิจกรรมทางการเมืองโดยถ้วนหน้ากันมีโอกาสรวมกลุ่มทางการเมืองเพื่อเรียกร้องความต้องการต่างๆ หรือไม่ก็แสดงออกถึงการสนับสนุนนโยบายบางอย่างที่ออกมาบังคับใช้ การที่ระบบการเมืองเป็นระบบที่เปิดกว้างย่อมทำให้การกำหนดนโยบายรวมถึงการนำนโยบายไปปฏิบัติ หรือการประเมินผลสำเร็จของนโยบายเปิดกว้างให้บุคคลอื่นที่มิใช่ข้าราชการเข้ามาร่วมในกระบวนการนโยบายด้วย
ประเทศที่กำลังพัฒนาทางการเมือง กล่าวคือ ระบอบการเมืองยังคงอยู่ในวงจรของการมีการจัดตั้งรัฐบาลโดยผ่านกระบวนการเลือกตั้ง สลับกับการโค่นล้มรัฐบาลโดยส่วนมากเป็นการกระทำของกลุ่มทหารมักพบว่ามีการก้าวก่ายแทรกแซงในกิจกรรมของกระบวนการนโยบาย โดยบางครั้งฝ่ายการเมืองเข้ามาก้าวก่ายการทำงานของข้าราชการประจำ ซึ่งส่วนมากจะเข้ามาในช่วงการนำนโยบายไปปฏิบัติ การแทรกแซงดังกล่าว นักวิชาการบางคนมองว่าเป็นบทบาทที่ทั้งสองฝ่ายต่างก็ให้ความเกื้อกูลกันในการกำหนดนโยบาย

2.)บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง?
ตอบ บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมืองที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้
1. การกำหนดนโยบาย โดยปกติการกำหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
1.1 พระราชบัญญัติ
1.2 พระราชกำหนด
1.3 พระราชกฤษฎีกา
1.4 กฎกระทรวง
2. การกำกับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนำนโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจำ
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจำระดับสูง
ข้าราชการประจำมีบทบาทหน้าที่หลักที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้
1. การปฏิบัติงานประจำ คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน
2. การนำนโยบายไปปฏิบัติถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สำคัญประการหนึ่งของข้าราชการประจำ
3. การให้ข้อมูลรายละเอียด คำชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมือง
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน
5. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่นๆ ที่นอกเหนือจากงานประจำซึ่งถือว่าเป็นนโยบาย
สภาพแวดล้อมทางการบริหาร
สภาพแวดล้อมทางการบริหารเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ “การบริหารงานภายนอก” หรือต้องเกี่ยวข้องกับปัจจัยภายนอกองค์การ เพื่อโน้มน้าวให้หน่วยงานและบุคคลหันมาสนับสนุนนโยบาย และให้ความร่วมมือในการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายของการบริหาร เช่น ช่วงนี้มีการเเพร่ระบาดของเชื้อไวรัส ทางรัฐจึงขอความร่วมมือให้ทุกหน่วยงาน หรือ ปชช ทั่วไปช่วยกันเว้นระยะห่าง ล้างมือทำความสะอาดอยู่ บ่อยๆ เป็นต้น
nuengpolamat said…
(แบบฝึกหัดท้ายบท ช่วงเช้า-ช่วงบ่าย ) วันที่ 10/05/63
นาย หนึ่ง พลอามาตย์ รหัสนักศึกษา 61423451109 รุ่นที่ 41
1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง ? โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
ตอบ. กระบวนการบริหาร POSDCoRB ภาระหน้าที่ที่สำคัญของนักบริหาร 7 ประการ คือ
1. Planning (การวางแผน )
2. Organizing (การจัดองค์การ )
3. Staffing (การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน)
4. Directing ( การอำนวยการ )
5. Coordinating (การประสานงาน)
6. Reporting ( การรายงาน )
7. Budgeting (การงบประมาณ)
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโควิด-19 (COVID-19) ที่เกิดขึ้นในขณะนี้ บมจ.ซีพี ออลล์ ผู้ก่อตั้งร้านเซเว่น อีเลฟเว่น ในประเทศไทย ได้ให้ความสำคัญกับการดูแลสุขอนามัยของพนักงานและความปลอดภัยของลูกค้าที่เข้่ามาใช้บริการในร้านเซเว่นฯอย่างเข้มข้น โดยทางบริษัทฯ ได้มีการเตรียมความพร้อมและดำเนินมาตรการในการดูแล เฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการทั่วประเทศ ดังนี้ ทำความสะอาดทุก 3 ชั่วโมงโดยใช้น้ำยาฆ่าเชื้อโรคและทำความสะอาดในพื้นที่ภายในร้านที่มีการสัมผัสบ่อยๆ เช่น เคาน์เตอร์แคชเชียร์,เครื่อง จุดบริการเครื่องดื่ม/อาหารอุ่นร้อน รวมถึงอุปกรณ์ใส่อาหาร ใส่สินค้า ทำความสะอาดโดยใช้น้ำยาฆ่าเชื้อโรคและทำความสะอาดกับอุปกรณ์ที่สัมผัสอาหาร เช่น ที่คีบ มีด เขียง อุปกรณ์เครื่องชงเครื่องดื่ม ทุกครั้งหลังใช้งาน ทำความสะอาดโดยใช้น้ำยาฆ่าเชื้อโรคและทำความสะอาดในพื้นที่ภายในหลังร้าน เช่น ประตูทางเข้า ประตูตู้แช่แข็ง, ตู้เก็บอุปกรณ์เตรียมการจำหน่าย, ราวบันได,ประตูห้องน้ำ ทุกครั้งหลังใช้งาน ตรวจเช็คไข้ก่อนให้ลูกค้าเข้าร้าน

งานวันเสาร์ 9 พฤษภาคม 2563
นางสาว อภิญญา สืบเหล่างิ้ว รหัสนักศึกษา 61823451003 รุ่น 41
ช่วงเช้า - ช่วงบ่าย
•คำถาม
1.อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ.
แนวคิดนโยบายของรัฐบาลในการประกาศ พ.ร.กฉุกเฉินและเคอฟิวเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดcovid19เพื่อไม่ให้มีการรวมตัวกันและลดจำนวนผู้ติดเชื้อและมีมาตรการอื่นอีกมากมาย
ยกตัวอย่างเช่น ห้ามบุคคลใดทั่วราชอาณาจักรออกนอกเคหสถานระหว่างเวลา 22.00 นาฬิกาถึง 04.00 นาฬิกาของวันรุ่งขึ้น เว้นแต่มีความจำเป็นหรือเป็นผู้ปฏิบัติงานด้านการแพทย์ การธนาคาร การขนส่งสินค้าอุปโภคบริโภค ผลผลิตการเกษตร ยา เวชภัณฑ์ เครื่องมือแพทย์ หนังสือพิมพ์ การขนส่งน้ำมันเชื้อเพลิง การขนส่ง พัสดุภัณฑ์ การขนส่งสินค้าเพื่อการนำเข้าหรือส่งออก การขนย้ายประชาชนไปสู่ที่เอกเทศเพื่อกักกันตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ การเข้าออกเวรทำงานผลัดกลางคืนตามปกติหรือการเดินทางมาจากหรือไปยังท่าอากาศยาน โดยมีเอกสารรับรองความจำเป็นหรือเอกสารเกี่ยวกับสินค้าหรือการเดินทาง และมีมาตรการป้องกันโรคตามข้อกำหนด (ฉบับที่ 3) หรือเป็นเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามข้อกำหนด ประกาศ หรือคำสั่งต่าง ๆ ของทางราชการ หรือมีเหตุจำเป็นอื่น ๆ โดยได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่

2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหารมีอะไรบ้าง
ตอบ. บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมือง
1. การกําหนดนโยบาย โดยปกติการกําหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
1.1พระราชบัญญัต
1.2พระราชกําหนด
1.3พระราชกฤษฎีกา
1.4กฎกระทรวง
2. การกํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจําว่าเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของนโยบายหรือไม่เพียงใด
3.การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจําระดับสูง (ระดับกรมขึ้นไป) เพื่อให้เป็น หลักประกันว่านโยบายของฝ่ายการเมืองจะได้รับการปฏิบัติจากข้าราชการประจําอย่างเต็มความสามารถ

บทบาทหน้าที่หลักของข้าราชการประจํา
ข้าราชการประจําทุกหน่วยงานของรัฐโดยปกติจะมีบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญ สรุปได้ดังนี้
1.การปฏิบัติงานประจํา คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานที่เทียบเท่า โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน เป็นงานที่ทําประจํา ไม่มีกรอบเวลาสิ้นสุดเช่น งานธุรการ งานการเงิน งานบุคลากร งานป้องกันปราบปรามงานบริการต่างๆเป็นต้น
2.การนํานโยบายไปปฏิบัติถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญประการหนึ่งของข้าราชการประจํา ซึ่งมีความยากในการปฏิบัติมากกว่างานประจํา
3.การให้ข้อมูลรายละเอียด คําชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมืองในการกําหนด นโยบายหรือการให้ข้อมูลในการแถลงต่อรัฐสภา โดยเฉพาะเป็นรายละเอียดระดับปฏิบัติมิใช่ระดับนโยบาย
4.การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน ของข้าราชการประจํา
5.งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากงานประจํา ซึ่งถือว่าเป็นนโยบายครั้งคราว
สภาพแวดล้อมทางการบริหาร
สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาอาจแบ่งออกได้เป็นหลายประเภทตามมติต่างๆ คือ สภาพแวดล้อมการบริหารการพัฒนาที่แบ่งตามมติสถานที่ ดังกล่าว มาแล้ว สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาที่แบ่งตามมติเฉพาะด้าน เช่น สภาพแวดล้อมทาง การเมือง เศรษฐกิจและสังคม สภาพแวดล้อมทางการเมืองและเศรษฐกิจยังแบ่งออกได้เป็น สภาพแวดล้อมทางการเมืองและเศรษฐกิจภายนอก และสภาพแวดล้อมทางการเมืองเศรษฐกิจภายใน สภาพแวดล้อมการบริหารการพัฒนาที่แบ่งตามมติ คงที่-ไหวตัว (เปลี่ยนแปลง) และสภาพแวดล้อมการ บริหารการพัฒนาที่แบ่งตามมติผลกระทบ
งานวันอาทิตย์ 10 พฤษภาคม 2563
นางสาว อภิญญา สืบเหล่างิ้ว รหัสนักศึกษา 61823451003 รุ่น 41
ช่วงเช้า - ช่วงบ่าย
•คำถาม
1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
ตอบ. “POSDCoRB” ภาระหน้าที่ที่สำคัญของนักบริหาร 7 ประการ คือ
1. Planning การวางแผนเป็นการวางเค้าโครงกิจกรรมซึ่งเป็นการเตรียมการก่อนลงมือปฏิบัติ เพื่อให้การดำเนินการสามารถบรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. Organizing การจัดองค์การ เป็นการกำหนดโครงสร้างขององค์การ โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับงาน เช่น การแบ่งงาน (Division of Work) เป็นกรม กอง หรือแผนก โดยอาศัยปริมาณงาน คุณภาพงาน หรือจัดตามลักษณะเฉพาะของงาน (Specialization)
3. Staffing การจัดบุคลากรปฏิบัติงานเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การนั่นเอง ทั้งนี้เพื่อให้บุคลากรมาปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับการจัด แบ่งหน่วยงานที่กำหนดไว้
4. Directing การอำนวยการเป็นภาระกิจในการใช้ศิลปะในการบริหารงาน เช่น ภาวะผู้นำ (Leadership) มนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) การจูงใจ (Motivation) และการตัดสินใจใจ (Decision making) เป็นต้น
5. Coordinating การประสานงานเป็นการประสานให้ส่วนต่าง ๆ ของกระบวนการทำงานมีความต่อเนื่องกัน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และราบรื่น
6. Reporting การรายงานเป็นกระบวนการและเทคนิคของการแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาตามชั้นได้ทราบถึงผลการปฏิบัติงาน โดยที่มีความสัมพันธ์กับการติดต่อสื่อสาร (Communication) ในองค์การอยู่ด้วย
7. Budgeting การงบประมาณ
เป็นภารกิจที่เกี่ยวกับการวางแผนการทำบัญชีการควบคุมเกี่ยวกับการเงินและการคลัง
POSDCoRB ใช้เป็นเครื่องมือบริหารงานครบวงจรของฝ่ายบริหารระดับสูง เพื่อบริหารองค์กรอย่างมีระบบ โดยเริ่มจาก การวางแผน ตั้งเค้าโครงเป้าหมายที่จะทำ, จัดโครงสร้างองค์กร, จัดคนเข้าตามโครงสร้าง, อำนวยการ สั่งการ ตามลำดับชั้น ให้งานเดินไปสู่เป้าหมาย
จากนั้นจะต้องมีการประสานงานระหว่างฝ่าย แผนกต่างๆ ให้มีความต่อเนื่องกัน โดยมีการรายงานเพื่อให้ทราบผลการปฏิบัติงาน และสุดท้ายมีงบประมาณไว้คอยควบคุมทางการเงินให้เป็นไปตามเป้าหมาย
การนำไปใช้ประโยชน์
1. หลักสกาลาร์ หรือสายการบังคับบัญชา
2. หลักเอกภาพในการบังคับบัญชา
3. หลักช่วงการบังคับบัญชา
4. หลักการเน้นที่จุดสำคัญ
5. หลักการจัดแบ่งแผนกงาน
6. หลักการเกี่ยวกับหน่วยงานหลักและหน่วยอำนวยการ
7. หลักการเกี่ยวกับศูนย์กำไร

แนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานของดิฉัน คือ หน่วยงานของดิฉันเป็นหน่วยงานข้าราชการทหาร(กรมสวัสดิการทหารบก) มีรายละเอียดดังนี้
การจัดหาบุคลากรเข้าทำงานในองค์การ จึงเป็นกระบวนการหนึ่งของนักบริหารที่ต้องดำเนินการต่อจากการวางแผนและการจัดองค์การ กล่าวคือ เมื่อได้มีการวางแผนงาน จัดแบ่งงานและกำหนดโครงสร้างขององค์การแล้ว นักบริหารก็จะต้องทำการจัดหาคนเข้าทำงานตามตำแหน่งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
(Put the right man on the right job) “ การจัดหาบุคลากรเข้าทำงาน” (Staffing) จึงครอบคลุมถึงภารกิจที่เกี่ยวข้องกันเป็นกระบวนการดังต่อไปนี้
1. การวางแผนกำลังคน
2. การสรรหาบุคคล
3. การคัดเลือกบุคคล
4. การบรรจุแต่งตั้ง
5. การฝึกอบรมและการพัฒนาบุคคล
6. การประเมินผลการปฏิบัติงาน
7. การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งงาน
งานวันเสาร์ 9 พฤษภาคม 2563
นางสาว ธิญาภรณ์ เคนคูณ รหัสนักศึกษา 61423451006 รุ่น 41
ช่วงเช้า - ช่วงบ่าย


1.อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ.
การเมืองเป็นเรื่องของการกำหนดนโยบายและเป้าหมายของรัฐ การตัดสินใจว่าควรดำเนินนโยบายอย่างไร เท่ากับการยอมรับว่านโยบายนั้นดีกว่าทางเลือกด้านอื่นๆ นักการเมืองสามารถอ้างความชอบธรรมในการเลือกได้ เพราะการได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน เป็นผู้กลั่นกรอง สะท้อนเจตนารมณ์และความต้องการของประชาชน
การบริหารเป็นเรื่องของการปฏิบัติตามโยบาย เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายที่นักการเมืองได้กำหนดไว้ การเมืองกับการบริหารจึงเกี่ยวพันกันอย่างมาก เช่น รัฐบาลประกาศภาวะฉุกเฉินทั้งประเทศเพื่อควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส COVID -19 การห้ามเข้าพื้นที่เขตกำหนดตามคำสั่งผู้ว่าราชการจังหวัดต่างๆ ห้ามการชุมนุม ห้ามแพร่เฟคนิวส์ที่ทำให้เกิดความตื่นตระหนกเกี่ยวกับ COVID -19 การสั่งปิดสถานประกอบการ เช่น สถานบริการ สปา สถานศึกษา ห้างสรรพสินค้า ยกเว้นส่วนซูเปอร์มาร์เก็ต กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากคำสั่งปิดสถานประกอบการ แรงงานในระบบ นอกระบบและผู้ประกอบอาชีพอิสระ จะได้รับการเยียวยาจากรัฐอย่างไร มาตรการต่างๆ ตามประกาศของรัฐเพื่อลดการแพร่ระบาดของไวรัส COVID -19 ต้องมีความชัดเจน สามารถรองรับผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในหลายรูปแบบ ประชาชนและผู้ประกอบการจะได้เตรียมตัววางแผนได้
ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับการบริหารเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายและวิธีการการเมืองเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจรัฐในกำหนดเป้าหมายของรัฐเพื่อการแบ่งสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด การบริหารเป็นวิธีการในทางปฏิบัติที่จะช่วยดำเนินการตามที่ฝ่ายการเมืองกำหนดไว้ตามข้อมูลความเป็นจริง จากผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องโดยตรง เช่น ข้าราชการ ซึ่งเป็นผู้บริหารกิจการของรัฐ ดังนั้น การกำหนดเป้าหมาย นักบริหารจึงเข้าไปมีส่วนร่วมด้วยเสมอ เพื่อไปสู่การนำนโยบายไปปฏิบัติ ให้เกิดเสถียรภาพ สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ เพื่อนำความเจริญก้าวหน้ามาสู่ประชาชนและสังคม


2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหารมีอะไรบ้าง
ตอบ.
บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมืองที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้
1. การกำหนดนโยบาย โดยปกติการกำหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
1.1 พระราชบัญญัติ
1.2 พระราชกำหนด
1.3 พระราชกฤษฎีกา
1.4 กฎกระทรวง
2. การกำกับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนำนโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจำ
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจำระดับสูง

บทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการเมือง
1.การปฏิบัติงานประจํา คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานที่เทียบเท่า โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน เป็นงานที่ทําประจํา ไม่มีกรอบเวลาสิ้นสุด
2. การนํานโยบายไปปฏิบัติ ถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญประการหนึ่งของข้าราชการประจํา ซึ่งมีความยากในการปฏิบัติมากกว่างานประจํา เพราะนโยบาย แผนงาน โครงการนั้นมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
3. การให้ข้อมูลรายละเอียด คําชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมืองในการกําหนด นโยบายหรือการให้ข้อมูลในการแถลงต่อรัฐสภา
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน ของข้าราชการประจํา
5. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากงานประจํา ซึ่งถือว่าเป็นนโยบายครั้งคราว หรือ คําสั่งเฉพาะกิจจากฝ่ายการเมือง
This comment has been removed by the author.
งานวันอาทิตย์ 10 พฤษภาคม 2563
นางสาว ธิญาภรณ์ เคนคูณ รหัสนักศึกษา 61423451006 รุ่น 41
ช่วงเช้า - ช่วงบ่าย

1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
ตอบ“POSDCoRB” ภาระหน้าที่ที่สำคัญของนักบริหาร 7 ประการ คือ
1. Planning การวางแผนเป็นการวางเค้าโครงกิจกรรมซึ่งเป็นการเตรียมการก่อนลงมือปฏิบัติ เพื่อให้การดำเนินการสามารถบรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. Organizing การจัดองค์การ เป็นการกำหนดโครงสร้างขององค์การ โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับงาน เช่น การแบ่งงาน (Division of Work) เป็นกรม กอง หรือแผนก โดยอาศัยปริมาณงาน คุณภาพงาน หรือจัดตามลักษณะเฉพาะของงาน (Specialization)
3. Staffing การจัดบุคลากรปฏิบัติงานเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การนั่นเอง ทั้งนี้เพื่อให้บุคลากรมาปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับการจัด แบ่งหน่วยงานที่กำหนดไว้
4. Directing การอำนวยการเป็นภาระกิจในการใช้ศิลปะในการบริหารงาน เช่น ภาวะผู้นำ (Leadership) มนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) การจูงใจ (Motivation) และการตัดสินใจใจ (Decision making) เป็นต้น
5. Coordinating การประสานงานเป็นการประสานให้ส่วนต่าง ๆ ของกระบวนการทำงานมีความต่อเนื่องกัน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และราบรื่น
6. Reporting การรายงานเป็นกระบวนการและเทคนิคของการแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาตามชั้นได้ทราบถึงผลการปฏิบัติงาน โดยที่มีความสัมพันธ์กับการติดต่อสื่อสาร (Communication) ในองค์การอยู่ด้วย
7. Budgeting การงบประมาณ ในเรื่องงบประมาณทาง ทบ. จะเบิกงบประมาณมาให้หน่วยบริหารในการออกฝึก ซึ่งทางหน่วยจะต้องแบ่งงบประมาณออกเป็นค่าใช้จ่ายในด้านการกิน การดื่ม
การอาศัยในพื้นที่ และสิ่งอำนวยความสะดวก ว่าแต่ละวันแต่ละมื้อต้องใช้ค่าใช้จ่ายเท่าไหร่ เพื่อให้เพียงพอต่องบประมาณในการออกฝึก และไม่ทำให้หน่วยใช้งบประมาณที่ฟุ่มเฟือยเกินไป
แนวทางของกระบวนการบริหารในการทำงานของหน่วยงานของฉันมีข้อปฏิบัติอย่างเคร่งครัดและมีการวางแผนดำเนินงาน
ธนาคารไทยพาณิชย์ ให้ความสำคัญขั้นสูงสุดในการป้องกันและควบคุมการระบาดของไวรัสโควิด-19 โดยขอให้พนักงานงดการเดินทางต่างประเทศในธุรกิจของธนาคารทุกกรณี งด หรือ หลีกเลี่ยงการเดินทางส่วนตัวไปต่างประเทศในประเทศกลุ่มเสี่ยง 11 ประเทศ ได้แก่ จีน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน ญี่ปุ่น สิงคโปร์ เกาหลีใต้ อิตาลี อิหร่าน เวียดนาม และมาเลเซีย หากมีความจำเป็นให้แจ้งผู้บังคับบัญชาพิจารณาเป็นรายกรณี นอกจากนี้ พนักงานทุกคนต้องกรอกแบบสำรวจการเดินทางต่างประเทศทั้งของตนเองและบุคคลในครอบครัว และประกาศงด หรือ หลีกเลี่ยงการประชุมสัมมนาภายนอก งด หรือ หลีกเลี่ยงการจัดกิจกรรมต่างๆ ของธนาคารที่มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นจำนวนมาก และให้หลีกเลี่ยงการเดินทางไปสถานที่ชุมชนหนาแน่น หากมีความจำเป็น ต้องสวมหน้ากากอนามัยป้องกัน
เพื่อป้องกันความเสี่ยงและปกป้องสวัสดิภาพของพนักงานกลุ่มธนาคารไทยพาณิชย์ จากวิกฤตการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 จากบุคคลภายนอกที่มาติดต่อกับทางธนาคาร ทางธนาคารจึงได้ออกมาตรการพิเศษสำหรับพนักงานกลุ่มธนาคารทุกระดับชั้น ในการงดรับนัดหมายประชุมและพบปะโดยตรงกับบุคคลภายนอก ที่เดินทางมาจากประเทศหรือผ่านประเทศกลุ่มเสี่ยง 11 ประเทศ ในพื้นที่สำนักงานใหญ่ รัชโยธิน ในทุกกรณี ตามมาตรการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข และให้ใช้ช่องทางอื่นแทน เช่น Teleconference, VDO Call เป็นต้น
นอกจากนี้ ธนาคารจะดำเนินการตรวจวัดอุณหภูมิของพนักงานทุกคนที่เข้าทำงานภายในร้านค้าและอาคารสำนักงาน ต้องมีค่าไม่เกิน 37.5 องศา แล้วติดสติกเกอร์ สีต่างๆ (สีสติกเกอร์จะเปลี่ยนทุกวันเพื่อการตรวจสอบ) ตรวจวัดอุณหภูมิผู้รับเหมาทุกคนก่อนแลกบัตรขึ้นอาคาร ตรวจวัดอุณหภูมิพนักงานก่อนแลกบัตรเข้าห้องฝึกอบรม ตรวจวัดอุณหภูมิเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย / แม่บ้าน คนสวน ทุกคน ขณะรวมแถวก่อนปฏิบัติงาน
นายลัญจกร พวงศรี รหัสนกศึกษา62423471051 รุ่นที่ 44
งานวันที่ 9/5/63
1. อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารและการเมือง
ตอบ.ส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารบ้านเมืองโดยการร่วมคิด ร่วมทำร่วมตรวจสอบติดตามและประเมินผลการดำเนินงานเพื่อให้การบริหารและการพัฒนาบ้านเมืองมีประสิทธิภาพโปร่งใส จัดการบริการเชิงรุกและจัดการบริการเป็นพิเศษในด้านต่างๆเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนสร้างระบบการบริหารงานโดยเน้นหลักประสิทธิภาพประสิทธิผลสุจริตและโปร่งใสสามารถตรวจสอบได้โดยยึดหลักธรรมาภิบาล และตรงกับความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริงส่งเสริมให้ประชาชนชุมชนองค์กรเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมกำหนดวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์จัดทำแผนโครงการในการพัฒนาบ้านเมืองให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของประชาชนจัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารเพื่อบริการข้อมูลข่าวสารเอกสารต่างๆ ที่ประชาชนสนใจและสามารถตรวจสอบและได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารที่เกิดประโยชน์
จัดการพัฒนาบุคลากรเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานเพื่อให้มีความรู้ทักษะในการปฏิบัติงานทัศนคติที่ดี สามารถปฏิบัติงานสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพส่งเสริมสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในหน่วยงานโดยใช้ระบบคุณธรรมและจัดสวัสดิการต่างๆ ตามความเหมาะสมส่งเสริมให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมบทบาทและหน้าที่ของประชาชนที่มีต่อการบริหารบ้านเมือง และอำนาจการตรวจสอบตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่จัดโครงการตู้รับความคิดเห็น เพื่อรับฟังและรับทราบปัญหาความต้องการจากประชาชนส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในระบบประชาธิปไตยให้ประชาชนทุกระดับและปฏิบัติหน้าที่ตามนโยบายของรัฐบาล

การบริหารหมายถึงกิจกรรมของกลุ่มชนที่ปฏิบัติงานร่วมกันเพื่อบรรลุจุดหมายปลายทางเดียวกันซึ่งได้ขยายความต่อไปว่าต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ3ส่วนคือต้องมีบุคคลอย่างน้อย 2 คนขึ้นไปมีจุดมุ่งหมายร่วมกันเพื่อที่จะกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อบรรลุถึงสิ่งที่ได้กำหนดไว้กำหนดไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งหลาย ได้แก่คนเงินวัตถุสิ่งของเป็นอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานนั้นคำนิยามนี้ใช้ในทางปฏิบัติจริงๆ ซึ่งเน้นไปที่การจัดการการบริหารมุ่งถึงการนำเอานโยบายไปปฏิบัติเป็นหลักการขยายตัวจึงพยายามเน้นให้แยกบทบาทระหว่างฝ่ายการเมืองและฝ่ายบริหาร กล่าวคือฝ่ายนิติบัญญัติจะมุ่งไปที่การกำหนดนโยบายในขณะที่ฝ่ายบริหารจะมุ่งไปที่การนำนโยบายไปแปลงเป็นแผนแผนงานโครงการและนำแผนไปสู่ปฏิบัติสิ่งที่ปรากฎให้เห็นชัดเจน คือฝ่ายบริหารทั้งระบบประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาหรือระบบของคณะรัฐมนตรีเป็นผู้บริหารของอังกฤษมีสิ่งที่แสดงให้เห็นชัดเจนคือการมีระบบราชการเป็นแกนหลักในการนำเอากฎหมาย ระเบียบหรือคำสั่งไปปฏิบัติซึ่งชี้ให้เห็นว่าฝ่ายบริหารมีบทบาทที่ทำให้การนำเอานโยบายไปปฏิบัติมีความเข้มแข็ง

2.บทบาทข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมการบริหาร
ตอบ.ในการปกครองบริหารประเทศต้องอาศัยบุคลากร2ฝ่าย คือ1.ฝ่ายการเมือง / ข้าราชการการเมือง 2.ฝ่ายบริหารงานประจำ /ข้าราชการประจําข้าราชการ การเมืองฝ่ายการเมืองนักการเมืองที่ได้รับการเลือกตั้งจากประชาชนหรือได้รับการแต่งตั้งจากผู้มีอำนาจทางการเมืองให้ทำหน้าที่รับผิดชอบกิจการทางด้านการเมืองเช่นนายกรัฐมนตรีรัฐมนตรีส.ส. สว.เลขานุการ รมต ผู้ช่วยเลขานุการ รมต.โฆษกรัฐบาลเลขาธิการนายก รมต.ที่ปรึกษาต่างๆบทบาทอำนาจหน้าที่ของ
Pimolnat said…
งานวันที่​9/5/63
พิมลณัฏฐ์​ ภักค์ทองกุล​
รหัส​61423451093
อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
การเมืองเป็นเรื่องของการกำหนดนโยบายและเป้าหมายของรัฐ การตัดสินใจว่าควรดำเนินนโยบายอย่างไร เท่ากับการยอมรับว่านโยบายนั้นดีกว่าทางเลือกด้านอื่นๆ นักการเมืองสามารถอ้างความชอบธรรมในการเลือกได้ เพราะการได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน เป็นผู้กลั่นกรอง สะท้อนเจตนารมณ์และความต้องการของประชาชน
การบริหารเป็นเรื่องของการปฏิบัติตามโยบาย เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายที่นักการเมืองได้กำหนดไว้ การเมืองกับการบริหารจึงเกี่ยวพันกันอย่างมาก เช่น รัฐบาลประกาศภาวะฉุกเฉินทั้งประเทศเพื่อควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส COVID -19 มีการสั่งปิดสถานประกอบการ เช่น สปา สถานศึกษา ห้างสรรพสินค้า ยกเว้นซุปเปอร์​มาเก็ต กลุ่มผู้ที่ได้รับผลกระทบจากคำสั่งปิดสถานประกอบการ แรงงานในระบบ นอกระบบและผู้ประกอบอาชีพอิสระ จะได้รับการเยียวยาจากรัฐอย่างไร มาตรการต่างๆ ตามประกาศของรัฐเพื่อลดการแพร่ระบาดของไวรัส COVID -19 ต้องมีความชัดเจน สามารถรองรับผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในหลายรูปแบบ ประชาชนและผู้ประกอบการจะได้เตรียมตัววางแผนได้
ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับการบริหารเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายและวิธีการการเมืองเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจรัฐในกำหนดเป้าหมายของรัฐเพื่อการแบ่งสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด การบริหารเป็นวิธีการในทางปฏิบัติที่จะช่วยดำเนินการตามที่ฝ่ายการเมืองกำหนดไว้ตามข้อมูลความเป็นจริง จากผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องโดยตรง

บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหารมีอะไรบ้าง
บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมือง
1. การกําหนดนโยบาย โดยปกติการกําหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
1.1พระราชบัญญัต
1.2พระราชกําหนด
1.3พระราชกฤษฎีกา
1.4กฎกระทรวง
2. การกํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจําว่าเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของนโยบายหรือไม่เพียงใด
3.การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจําระดับสูง (ระดับกรมขึ้นไป) เพื่อให้เป็น หลักประกันว่านโยบายของฝ่ายการเมืองจะได้รับการปฏิบัติจากข้าราชการประจําอย่างเต็มความสามารถ

บทบาทหน้าที่หลักของข้าราชการประจํา
ข้าราชการประจําทุกหน่วยงานของรัฐโดยปกติจะมีบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญ สรุปได้ดังนี้
1.การปฏิบัติงานประจํา คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานที่เทียบเท่า โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน เป็นงานที่ทําประจํา ไม่มีกรอบเวลาสิ้นสุดเช่น งานธุรการ งานการเงิน งานบุคลากร งานป้องกันปราบปรามงานบริการต่างๆเป็นต้น
2.การนํานโยบายไปปฏิบัติถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญประการหนึ่งของข้าราชการประจํา ซึ่งมีความยากในการปฏิบัติมากกว่างานประจํา
3.การให้ข้อมูลรายละเอียด คําชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมืองในการกําหนด นโยบายหรือการให้ข้อมูลในการแถลงต่อรัฐสภา โดยเฉพาะเป็นรายละเอียดระดับปฏิบัติมิใช่ระดับนโยบาย
4.การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน ของข้าราชการประจํา
5.งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากงานประจํา ซึ่งถือว่าเป็นนโยบายครั้งคราว
สภาพแวดล้อมทางการบริหาร
สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาอาจแบ่งออกได้เป็นหลายประเภทตามมติต่างๆ คือ สภาพแวดล้อมการบริหารการพัฒนาที่แบ่งตามมติสถานที่ ดังกล่าว มาแล้ว สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาที่แบ่งตามมติเฉพาะด้าน เช่น สภาพแวดล้อมทาง การเมือง เศรษฐกิจและสังคม สภาพแวดล้อมทางการเมืองและเศรษฐกิจ
Pimolnat said…
งานวันที่​10/5/63
พิมลณัฏฐ์​ ภัก​ค์​ทอง​กุล​
รหัส​61423451093 รุ่น41
กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
กระบวนการของการบริหารของแต่ละองค์กรนั้นมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับว่าองค์กรไหนจะใช้วิธีการใดในการบริหารจัดการกับทรัพยากรภายในองค์กรของตน เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและเพื่อให้บรรลุวัตถุปะสงค์สูงสุดตามที่องค์กรนั้นๆได้วางไว้
ในกระบวนการบริหารจัดการในองค์กรนั้นประกอบไปด้วยหลากหลายแนวความคิดทางบริหาร เช่นหลัก POSDC, POLC,POSCORB เป็นต้นซึ่งผู้บริหารองค์กรมีหน้าที่ที่จะเลือกสรรเอาหลักการในการบริหารที่เหมาะสมมาประยุกต์หรือปรับใช้กับองค์กรของตนเพื่อประโยชน์ขององค์กรเอง แต่โดยรวมแล้วหลักการบริหารจะประกอบไปด้วยขั้นตอนเหล่านี้คือ
1. การวางแผน (Planning) หมายถึง กระบวนการในการกำหนดเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ สำหรับช่วงเวลาในอนาคต และวิธีรการให้องค์การบรรลุเป้าหมาย โดยยึดหลักความมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลมากที่สุด
2.การจัดองค์กร (Organizing) หมายถึง ขบวนการของการกำหนดรูปแบบโครงสร้างขององค์กร กฎเกณฑ์ ที่จะใช้ควบคุมทรัพยากรต่างๆ ให้ทำงานร่วมกัน เพื่อบรรลุเป้าหมายขององค์การ โดยจะต้องมีการกำหนดอำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของพนักงานแต่ละคนว่าใครทำอะไร ใช้วิธี และเครื่องมืออะไรบ้าง ในการทำงานตามกฎเกณฑ์เฉพาะที่จะทำให้งานนั้นดำเนินไปได้
3.การจัดคนเข้าทำงาน(Staffing) หมายถึง หน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล โดยเริ่มตั้งแต่ เสาะหา คัดเลือก บรรจุคนที่มีความรู้ ความสามารถเข้าทำงาน พัฒนาฝึกอบรมให้บุคคลกรมีความสามารถมากเพิ่มขึ้นในการทำงาน
4.การสั่งการ(Directing) หมายถึง ความพยายามที่จะทำให้การกระทำต่างๆ ของทุกฝ่ายในองค์กร เป็นไปในทางที่จะส่งเสริมให้เกิดผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
5.การควบคุม(Controlling) หมายถึง การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานต่างๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่และมีข้อบกพร่องอะไรที่จะต้องทำการแก้ไขหรือไม่
6.ภาวะผู้นำในองค์กร( Leading) หมายถึง หน้าที่ทางการบริหารที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมองค์การ การใช้อำนาจหน้าที่ แรงจูงใจ อันจะทำให้บุคลากรขององค์การสามารถทำงานได้บรรลุวัตถุประสงค์ที่องค์การตั้งไว้
ขั้นตอนที่สำคัญที่สุดในกระบวนการบริหารนั้นอาจหมายถึงขั้นตอนทั้งหมดที่มีอยู่ เพราะในการบริหารจัดการองค์กรนั้นจะต้องใช้การร่วมมือของทุกส่วน ทุกขั้นตอน เพื่อให้องค์กรสามารถขับเคลื่อนต่อไปได้ เริ่มตั้งแต่กระบวนการวางแผ่น และกำหนดเป้าหมาย การจัดการรูปแบบ โครงสร้างขององค์กร การกำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การเลือกสรรคนที่มีคุณภาพ เข้ามาทำงาน การควบคุมให้งานที่ทำบรรลุผลสำเร็จ และมีประสิทธิภาพ ไปจนถึงผู้นำในองค์กรที่จะต้องทำหน้าที่ผู้นำเพื่อเป็น แบบอย่างที่ดี เป็นแรงจูงใจให้บุคลากร เพราะฉะนั้นขั้นตอนที่สำคัญที่สุดในกระบวนการบริหารนั้นเราอาจกล่าวได้ว่าอาจเป็นได้ทุกส่วนทุกขั้นตอนและมีความสำคัญเท่าๆกัน
ในส่วนขององค์กร​ที่ผู้เขียนได้ทำงานอยู่​นั้นก็ได้ใช้หลักการบริหาร​ที่กล่าวมาข้างต้นนั้นมาใช้ในการบริหารงานเช่นกัน​เพราะเป็นองค์กร​ธุรกิจ​ขนาดใหญ่​ มีพนักงานและสาขามาก​มายทั้งในประเทศ​และ​ต่างประเทศ​
แต่ในส่วนงานที่ผู้เขียนได้ทำนั้น​คืองาน​"ตัวแทนขายประกัน" หรือเรียกว่าฝ่ายขายในทางเทคนิค​ ผู้เขียน​ต้องทำงานกับความรู้สึ​กของมนุษย​์​ไม่ได้ทำงานกับคอมพ์​หรือกระดาษ​หรือยู่​แต่ในออฟฟิศ​ ในสถานการณ์​ปัจจุบัน​ ถือว่ามีทั้งวิกฤติ​และโอกาส​ในเวลาเดียวกัน​ ส่วนตัวผู้เขียนได้นำหลักการบริหารของ​ Max Weber ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นเจ้าตำรับระบบราชการ (Bureaucracy) โดยมีการกำหนดโครงสร้างตลอดจนการบริหารงานที่ชัดเจน โดยมีองค์ประกอบ 7 ประการ ดังนี้
-​หลักลำดับขั้น (hierarchy)
-หลักความสำนึกแห่งความรับผิดชอบ (responsibility)
-หลักแห่งความสมเหตุสมผล (rationality)
-หลักการมุ่งสู่ผลสำเร็จ (achievement orientation)
-หลักการทำให้เกิดความแตกต่างหรือการมีความชำนาญเฉพาะด้าน (Specialization)
-หลักระเบียบวินัย (discipline)
-ความเป็นวิชาชีพ (Professionalization)
้​เพื่อ​จะบรรลุ​เป้าหมาย​ของเนื้องานในแต่ละไตรมาส​
งานวันเสาร์ ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2563 (เช้า-บ่าย)
นางสาวเมวียา แก้วกัน
รหัสนักศึกษา 61423451152

คำถาม 1.แนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ การเมืองป็นเรื่องของการกำหนดนโยบาย และเป้าหมายของรัฐเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจโดยตรง การตัดสินใจว่าควรดำเนินนโยบายแบบใด เท่ากับเป็นการยอมรับว่านโยบายนั้นดีกว่าทางเลือกด้านอื่นๆ นักการเมืองสามารถอ้างความชอบธรรมในการเลือก และกำหนดคุณค่าได้ก็เพราะการที่ได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน และเป็นผู้กลั่นกรอง และสะท้อนเจตนารมณ์ และความต้องการของประชาชน
การบริหารเป็นเรื่องของการปฏิบัติตามนโยบาย เพื่อทำให้บรรลุถึงเป้าหมายหรือคุณค่าที่นักการเมืองได้กำหนดไว้ ดังนั้นการเมืองกับการบริหารจึงเกี่ยวพันกันอย่างมาก
ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับการบริหารจึงสามารถมองได้ว่าเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมาย กับวิธีการ คือการเมืองเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจรัฐเพื่อการแบ่งสรรคุณค่าที่มีอยู่สังคม ซึ่งแบ่งสรรคุณค่าที่มีอยู่อย่างจำกัด แต่ความต้องการของประชาชนในสังคมนั้นมีอยู่มากมาย หลากหลายและมีอยู่อย่างไม่จำกัด
ตัวอย่าง มาตรการป้องกัน ลดการแพร่ระบาดโควิด-19 ในสถานที่เสี่ยง เช่นลดความเสี่ยงของการแพร่เชื้อในสถานที่ที่มีประชาชนใช้บริการจำนวนมาก ได้แก่ ตลาด ห้างสรรพสินค้า สถานที่ราชการ และรัฐวิสาหกิจ โดยดำเนินการตามมาตรการป้องกันที่กระทรวงสาธารณะสุขกำหนด


คำถาม 2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง
ตอบ บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมือง
1.การกําหนดนโยบาย โดยปกติการกําหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
-พระราชบัญญัติ
-พระราชกําหนด
-พระราชกฤษฎีกา
-กฎกระทรวง
2.การกํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจําว่าเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของนโยบายหรือไม่
3.การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจําระดับสูง (ระดับกรมขึ้นไป) เพื่อให้เป็น หลักประกันว่านโยบายของฝ่ายการเมืองจะได้รับการปฏิบัติจากข้าราชการประจำอย่างเต็มความสามารถ


บทบาทหน้าที่หลักของข้าราชการประจํา
1.การปฏิบัติงานประจํา คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานที่เทียบเท่า โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน
2.การนํานโยบายไปปฏิบัติ ถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญประการหนึ่งของข้าราชการประจํา ซึ่งมีความยากในการปฏิบัติมากกว่างานประจํา
3.การให้ข้อมูลรายละเอียด คําชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมืองในการกําหนด นโยบายหรือการให้ข้อมูลในการแถลงต่อรัฐสภา
4.การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ๆแก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน ของข้าราชการประจํา
5. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่นๆที่นอกเหนือจากงานประจํา ซึ่งถือว่าเป็นนโยบายครั้งคราว หรือ คําสั่งเฉพาะกิจจากฝ่ายการเมือง
สภาพแวดล้อมทางการบริหารที่เกี่ยวกับ การบริหารงานภายนอก หรือต้องเกี่ยวกับปัจจัยภายนอกองค์กร เพื่อให้หน่วยงานและบุคคลสนับสนุนนโยบายและร่วมมือในการดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการบริหาร สภาพแวดล้อมภายในองค์การ เป็นสภาพแวดล้อมเฉพาะองค์การ เช่น บุคลากร แรงงาน อุปกรณ์ เครื่องจักรงบประมาณ เงิน ข้อมูล เทคนิควิธีการ ปฏิบัติงาน ซึ่งองค์การต้องมีทรัพยากรในการบริหารที่เพียงพอ สามารถนามาปฏิบัติงานแล้วเกิดผลงานผลผลิตที่ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
งานวันอาทิตย์ ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2563 (เช้า-บ่าย)
นางสาวเมวียา แก้วกัน
รหัสนักศึกษา 61423451152 รุ่นที่41

คำถาม กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานของท่านมาอธิบาย
ตอบ กระบวนการบริหาร POSDCoRB หน้าที่ที่สำคัญของนักบริหาร 7 ประการ คือ
1. Planning -การวางแผน
2. Organizing -การจัดองค์การ
3. Staffing -การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน
4. Directing -การอำนวยการ
5. Coordinating -การประสานงาน
6. Reporting -การรายงาน
7. Budgeting -การงบประมาณ
แนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานของโรงพยาบาลทันตกรรมมหาจักรีสิรินธร คณะทันตแพทยศาสตร์ มหวิทยาลัยมหิดล มีดังนี้
1.ให้งดการเรียนการสอนในชั้นเรียนและให้ดำเนินการใช้รูปแบบการเรียนการสอนโดยผ่านระบบออนไลน์ต่อไป
2.ให้บุคลากรและผู้ปฏิบัติงานให้กับคณะทันตแพทยศาสตร์ มหวิทยาลัยมหิดล ทุกระดับและทุกประเภทการจ้างไม่ว่าจะเป็นบุคลากรประเภทเต็มเวลาหรือไม่ต็มเวลาก็ตาม ปฏิบัติงานที่บ้านเป็นบางเวลา เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2563 จนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง โดยให้ทุกหน่วยงานในคณะทันตแพทยศาสตร์ต้องมีบุคลากรปฏิบัติงานและประจำการในหน่วยงานทุกวันมสลับการไปเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพในการทำงานรวมทั้งไม่ส่งผลเสียต่อการดำเนินงานของหน่วยงาน ทั้งให้บุคลากรสายสนับสนุนบันทึกการเข้าและออกของการปฏิบัติงานโดยการลงนามที่หน่วยงานในวันที่เข้าปฏิบัติงาน และนำส่งที่งานทรัพยากรบุคคลไม่เกินวันที่ 5 ของเดือนถัดไป
3.ให้บุคลากรสังกัดโรงพยาบาลทันตกรรมม คณะทันตแพทยศาสตร์ และโรงพยาบาลทันตกรรมมหาจักรีรีสิรินธร และบุคลากรสังกัดหน่วยงานอื่นที่สนับสนุนให้การบริทางทันตกรรมปฏิบัติตามที่คณะทันตแพทยศาสตร์มอบหมายซึ่งเป็นไปตามกำหนดในการให้บริการ
4. ให้บุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนในทุกส่วนงาน และนักศึกษา ดำเนินการตามแนวทางการปฏิบัติในการรักษาระยะห่างทางสังคม และมาตรการอื่นด้วยยึดหลักการป้องกันโรคต่อไปด้วยเคร่งครัดและติดตามข่าวสารของ คณะทันตแพทยศาสตร์ และมหาลัยมหิดลอย่างต่อเนื่อง
แบบฝึกหัด วันเสาร์ ที่ 9 พฤษภาคม 2563 (เช้า-บ่าย) นางสาว สริตา จุลทองไสย 61423451047 รุ่น 41
1.อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ การเมืองเป็นเรื่องของการกำหนดนโยบายและเป้าหมายของรัฐ ส่วนการบริหารเป็นเรื่องของการปฏิบัติตามนโยบาย เพื่อบรรลุถึงเป้าหมาย
ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง นั้นอาจกล่าวได้ว่าการบริหารงานของรัฐเป็นเรื่องของการเมือง กระบวนการบริหารของรัฐเป็นเรื่องของการเมืองเช่นกัน กระบวนการบริหารเป็นกระบวนการสำคัญกระบวนหนึ่งของการเมือง เรื่องของการบริหารนโยบายและการเมืองมีความเกี่ยวข้องและผูกผันกัน การบริหารงานเป็นส่วนหนึ่งและแยกไม่ออกจากกระบวนการปกครอง
การบริหารและการเมืองนั้นไม่สามารถแยกออกจากกันได้ เนื่องจากกระบวนการกำหนดนโยบายต้องพิจารณาควบคู่ไปกับความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ หรือในการบริหารด้วย ตัวอย่างเช่น แนวคิดการบริหารคือประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรการการป้องกันความเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19
- การควบคุมเกี่ยวกับสุขลักษณะอาคารและอุปกรณ์เครื่องใช้ที่มีอยู่ในอาคาร
- ทำความสะอาดจุดหรือบริเวณที่มีการใช้ร่วมกัน
- ต้องมีการป้องกันตนเอง เช่น ใส่หน้ากากอนามัย พกเจลแอลกอฮอล์
- การให้ความรู้ คำแนะนำ และเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์
จะเห็นได้ว่าความสัมพันธ์ของการบริหารกับการเมืองนั้นต้องควบคู่กันไปเมื่อกำหนดนโยบายออกมาแล้วต้องมาปฏิบัติด้วยว่าเป็นไปได้อย่างไร

2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง
ตอบ บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมือง อาจสรุปได้ดังนี้
1. การกําหนดนโยบาย โดยปกติการกําหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
- พระราชบัญญัติ หรือ พ.ร.บ.
- พระราชกําหนด หรือ พ.ร.ก.
- พระราชกฤษฎีกา หรือ พ.ร.ฎ.
- กฎกระทรวง
2. การกํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจํา
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจําระดับสูง (ระดับกรมขึ้นไป)
บทบาทหน้าที่หลักของข้าราชการประจํา โดยปกติจะมีบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญ คือ
1. การปฏิบัติงานประจํา คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานที่เทียบเท่า โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน เป็นงานที่ทําประจํา
2. การนํานโยบายไปปฏิบัติ ถือเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญของข้าราชการประจํา เพราะนโยบาย แผนงาน โครงการนั้นมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน และมีกรอบเวลาในการปฏิบัติ และต้องอาศัยปัจจัยต่าง ๆ สนับสนุนจํานวนมาก
3. การให้ข้อมูลรายละเอียด คําชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมืองในการกําหนด โดยเฉพาะเป็นรายละเอียดระดับปฏิบัติมิใช่ระดับนโยบาย เพราะข้าราชการประจํารู้รายละเอียดในเรื่องต่าง ๆ ได้ดีกว่าฝ่ายการเมือง
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน ของข้าราชการประจํา
5. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากงานประจํา ซึ่งถือว่าเป็นนโยบายครั้งคราว หรือ คําสั่งเฉพาะกิจจากฝ่ายการเมือง ลักษณะงานดังกล่าวจะไม่มีแผนกําหนดไว้ล่วงหน้า
แบบฝึกหัด วันอาทิตย์ที่ 10 พฤษภาคม 2563 (เช้า-บ่าย) นางสาว สริตา จุลทองไสย 61423451047 รุ่น 41
1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานของท่านมาอธิบาย
ตอบ ทฤษฎี : กระบวนการบริหาร POSDCoRB คือ หลักในการบริหารจัดการองค์กรที่ใช้กันทั้ง ในภาครัฐ และ เอกชน ที่ผู้มีอํานาจบริหารมีหน้าที่ และ บทบาทการบริหารอยู่ 7 ประการ คือ
1. P-Planning หมายถึงการวางแผนได้แก่การจัดวางโครงการและแผนงานต่างๆขึ้นมาไว้ล่วงหน้า
2. O-Organizing หมายถึงการจัดองค์การได้แก่การแบ่งงานการกําหนดส่วนงานโครงสร้างของ
องค์การ การกําหนดตําแหน่งงานต่างๆ พร้อมกับอํานาจหน้าที่
3. S-Staffing หมายถึง การจัดการเกี่ยวกับตัวบุคคลในองค์การ นับตั้งแต่ การจัดอัตรากําลัง การสรรหา
การคัดเลือก การบรรจุแต่งตั้งบุคคล การเลื่อนขั้น เลื่อนตําแหน่ง เงินเดือน การโยกย้าย การพัฒนา
บุคคลในองค์การเรื่อยไปจนกระทั่งการให้บุคคลพ้นจากตําแหน่ง
4. D-Directing หมายถึงการอํานวยงานได้แก่การทําหน้าที่ในการตัดสินใจวินิจฉัยสั่งการการออก
คําสั่ง มอบหมายภารกิจการงานไปให้ผู้ใต้บังคับบัญชา หลังจากนั้นต้องใช้ภาวะของการเป็นผู้นําใน
การกระตุ้นจูงใจคนให้ยอมรับในผู้บริหาร
5. Co-Coordinating หมายถึงการประสานงานได้แก่การทําหน้าที่ในการประสานกิจกรรมต่างๆที่ได้
มีการแบ่งแยกออกไปเป็นส่วนงานย่อยๆ เพื่อให้ทุกภาคส่วนสามารถทํางานประสานสอดคล้องกัน
และมุ่งไปสู่เป้าหมายเดียวกัน
6. R-Reporting หมายถึงการรายงานได้แก่การทําหน้าที่ในการรับฟังรายงานผลการฏิบัติงานของ
บุคคลและหน่วยงานที่เป็นผู้ใต้บังคับบัญชาได้รายงานมา การรายงานถือเป็นมาตราการในการ
ตรวจสอบและควบคุมงานด้วย
7. B- Budgeting หมายถึง การงบประมาณ ได้แก่ หน้าที่ ที่เกี่ยวกับการจัดทํางบประมาณ การจัดทํา
บัญชีการใช้จ่ายเงินและการตรวจสอบควบคุมด้านการเงิน การบัญชีของหน่วยงานนั่นเอง
แนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงาน คือ โรงพยาบาลทันตกรรมมหาจักรีสิรินธร คณะทันตแพทย์ศาสตร์ มหาลัยมหิดล มีรายละเอียดดังนี้
แนวทางในการจัดเรียนการสอนและการเปิดภาคเรียนการศึกษา การปฏิบัติงานที่บ้านของบุคลากรและแนวทางการรักษาระยะห่างทางสังคมอันเนื่องมาจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- งดการเรียนการสอนในชั้นเรียนและให้ใช้รูปแบบการเรียนการสอนเป็นแบบออนไลน์ เนื่องในการเรียนการสอนนั้นนักศึกษาทันตแพทย์จะมีการลงปฏิบัติงานจริงกับคนไข้จึงต้องงดเพื่อป้องกันการแพร่กระจายและป้องกันโรคระบาด
- ให้บุคลากรหรือผู้ที่ปฏิบัติงานในคณะทันตแพทย์รวมทั้งโรงพยาบาลทันตกรรมในเครือ ทุกระดับ ทุกประเภทการจ้างปฏิบัติงานที่บ้านเป็นบางเวลา เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2563 จนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง โดยพิจารณาและคำนึงถึงความต่อเนื่องในการปฏิบัติงาน
- งดให้บริการหัตถการที่ฟุ้งกระจายเช่น ขูดหินน้ำลาย อุดฟัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่ในดุลพินนิจของทันตแพทย์ผู้ให้การรักษา และงดรับผู้ป่วยใหม่ ยกเว้นกรณีฉุกเฉิน
- ให้บริการเฉพาะผู้ป่วยฉุกเฉินเท่านั้น เช่น ปวด บวม มีภาวะเลือดออกภายในช่องปาก หรือผู้ป่วยอุบัติเหตุที่สัมพันธ์กับบริเวณช่องปากบริเวณใบหน้าขากรรไกร และ กรณีอื่นๆ ที่พิจารณาว่าเร่งด่วนตามดุลพินิจของทันตแพทย์ผู้ให้การรักษา เช่น ฟันปลอมหัก ครอบฟันหลุด ขากรรไกรค้าง เป็นต้น
- ในกรณีจำเป็นเร่งด่วนให้คณบดี รองคณบดี รองคณบดีฝ่ายต่างๆ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลทันตกรรมมหาจักรีสิรินธร และหัวหน้าภาควิชามีอำนาจสั่งการให้บุคลากรในกำกับดูแลคนใดมาปฏิบัติงานก็ได้
ทั้งนี้ให้ดำเนินการตามแนวทางการปฏิบัติในการรักษาระยะห่างทางสังคม (Socisl distancing) และมาตรการอื่นโดยยึดหลักการป้องกันโรค
Unknown said…
ประเมินความรู้ภาคเช้า
นส บุตรียาภรณ์ พวงจันทร์ รหัส นักศึกษา 61423451033รุ่น 41
งานวันที่9 พฤษภาคม 2563
1.อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
- ฝ่ายการเมืองมีบทบาทหน้าที่กำหนดนโยบาย ควบคุม กำกับ และดูแลให้การนำนโยบายไปปฏิบัติบรรลุผลสำเร็จ ส่วนฝ่ายบริหารราชการหรือข้าราชการประจำมีบทบาทหน้าที่ในการนำนโยบายที่ฝ่ายการเมืองกำหนดไปปฏิบัติ ซึ่งเป็นการแยกบทบาทหน้าที่ออกจากกันอย่างชัดเจน ไม่แทรกแซงหรือก้าวก่ายบทบาทหน้าที่กันก็ตาม แต่ในแง่ของความเป็นจริง กระบวนการทั้งสองมีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิดจนไม่สามารถแยกออกกันได้ เปรียบเสมือนเหรียญที่มีสองด้าน เพราะทั้งสองฝ่ายจะต้องทำงานร่วมกันและพึ่งพากันตลอดเวลา เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ทำงานที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อทำให้การทำงานเป็นไปโดยราบรื่น แต่หลายครั้งมักเกิดปัญหาฝ่ายการเมืองเข้าแทรกแซงฝ่ายบริหารราชการในแง่ของการแต่งตั้ง โยกย้ายข้าราชการประจำ อย่างไรก็ตามฝ่ายบริหารราชการก็มีการแทรกแซงฝ่ายการเมืองโดยเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายโดยเฉพาะเรื่องที่ต้องใช้ความรู้ทางเทคนิคสูง ซึ่งฝ่ายการเมืองอาจมีข้อมูลน้อยหรือไม่มีความเชี่ยวชาญ ดังนั้น ฝ่ายการเมืองและฝ่ายบริหารราชการจึงมีความสัมพันธ์ในบทบาทหน้าที่ของกันและกัน โดยบางครั้งมีการแทรกแซงบทบาทหน้าที่ของอีกฝ่ายหนึ่ง เพราะในการปฏิบัติเราไม่สามารถแบ่งบทบาทระหว่างฝ่ายการเมืองกับฝ่ายข้าราชการประจำได้อย่างเด็ดขาด แต่ความสัมพันธ์ดังกล่าวจะต้องมีความสมดุลกัน การปฏิบัติงานจึงจะเกิดเสถียรภาพและสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้
- จากความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจำ เห็นได้ว่าฝ่ายบริหารราชการมีข้าราชการประจำที่มีข้อมูล มีความรู้ และมีประสบการณ์อย่างต่อเนื่อง จึงมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการบริหารงานของรัฐ ในขณะที่ฝ่ายการเมืองนั้น อาจจะมีการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันไป แต่ฝ่ายบริหารราชการ ยังคงมีข้าราชการประจำที่มีวาระการดำรงตำแหน่ง มีการสืบทอดความรับผิดชอบที่แน่นอนกว่าฝ่ายการเมือง เมื่อเป็นเช่นนี้บทบาทของข้าราชการประจำจึงมีความสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคที่ฝ่ายการเมืองไม่มีเสถียรภาพ จึงต้องอาศัยข้าราชการประจำเป็นหลักในการบริหารบ้านเมือง ทั้งด้านการใช้กฎหมาย ด้านการใช้ทรัพยากร ด้านการแก้ปัญหาต่าง ๆ แต่สิ่งที่สำคัญคือข้าราชการประจำจะต้องมีความซื่อสัตย์ สุจริตและมีความเป็นมืออาชีพ เพราะจะทำให้ฝ่ายการเมืองไม่สามารถที่จะเข้าไปแทรกแซงอย่างไม่เป็นธรรมได้ เพื่อให้ข้าราชการประจำสามารถดำเนินงานด้วยวิธีปฏิบัติงานที่ถูกต้อง เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง และบรรลุวัตถุประสงค์ในเรื่องต่าง ๆ ตลอดจนตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหารมีอะไรบ้าง
ตอบ.
บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมืองที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้
1. การกำหนดนโยบาย โดยปกติการกำหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
1.1 พระราชบัญญัติ
1.2 พระราชกำหนด
1.3 พระราชกฤษฎีกา
1.4 กฎกระทรวง
2. การกำกับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนำนโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจำ
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจำระดับสูง

บทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการเมือง
1.การปฏิบัติงานประจํา คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานที่เทียบเท่า โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน เป็นงานที่ทําประจํา ไม่มีกรอบเวลาสิ้นสุด
2. การนํานโยบายไปปฏิบัติ ถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญประการหนึ่งของข้าราชการประจํา ซึ่งมีความยากในการปฏิบัติมากกว่างานประจํา เพราะนโยบาย แผนงาน โครงการนั้นมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
3. การให้ข้อมูลรายละเอียด คําชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมืองในการกําหนด นโยบายหรือการให้ข้อมูลในการแถลงต่อรัฐสภา
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน ของข้าราชการประจํา
5. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากงานประจํา ซึ่งถือว่าเป็นนโยบายครั้งคราว หรือ คําสั่งเฉพาะกิจจากฝ่ายการเมือง
Unknown said…
นส บุตรียาภรณ์ พวงจันทร์
รหัสนักศึกษา 61423451033รุ่น41
งานวันอาทิตย์ที่10พฤษภาคม2563 (เช้า-บ่าย)
1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
ตอบ POSDCORB ใช้วางกรอบการทำงานองค์กร ใช้เป็นแนวทางในการบริหาร
1. Planning การวางแผน
2. Organization การจัดองค์การ
3. Staffing การจัดกำลังคน
4. Directing การอำนวยการ
5. Coordinating การประสานงาน
6. Reporting การรายงาน
7. Budgeting การงบประมาณ
กระบวนการริหารในบริษัทเอกชนที่ทำมีแนวทางการป้องกันไวรัส COVID-19 ให้สวมหน้ากากอนามัย ปรับเปลี่ยนลักษณะการทำงานเลี่ยงการพบปะลูกค้า ตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย ใช้น้ำยาฆ่าเชื้อฉีดพ่นทำความสะอาดภายในบริษัท ติดตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสเพื่อวางแผนประคองกิจการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของบริษัท เป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม และเป็นการเตรียมพร้อมรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ที่อาจเกิดขึ้นในองค์กร
1. พนักงานต้องสวมหน้ากากอนามัยในเวลาทำงาน การต้องพบปะลูกค้า ล้างมือด้วยเจลล้างมือแอลกอฮอล์ และตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายทุกครั้ง
2. มีจุดคัดกรองพนักงานและบุคคลภายนอกที่มาติดต่องาน เพื่อตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายก่อนเข้ามาภายในออฟฟิศ
3. หลีกเลี่ยงการทำงาน หรือเดินทางในสภาพแวดล้อมที่แออัด ที่ก่อเกิดการสุ่มเสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อไวรัส ในการประชุมกับบริษัทคู่ค้าที่อาจเลี่ยงการประชุมไม่ได้ ก็มีการสวมหน้ากากอนามัยตลอดทุกครั้งในการประชุม
4. บริษัทมีการจัดเตรียมสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อดูแลสุขอนามัยให้กับพนักงาน มีการแจกหน้ากากอนามัยให้พนักงาน มีเจลล้างมือแอลกอฮอล์ และเครื่องตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย
5. เจ้าหน้าที่ที่ประสานงานกับสำนักงานประกันสังคม จะมีการรายงานสถานการณ์และสวัสดิการที่จะได้รับจากรัฐให้พนักงานในองค์กรทราบ และบริษัทมีการจัดทำประกันชีวิตไวรัส COVID-19 ให้พนักงาน
6. หากมีความจำเป็นต้องเดินทาง ต้องแจ้งเหตุผล ต้องแจ้งข้อมูลที่เป็นความจริงและต้องได้รับอนุญาตจากบริษัท
7. วางแผนและควบคุมงบประมาณของบริษัท ลดค่าใช้จ่ายบางอย่างที่ลดได้ลง เพื่อนำเงินมาสนับสนุนมาตรการการป้องกันไวรัส COVID-19 ภายในบริษัท
นางสาว อุมาพร สุรวิทย์ รหัสนักศึกษา 62423471001 รุ่น 44
การบ้านวันเสาร์ที่9/5/63 เช้า-บ่าย
1. อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ การเมืองมีหน้าที่กำหนดนโยบาย ควบคุม กำกับ และดูแลให้การนำนโยบายไปปฏิบัติให้บรรลุผลสำเร็จ
การบริหารราชการหรือข้าราชการประจำมีหน้าที่ในการนำนโยบายที่ฝ่ายการเมืองกำหนด
ไปปฏิบัติ
การบริหารเป็นเรื่องของการปฏิบัติตามโยบาย เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายที่นักการเมืองได้กำหนดไว้ การเมืองกับการบริหารจึงเกี่ยวพันกันอย่างมาก เช่น รัฐบาลประกาศภาวะฉุกเฉินทั้งประเทศเพื่อควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส COVID -19 การห้ามเข้าพื้นที่เขตกำหนดตามคำสั่งผู้ว่าราชการจังหวัดต่างๆ ห้ามการชุมนุม ห้ามแพร่เฟคนิวส์ที่ทำให้เกิดความตื่นตระหนกเกี่ยวกับ COVID -19 การสั่งปิดสถานประกอบการ เช่น สถานบริการ สปา สถานศึกษา ห้างสรรพสินค้า ยกเว้นส่วนซูเปอร์มาร์เก็ต กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากคำสั่งปิดสถานประกอบการ แรงงานในระบบ นอกระบบและผู้ประกอบอาชีพอิสระ จะได้รับการเยียวยาจากรัฐอย่างไร มาตรการต่างๆ ตามประกาศของรัฐเพื่อลดการแพร่ระบาดของไวรัส COVID -19 ต้องมีความชัดเจน สามารถรองรับผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในหลายรูปแบบ ประชาชนและผู้ประกอบการจะได้เตรียมตัววางแผนได้
ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง จะเป็นการแยกหน้าที่ออกจากกัน บทบาทหน้าที่ก็มีความแตกต่างกัน แต่กระบวนการทั้งสองมีความสัมพันธ์กัน อย่างใกล้ชิดไม่สามารถแยกจากกันได้ เพราะทั้งสองฝ่ายจะต้อง ทำงานร่วมกันและพึ่งพากันตลอดเวลา เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ บทบาทของฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจำจึงต้องมีการทำงานที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อทำให้ การทำงานเป็นไปโดยราบรื่น
2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหารมีอะไรบ้าง
ตอบ บทบาทข้าราชการฝ่ายการเมืองรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการเมือง
1.การกําหนดนโยบาย โดยปกติการกําหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
1.1 พระราชบัญญัติ ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคําแนะนํา และการยินยอมของรัฐสภา
1.2 พระราชกําหนด ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจ บริหารให้ใช้บังคับ เพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ
1.3 พระราชกฤษฎีกา ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัย อํานาจรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกําหนดเพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่น ดิน ซึ่งพระราชกฤษฎีกา มีศักดิ์ต่ำกว่าพระราชบัญญัติและขัดต่อพระราชบัญญัติไม่ได้
1.4 กฎกระทรวง ซึ่งเป็นกฎที่กระทรวงต่าง ๆ กําหนดขึ้นมาเพื่อให้มีผลบังคับใช้โดยเร็วในการ แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในสังคม
2. การกํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจําว่าเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของนโยบายหรือไม่เพียงใด
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจําระดับสูง (ระดับกรมขึ้นไป) เพื่อให้เป็น หลักประกันว่านโยบายของฝ่ายการเมืองจะได้รับการปฏิบัติจากข้าราชการประจําอย่างเต็มความสามารถ หาก ข้าราชการประจําละเลยไม่นํานโยบายไปปฏิบัติอย่างจริงจัง ฝ่ายการเมืองก็มีอํานาจในการโยกย้ายข้าราชการ
บทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการเมือง
1.การปฏิบัติงานประจํา คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานที่เทียบเท่า โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน เป็นงานที่ทําประจํา ไม่มีกรอบเวลาสิ้นสุด
2. การนํานโยบายไปปฏิบัติ ถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญประการหนึ่งของข้าราชการประจํา ซึ่งมีความยากในการปฏิบัติมากกว่างานประจํา เพราะนโยบาย แผนงาน โครงการนั้นมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
3. การให้ข้อมูลรายละเอียด คําชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมืองในการกําหนด นโยบายหรือการให้ข้อมูลในการแถลงต่อรัฐสภา
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน ของข้าราชการประจํา
5. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากงานประจํา ซึ่งถือว่าเป็นนโยบายครั้งคราว หรือ คําสั่งเฉพาะกิจจากฝ่ายการเมือง
นางสาว อุมาพร สุรวิทย์ รหัสนักศึกษา 62423471001
การบ้านวันที่10/5/63
1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้างโดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
ตอบ กระบวนการของการบริหารของแต่ละองค์กรนั้นมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับว่าองค์กรไหนจะใช้วิธีการใดในการบริหารจัดการกับทรัพยากรภายในองค์กรของตน เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและเพื่อให้บรรลุวัตถุปะสงค์สูงสุดตามที่องค์กรนั้นๆได้วางไว้
ในกระบวนการบริหารจัดการในองค์กรดิฉันนั้นประกอบไปด้วยหลากหลายแนวความคิดทางบริหาร เช่นหลัก POSDC, POLC,POSCORB เป็นต้นซึ่งผู้บริหารองค์กรมีหน้าที่ที่จะเลือกสรรเอาหลักการในการบริหารที่เหมาะสมมาประยุกต์หรือปรับใช้กับองค์กรของตนเพื่อประโยชน์ขององค์กรเอง แต่โดยรวมแล้วหลักการบริหารจะประกอบไปด้วยขั้นตอนเหล่านี้คือ
1. การวางแผน (Planning) หมายถึง กระบวนการในการกำหนดเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ สำหรับช่วงเวลาในอนาคต และวิธีรการให้องค์การบรรลุเป้าหมาย โดยยึดหลักความมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลมากที่สุด
2.การจัดองค์กร (Organizing) หมายถึง ขบวนการของการกำหนดรูปแบบโครงสร้างขององค์กร กฎเกณฑ์ ที่จะใช้ควบคุมทรัพยากรต่างๆ ให้ทำงานร่วมกัน เพื่อบรรลุเป้าหมายขององค์การ โดยจะต้องมีการกำหนดอำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของพนักงานแต่ละคนว่าใครทำอะไร ใช้วิธี และเครื่องมืออะไรบ้าง ในการทำงานตามกฎเกณฑ์เฉพาะที่จะทำให้งานนั้นดำเนินไปได้
3.การจัดคนเข้าทำงาน(Staffing) หมายถึง หน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล โดยเริ่มตั้งแต่ เสาะหา คัดเลือก บรรจุคนที่มีความรู้ ความสามารถเข้าทำงาน พัฒนาฝึกอบรมให้บุคคลกรมีความสามารถมากเพิ่มขึ้นในการทำงาน
4.การสั่งการ(Directing) หมายถึง ความพยายามที่จะทำให้การกระทำต่างๆ ของทุกฝ่ายในองค์กร เป็นไปในทางที่จะส่งเสริมให้เกิดผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
5.การควบคุม(Controlling) หมายถึง การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานต่างๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่และมีข้อบกพร่องอะไรที่จะต้องทำการแก้ไขหรือไม่
6.ภาวะผู้นำในองค์กร( Leading) หมายถึง หน้าที่ทางการบริหารที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมองค์การ การใช้อำนาจหน้าที่ แรงจูงใจ อันจะทำให้บุคลากรขององค์การสามารถทำงานได้บรรลุวัตถุประสงค์ที่องค์การตั้งไว้
กระบวนการริหารในโครงการอาหารกลางวัน1(มหาวิทยาลัยสวนดุสิต)ที่ทำมีแนวทางการป้องกันไวรัส COVID-19 มีมาตรการสั่งปิดมหาลัย โครงการของดิฉันจึงไม่มีการขายอาหาร และมีมาตรการให้พนักงานเปลี่ยนกันหยุดในช่วงที่มหาลัยปิด และมีวิธีการแบบใหม่คือการขายแบบ Delivery มาตรการควบคุมความปลอดภัยของโครงการคือให้พนักงานสวมหน้ากากอนามัย ไม่ให้พรักงานที่เดินทางด้วยรถสาธารณะมาทำงาน ดูแลความสะอาดอย่างเข้มงวด มีการวางแผนการทำงานทุกๆวันตามสถานการณ์ มีการวัดอุณหภูมิของพนักงานก่อนเข้าทำงานทุกครั้ง
งานวันเสาร์ ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2563 (เช้า-บ่าย)
นายณัฐพล พงศ์แพทย์ รุ่น41 รหัสนักศึกษา 61423451204
1.อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ.การเมืองและการบริหาร(Politics & Administration)
ระบบบริหารต้องรองรับภารกิจที่ เกิดจากระบบการเมือง ดังนั้น ในความเป็นจริงแล้ว การบริหารงานของรัฐ ไม่สามารถแยก จากการเมืองได้อย่างเด็ดขาด นักบริหารงานของรัฐไม่สามารถวางตัวเป็นกลางได้
การปกครองบริหาร ประเทศต้องอาศัยบุคลากร 2 ฝ่าย คือ
1. ฝ่ายการเมือง ข้าราชการการเมือง
ฝ่ายการเมือง มีหน้าที่ในการออกกฎหมายกำหนดนโยบายสาธารณะต่าง ๆ กำหนดทิศทางในการบริหารและพัฒนาประเทศว่าจะเป็นไปในทิศทางใดอย่างไร เช่น ต้องการพัฒนาประเทศไทยให้เป็น ศูนย์กลางอาหาร ศูนย์กลางการเกษตรของโลก ศูนย์กลางการบิน -บทบาทหลักของฝ่ายการเมืองคือ การออกกฎหมายและกำหนดนโยบายที่จะนำมาใช้ เป็นกรอบทิศทางของการบริหารประเทศ
2. ฝ่ายบริหารงานประจำ ข้าราชการประจำ
- ฝ่ายบริหาร มีหน้าที่นำเอานโยบายออกไปปฏิบัติให้บรรลุผลตามเป้าหมายบุคคลที่ได้รับการบรรจุแต่งตั้งตาม กฎหมาย และระบบคุณธรรม พ.ร.บ. ระเบียบราชการพลเมือง ทหาร ตำรวจ ตุลาการฯลฯและได้รับเงินเดือน จากงบประมาณหมวดเงินเดือนใน กระทรวง ทบวง กรม ต่าง ๆ ได้แก่ ข้าราชการประจำ ตั้งแต่ระดับ ปลัดกระทรวง อธิบดี ลงมา และผู้ที่เป็น พนักงานในองค์การของรัฐประเภทอื่น ๆ เช่น รัฐวิสาหกิจ

ความสัมพันธ์ที่เหมาะสมระหว่างฝ่ายการเมือง และฝ่ายบริหารหาร ควรอยู่ในระดับใด้จึงทำให้ทั้งสองฝ่ายสามารถทำงานร่วมกันได้อย่างดีเพื่อให้ทั้ง 2 ฝ่าย สามารถร่วมมือกันในการปกครอง บริหารประเทศเพื่อผลประโยชน์สาธารณะได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผลสูงสุดเมื่อฝ่ายการเมืองได้รับข้อมูลที่มากพอ ตรงกับข้อเท็จจริงแล้ว ก็จะมีแนวทางในการดำเนินการได้ 2 แนวทางคือ
1 รับเรื่องและข้อมูลต่าง ๆ มาแล้ว ฝ่ายการเมืองทำหน้าที่เป็นผู้กำหนด นโยบาย แล้วตัดสินใจ สั่งการให้ข้าราชการประจำรับไปปฏิบัติจัดทำต่อไป
2 รับเรื่องมาแล้วมอบหมายให้ข้าราชการประจำที่เกี่ยวข้อง ไปพิจารณาแล้วเสนอแนวทางการดำเนินการลงมาให้ฝ่ายการเมืองพิจารณาตัดสินใจ ดังนั้นการตัดสินใจในนโยบายไม่ใช่อยู่ที่ฝ่ายการเมืองเท่านั้น แต่ ข้าราชการประจำก็สามารถเข้าไปมีบทบาทในการกำหนดนโยบายร่วมกับ ฝ่ายการเมืองได้ด้วย
านวันเสาร์ ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2563 (เช้า-บ่าย)
นายณัฐพล พงศ์แพทย์ รุ่น41 รหัสนักศึกษา 61423451204
2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำ รวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง
ตอบ.บทบาทของฝ่ายการเมือง กำหนดนโยบายสาธารณะสนับสนุนทรัพยากรให้เหมาะสมเพียงพอกำกับ ควบคุม ตรวจสอบการ ดำเนินการโยบาย
1) ทำหน้าที่ในการในการกำหนดนโยบาย โดยให้ทิศทางกว้าง ๆ ไว้เป็นแนวทางการปฏิบัติ
2) จัดทรัพยากรสนับสนุนให้เพียงพอ เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้
3) จัดให้มีการประเมินผลการทำงานเพื่อหาข้อบกพร่องและนําไปแก้ไข ไม่ควรเข้าไปก้าวก่ายในภาคปฏิบัติ
4) ใช้อำนาจอย่างมีวุฒิภาวะ มีศีลธรรม เช่น การแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการระดับสูง
บทบาทของฝ่ายบริหารราชการ ประจำนำนโยบายไปปฏิบัติ จัดทำให้บรรลุผล ร่วมกำหนดนโยบายสาธารณะ สร้างหลักการบริหารที่มีประสิทธิภาพ
1) สนองนโยบายทฝ่ายการเมืองมอบหมายอย่างเหมาะสม คำนึงถึงความถูกต้อง
2) ประพฤติปฏิบัติอย่างมศักดิ์ศรี ให้เป็น แบบอย่างที่ดีแก่ข้าราชการในบังคับบัญชา เพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ถูกต้อง เหมาะสม คิดถึงประโยชน์ ของชาติเป็นหลัก คิดถึงประโยชน์ส่วนตนให้น้อยลง
3)วางตัวให้เหมาะสม มีสัมมาคารวะกับฝ่าย การเมือง ไม่ทำตัวเป็นปฏิปักษ์

สภาพแวดล้อมทางการบริหารสภาพของปัจจัยต่าง ๆ ที่อยู่ภายในองค์การของรัฐและสามารถ ส่งอิทธิพลมายังภายในของระบบการบริหารองค์การ อันมีผลต่อประสิทธิภาพและความสำเร็จของ การบริหารงานของรัฐ
ตัวอย่างในสถานการณ์ในปัจจุบัน นโยบายที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ที่มี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และ รมว.กลาโหม เป็นประธาน มีมติเห็นชอบให้ประกาศใช้พระราชกำหนด (พ.ร.ก.) การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือโควิด-19 โดยเบื้องต้นบังคับใช้เป็นเวลา 1 เดือน ตั้งแต่วันที่ 26 มี.ค.นายกรัฐมนตรีบอกด้วยว่า หลังจากนี้จะมีการออก "ข้อกำหนด" ตามอำนาจ พ.ร.ก. ฉุกเฉินต่อไป ซึ่งในระยะแรก จะมุ่งลดการแพร่ระบาดในพื้นที่ต่าง ๆ ส่วนการปิด-เปิดอะไร เป็นมาตรการในระยะต่อไป ขึ้นกับความร่วมมือของประชาชนด้วย เพราะไม่ได้อยากให้ใครเดือดร้อน
ทางการไทยออกมาเปิดเผยต่อสาธารณะเป็นครั้งแรกเมื่อ 71 วันก่อน หรือเมื่อวันที่ 13 ม.ค. 2563 ว่าพบผู้ติดโควิดรายแรกในประเทศไทย เป็นนักท่องเที่ยวหญิงชาวจีนวัย 61 ปี ซึ่งเดินทางมาจากเมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน ถึงไทยเมื่อวันที่ 3 ม.ค.
แม้ พล.อ.ประยุทธ์ ระบุระหว่างการแถลงข่าวว่าการปิด-เปิดอะไรยังไม่อยากทำ เพราะไม่ต้องการให้ประชาชนเดือดร้อน ทว่าตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ตามมาตรา 9 ได้ให้อำนาจนายกฯ ออกข้อกําหนด ไว้ 6 ประเด็น ดังนี้
 ห้ามมิให้บุคคลออกนอกเคหสถาน (เคอร์ฟิว) ภายในระยะเวลาที่กำหนด เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือเป็นบุคคลซึ่งได้รับยกเว้น
 ห้ามมิให้มีการชุมนุมมั่วสุมกัน หรือกระทำการใดอันเป็นการยุยงให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อย
 ห้ามการเสนอข่าว หรือข้อความอันอาจทำให้ประชาชนเกิดความหวาดกลัว หรือเจตนาบิดเบือนข้อมูลข่าวสารทำให้เกิดความเข้าใจผิดในสถานการณ์ฉุกเฉิน
 ห้ามการใช้เส้นทางคมนาคม หรือยานพาหนะ หรือกำหนดเงื่อนไขการใช้เส้นทางคมนาคมหรือการใช้ยานพาหนะ
 ห้ามการใช้อาคาร หรือเข้าไปหรืออยู่ในสถานที่ใด ๆ
 ให้อพยพประชาชนออกจากพื้นที่ที่กำหนดเพื่อความปลอดภัย
หากผู้ใดฝ่าฝืน ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ตามมาตรา 18 ของ พ.ร.ก. ฉบับนี้

งานวันอาทิตย์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2563 (เช้า-บ่าย)
นายณัฐพล พงศ์แพทย์ รุ่น41 รหัสนักศึกษา 61423451204
1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้างโดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
ตอบ.กระบวนการบริหารตามหลัก POSDCoRB
1.การวางแผน (Planning) คือการกำหนดเป้าหมายขององค์กรว่า ต้องทำงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์อะไร และจะดำเนินการอย่างไร
2.การจัดองค์การ (Organization) คือการจัดตั้งโครงสร้างองค์กรให้ชัดเจนกำหนดอำนาจหน้าที่รับผิดชอบอย่างเป็นทางการภายในองค์การเพื่อประสานงานหน่วยทำงานให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.การบริหารงานบุคคล (Staffing) คือฝ่ายบริหารต้องตัดสินใจอยู่ตลอดเวลาว่าจะดูแลควบคุมจัดสรรคนอย่างไรให้เหมาะสมกับงานและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.การอำนวยการ (Directing) คือการตัดสินใจและสั่งการการควบคุมงานการติดตามผลนิเทศก์งาน และศิลปะในการบริหารงาน
5.การประสานงาน (Coordinating) คือการร่วมมือประสานงานเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและราบรื่นคือหัวใจของการบริหาร
6. การรายงาน (Reporting) คือการรายงานความเคลื่อนไหวต่าง ๆ ในองค์การให้ทุกฝ่ายทราบรวมถึงงานประชาสัมพันธ์ (Public Relation) ด้วย
7.การงบประมาณ (Budgeting) คืองบประมาณในรูปของการวางแผนและการควบคุมด้านการเงินการบัญชี
POSDCORB ใช้เพื่อสร้างกลไกและโครงสร้างให้กับองค์กรจัดเตรียมบุคลากรที่มีความชำนาญต่างกันให้อยู่ในแผนกที่เหมาะสมกับองค์กรบุคลากรรู้หน้าที่และผู้บริหารสามารถบริหารสั่งการได้อย่างมีประสิทธิภาพ กำหนดแผนวางกรอบการทำงานให้องค์กรใช้เป็นแนวทางในการบริหารส่งเสริมการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกันภายในองค์กร
นางสาววนิดา ปัญชาติ. รหัสนักศึกษา 62423471014 รุ่น44
การบ้านวันเสาร์ที่ 9/5/63 (เช้า-บ่าย)
1.อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง?
ตอบ แนวคิดการเมือง: แนวคิดทางการเมืองมีดังนี้
1. เป็นแนวคิดที่มองว่าการเมืองเป็นเรื่องของอำนาจ โดยเป็นการต่อสู้กันเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจและอิทธิพลในการบริหารกิจการบ้านเมือง
การเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องการต่อสู่แย่งชิงกันของกลุ่มผลประโยชน์ (Interest Group) ที่ดำเนินกิจกรรมทางการเมืองต่าง ๆ ในอันที่จะแย่งชิงกันเข้าสู่อำนาจการบริหารประเทศ
2. การเมืองเป็นเรื่องของการจัดสรรทรัพยากรของรัฐหรือสิ่งที่มีคุณค่าทางสังคม เป็นการใช้อำนาจหน้าที่ในการจัดสรรแจกแจงสิ่งที่มีคุณค่าต่าง ๆ ให้กับสังคมอย่างชอบธรรม
3. การเมืองเป็นเรื่องของความขัดแย้ง ทั้งนี้เนื่องจากทรัพยากรของชาติที่มีอยู่อย่างจำกัด ขณะที่ผู้คนซึ่งต้องการใช้ทรัพยากรนั้นมีอยู่มากและความต้องการใช้ไม่มีขีดจำกัด การเมืองจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการที่คนในสังคมไม่อาจตกลงกันได้หรือเกิดมีความขัดแย้งขึ้น
4. การเมืองเป็นเรื่องของการประนีประนอมผลประโยชน์ เพื่อหลีกเลี่ยงมิให้เกิดความขัดแย้งจากการดำเนินงานทางการเมืองที่ไม่มีทางออก
5. การเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับรัฐและการบริหารประเทศในกิจกรรมหลัก 3 ด้านคือ งานที่เกี่ยวกับรัฐ การบริหารประเทศในส่วนที่เกี่ยวกับนโยบาย และการอำนวยการบริหารราชการแผ่นดินซึ่งเป็นการควบคุมให้มีการดำเนินงานตามนโยบาย
6. การเมืองเป็นเรื่องของการกำหนดนโยบายของรัฐ กล่าวคือ การเมืองคือกิจกรรมใดใดที่เกี่ยวกับการกำหนดนโยบาย หน่วยงานและเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการกำหนดนโยบาย โดยนัยหนึ่ง การเมืองก็คือกระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐ

แนวคิดการบริหาร : แนวคิดการบริหารเป็นเรื่องของการนำนโยบายของรัฐเฉพาะของฝ่ายบริหารไปปฏิบัติให้เกิด ประโยชน์ต่อประชาชนตามวัตถุประสงค์ของนโยบาย

ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง: จากแนวคิดข้างต้นที่อธิบายแล้วว่า การเมืองเป็นเรื่องของการกำหนดนโยบายของรัฐ ส่วนการบริหารเป็นเรื่องเกี่ยวกับการนำนโยบายไปปฏิบัติเพื่อให้ตอบสนองต่อนโยบายของการเมือง ซึ่งเมื่อมีฝ่ายการเมืองซึ่งเป็นผู้กำหนดนโยบาย จึงจำเป็นต้องมีฝ่ายบริหารเพื่อนำนโยบายนั้นไปปฏิบัติให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์ของนโยบายนั่นเอง

2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหารมีอะไรบ้าง?
ตอบ. -บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมือง
1.ข้าราชการฝ่ายการเมือง มีหน้าที่กำหนดนโยบาย เพื่อตอบสนองความต้องการและปัญหาต่างๆและปัญหาต่างๆที่ประชาชนเผชิญอยู่ โดยการกำหนดนโยบายนั้นมีหลายรูปแบบ อาทิ
- พระราชบัญญัติ
- พระราชกำหนด
- พระราชกฤษฎีกา
- กฎกระทรวง เป็นต้น
2. ข้าราชการฝ่ายการเมือง มีหน้าที่ กำกับ ควบคุม ดูแล และติดตามผลการนำนโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจำว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของนโยบายหรือไม่

-บทบาทของข้าราชการประจำ
1.การนำนโยบายไปปฏิบัติถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สำคัญประการหนึ่งของข้าราชการประจำ
2.การปฏิบัติงานประจำ คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน
3.การให้ข้อมูลรายละเอียด คำชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมือง
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน

-สภาพแวดล้อมทางการบริหาร
สภาพแวดล้อมทางการบริหารเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ “การบริหารงานภายนอก” หรือต้องเกี่ยวข้องกับปัจจัยภายนอกองค์การ เพื่อโน้มน้าวให้หน่วยงานและบุคคลหันมาสนับสนุนนโยบาย
และให้ความร่วมมือในการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายของการบริหาร ยกตัวอย่างสถานการณ์ในปัจจุบันที่เห็นได้ชัดเจน เช่น มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดโรค Covid – 19 โดยให้หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารจำเป็นต้องเข้าไปมีปฏิบัติมาตรการเกี่ยวกับโรค Covid – 19 และให้ข้อมูลความรู้ในลักษณะการติดต่อ และการป้องโรคฯ
กับประชาชนเพื่อไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดโรค Covid – 19 ดังนั้น หน่วยงานเหล่านี้จะเป็นการปฏิบัตินโยบายเป็นหลักเพื่อให้องค์การอื่นๆ และประชาชนหันมาปฏิบัติ และป้องกันโรคฯ ตามนโยบายที่ทางรัฐกำหนดขึ้น
นางสาววนิดา ปัญชาติ. รหัสนักศึกษา 62423471014 รุ่น44
การบ้านวันอาทิตย์ที่ 10/5/63 (เช้า-บ่าย)

1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้างโดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย?
ตอบ กระบวนการบริหาร หรือ POSDCoRB” มีหน้าที่ที่สำคัญของนักบริหาร 7 ประการ คือ
1. Planning การวางแผน = เป็นการวางเค้าโครงกิจกรรมซึ่งเป็นการเตรียมการก่อนลงมือปฏิบัติ เพื่อให้การดำเนินการสามารถบรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. Organizing การจัดองค์การ = เป็นการกำหนดโครงสร้างขององค์การ โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับงาน เช่น การแบ่งงาน เป็นกรม กอง หรือแผนก โดยอาศัยปริมาณงาน คุณภาพงาน หรือจัดตามลักษณะเฉพาะของงาน
3. Staffing การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน = เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การนั่นเอง ทั้งนี้เพื่อให้บุคลากรมาปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับการจัด แบ่งหน่วยงานที่กำหนดไว้
4. Directing การอำนวยการ = ภารกิจในการใช้ศิลปะในการบริหารงาน เช่น ภาวะผู้นำ มนุษย์สัมพันธ์ การจูงใจ และการตัดสินใจ เป็นต้น
5. Coordinating การประสานงาน = เป็นการประสานให้ส่วนต่าง ๆ ของกระบวนการทำงานมีความต่อเนื่องกัน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และราบรื่น
6. Reporting การรายงาน = เป็นกระบวนการและเทคนิคของการแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาตามชั้นได้ทราบถึงผลการปฏิบัติงาน
7. Budgeting การงบประมาณ = เป็นภารกิจที่เกี่ยวกับการวางแผนการทำบัญชีการควบคุมเกี่ยวกับการเงินและการคลัง

แนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานของข้าพเจ้า คือ หน่วยงานของข้าพเจ้าเป็นหน่วยงานของรัฐ เน้นในการบริหารงานเกี่ยวกับการจัดอัตรากำลังคนให้เพียงพอในหน่วยงาน มีรายละเอียดดังนี้
1. การวางแผน = การวางแผนการจัดอัตรากำลังคนนั้น จะมีการกำหนดจำนวนคนไว้ก่อนว่า ตำแหน่งหน้าที่แต่ละที่ต้องมีกี่คน ถึงจะเพียงพอกับงาน
2. การจัดองค์การ = ในการจัดอัตราคนในหน่วยงาน ก็จะต้องแบ่งออกเป็นฝ่ายๆ แบ่งออกเป็นแต่ละประเภท เพื่อในการจำอัตรากำลังอจะได้รวดเร็ว เพียงพอ และมีประสิทธิภาพ
3. การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน = ในการจัดบุคลากรเข้าปฏิบัติงาน ต้องดูตามความสามารถเหมาะสมในตำแหน่ง ว่ามีมากน้อยเพียง ตรวจสอบข้อมูล เพื่อจะได้วางตำแหน่งงานให้ตรงกับบุคคล
4. การอำนวยการ = ในหน่วยงานจัดหาอัตรากำลังคนนั้นหลักการอำนวยการ จะมีการสร้างแรงจูงใจในการทำงาน
5. การประสานงาน = แต่ละฝ่ายจะมีการประสานงานกันไม่ว่าจะเป็นฝ่ายจัดหา ฝ่ายงบประมาณ เพื่อให้การปฏิบัติงานสำเร็จตามแผนงาน
6. การรายงาน = เมื่อตำแหน่งต่างๆมีอัตรากำลังคนเพียงพอ หัวหน้าตำแหน่งจะต้องรายงานให้ผู้บังคับบัญชาสูงสุดทราบ
7.การงบประมาณ= ในหน่วยงาน จะมีฝ่ายที่ดูแลการเงินค่าใช้จ่าย ให้เหมาะสมและเพรยงพอต่อบุคลากร โดยเริ่มตั้งแต่การวางแผนในการรับคนมาอยู่แล้ว ว่าต้องใช้งบประเท่าไร ในการที่รับคนเพิ่ม ซึ่งต้องจัดสรรให้เพียงพอ
Unknown said…
นางสาวฐานิดา จันทร์ธิ รหัส 62423471006 รุ่น 44
การบ้านวันเสาร์ที่ 9/5/63 (เช้า-บ่าย)
1. อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ แนวคิดทางการเมืองเป็นเครื่องมือของนักปราชญ์ทีืจะใช้แบ่งแยกมนุษย์ออกเป็นกลุ่มเพื่อง่ายและสะดวกต่อการควบคุมดูแลโดยมนุษย์สังคมได้เลือกกลุ่มสังคมที่จะสังกัดได้ตามต้องการ ดังนั้นลัทธิการเมืองมีดังนี้
1.เป็นความคิดหรือความเชื่อของบุคคลในรัฐ
2.เป็นรูปแบบทางการเมืองการปกครองที่ดีเลิศ คือเป็นเรื่องของขอบเขต ที่มา และที่ตั้งของอำนาจแห่งรัฐ
3.มีที่มาจากปรัชญาทางการเมืองล
4.มีระเบียบแบบแผนที่แน่นอน

แนวคิดการบริหาร: แนวคิดการบริหาร คือ กระบวนการทำงานเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง: ความสัมพันธ์ในบทบาทหน้าที่ของกันและกันโดยบางครั้งมีการแทรกแซงทางการเมืองกระบวนการความสัมพันธ์ทั้งสองมีความสัมพันธ์กันเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพให้ฝ่ายการเมืองกำหนดนโยบายให้เป็นไปตามทิศทางที่ตนหรือองค์การต้องการ


2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง
ตอบ 1) พระราชบัญญัติ 2)พระราชกำหนด 3)พระราชกฤษฎีกา 4)กฏกระทรวง

ข้าราชการฝ่ายการเมือง มีหน้าที่ กำกับ ควบคุม ดูแล และติดตามผลการนำนโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจำว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของนโยบายหรือไม่

-บทบาทของข้าราชการประจำ
1.การนำนโยบายไปปฏิบัติถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สำคัญประการหนึ่งของข้าราชการประจำ
2.การปฏิบัติงานประจำ คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน
3.การให้ข้อมูลรายละเอียด คำชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมือง
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน

-สภาพแวดล้อมทางการบริหาร
สภาพแวดล้อมทางการบริหารเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ “การบริหารงานภายนอก” หรือต้องเกี่ยวข้องกับปัจจัยภายนอกองค์การ เพื่อโน้มน้าวให้หน่วยงานและบุคคลหันมาสนับสนุนนโยบาย
และให้ความร่วมมือในการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายของการบริหาร ยกตัวอย่างสถานการณ์ในปัจจุบันที่เห็นได้ชัดเจน เช่น มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดโรค Covid – 19 โดยให้หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารจำเป็นต้องเข้าไปมีปฏิบัติมาตรการเกี่ยวกับโรค Covid – 19 และให้ข้อมูลความรู้ในลักษณะการติดต่อ และการป้องโรคฯ
กับประชาชนเพื่อไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดโรค Covid – 19 ดังนั้น หน่วยงานเหล่านี้จะเป็นการปฏิบัตินโยบายเป็นหลักเพื่อให้องค์การอื่นๆ และประชาชนหันมาปฏิบัติ และป้องกันโรคฯ ตามนโยบายที่ทางรัฐกำหนดขึ้น





Unknown said…
นางสาวฐานิดา จันทร์ธิ รหัส 62423471006 รุ่น44
การบ้านวันอาทิตย์ที่ 10/5/63 เช้า-บ่าย

1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานมาอธิบาย
ตอบ กระบวนการของการบริหารของแต่ละองค์กรนั้นมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับว่าองค์กรไหนจะใช้วิธีการใดในการบริหารจัดการกับทรัพยากรภายในองค์กรของตน เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์สูงสุดตามที่องค์กรนั้นๆได้วางไว้ในกระบวนการบริหารจัดองค์กรโดยรวมแล้วหลักการบริหารประกอบไปด้วยขั้นตอนดังนี้ คือ
1.การวางแผน(Planning)หมายถึงกระบวนการในการกำหนดเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์สำหรับช่วงเวลาในอนาคตและวิธีการให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย โดยยึดหลักความมีประสิทธืภาพ ประสิทธิผลมากที่สุด
2.การจัดองค์กร(Organzing)หมายถึงขบวนการของการกำหนดรูปแบบโครงสร้างขององค์กร กฏเกณฑ์ ที่จะใช้ควบคุมทัพยากรต่างๆ ให้ทำงานร่วมกันเพื่อบรรลุเป้าหมายขององค์การ
3.การจัดคนเข้าทำงาน(Staffing)หมายถึงหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล โดยเริ่มตั้งแต่ เสาะหา คัดเลือก บรรจุคนที่มีความรู้ ความสามารถ เข้าทำงานพัฒนาฝึกอบรมให้บุคคลกรมีความสามารถมากเพิ่มขึ้นในการทำงาน
4.การสั่งการ(Directing)หมายถึงความพยายามที่จะทำให้การกระทำต่างๆ ของทุกฝ่ายในองค์กรเป็นไปในทางที่จะส่งเสริมให้เกิดผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
5.การควบคุม(Controlling) หมายถึง การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานต่างๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่และมีข้อบกพร่องอะไรที่จะต้องทำการแก้ไขหรือไม่
6.ภาวะผู้นำในองค์กร(Leading) หมายถึง หน้าที่ทางการบริหารที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมองค์การ การใช้อำนาจหน้าที่ แรงจูงใจ อันจะทำให้บุคลากรขององค์การสามารถทำงานได้บรรลุวัตถุประสงค์ที่องค์การตั้งไว้
นางสาววาสนา ปราบบำรุง รหัสนักศึกษา 62423471010 รุ่นที่ 44 งานวันเสาร์ที่ 9/05/63
1.อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ .ตอบแนวความคิดทางการเมือง
แนวความคิดทางการเมืองหรือลัทธิการเมือง (Political Ideology) เป็นเครื่องมือของนักปราชญ์ที่จะใช้แบ่งแยกมนุษย์ออกเป็นกลุ่มเพื่อง่ายและสะดวกต่อการควบคุมดูแลโดยมนุษย์ในสังคมได้เลือกกลุ่มสังคมที่จะสังกัดได้ตามต้องการ ดังนั้นลัทธิการเมืองจึงมีลักษณะที่สำคัญดังนี้
1. เป็นความคิดหรือความเชื่อของบุคคลในรัฐ
2. เป็นรูปแบบทางการเมืองการปกครองที่ดีเลิศ คือเป็นเรื่องของขอบเขต ที่มา และที่ตั้งของอำนาจแห่งรัฐ
3. มีที่มาจากปรัชญาทางการเมือง
4. มีระเบียบแบบแผนที่แน่นอน
แนวคิดเกี่ยวกับการบริหาร
ในการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์กรนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการบริหารเพื่อบริหาร
จัดการองค์กรเพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
1. การแบ่งงานกันทำ (Division of Work) เป็นการแบ่งงานกันทำตามความชำนาญเฉพาะ
ด้านเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ
2. อ านาจสั่งการ (Authority) เป็นอำนาจสั่งการซึ่งเป็นอำนาจอันชอบธรรมของบรรดาผู้ที่มีตำ แหน่งเพื่อสามารถที่จะออกคำสั่งในการทำงานได้โดยผู้ออกคำสั่งต้องมีความรับผิดชอบต่อคำสั่งในการทำงานได้
3. ระเบียบวินัย (Discipline) เป็นระเบียบวินัยที่คนในองค์การต้องเคารพและยอมรับเพื่อสร้างสถานภาพงานที่เป็นระเบียบและเรียบร้อย
4. หลักการ“สั่งการโดยคน ๆ เดียว” (Unity of Command) เป็นหลักการ ซึ่งคุ้นเคยในชื่อของหลัก“เอกภาพในการบังคับบัญชา” ลูกน้องจะต้องฟังค าสั่งจากผู้บังคับบัญชาโดยตรง รวมถึงการรายงานผลการปฏิบัติงานก็จะต้องรายงานกับผู้บังคับบัญชาโดยตรง
5. การมีทิศทาง (Unity of Direction) คือการมีทิศทาง หรือเป้าหมายเดียวกัน โดยแต่ละกลุ่มงานย่อย(กอง, แผนก, ฝ่าย) ในองค์การที่มีกิจกรรมแตกย่อยออกมา
6. ประโยชน์ส่วนรวม (Subordination of Interests to the General Interests) เป็นประโยชน์ส่วนรวมเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน
7. หลักการตอบแทน (Rmuneration) เป็นหลักการตอบแทนการท างาน ซึ่งถือเป็นแนวทาง
ที่คนงานจะต้องได้รับค่าตอบแทนที่ยุติธรรม
8. หลักการรวมอำนาจ(Centralizaon) เป็นหลักการรวมอำนาจ หมายถึง ระดับมากน้อย
ที่ผู้ใต้บังคับบัญชาสามารถตัดสินใจในแต่ละสถานการณ์ซึ่ง ฟาโย(Fayol) เห็นว่าการใช้อำนาจหน้าที่ในการตัดสินใจควรกระทำที่สายการบังคับบัญชาระดับสูงที่สุดที่เป็นไปได้ใสถานการณ์นั้น ๆ
9. การมีสายการบังคับบัญชา (Scalar Chain) เป็นการมีสายการบังคับบัญชา ซึ่งเป็นเสมือนห่วงโซ่หรือเส้นทางของค าสั่งและติดต่อสื่อสารใด ๆ ระหว่างหัวหน้ากับลูกน้องในแต่ละสายงานภายใต้โครงสร้างของแต่ละองค์การ
10. การจัดระเบียบ (Order) เป็นการจัดระเบียบหรือการจัดให้คนตลอดจนวัตถุสิ่งของได้อยู่ในที่ที่ควรอยู่นั่นคือ ใช้คนให้เหมาะกับงาน จัดสถานที่ท างานให้เป็นระเบียบ และมีระเบียบเกี่ยวกับงานพัสดุ
11. ความเที่ยงธรรม (Equity) เป็นความเที่ยงธรรมที่ฟาโย(Fayol) กล่าวถึงหลัก ข้อนี้ว่านักบริหารควรมีทั้งความยุติธรรม (Justice) และความโอบอ้อมอารี(kindliness)
12. หลักความมั่นคงในต าแหน่งงานของบุคคลกร (Stability of Tenure of PersonnalFayo) เป็นหลักความมั่นคงในต าแหน่งงานของบุคคลกร เป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนบุคลากรพัฒนานักบริหาร
13. ความคิดริเริ่ม (Initiative) เป็นความคิดริเริ่ม หมายถึง พลังที่จะคิดให้เกิดแผนงานแล้วทำต่อไปจนสำเร็จจะเกิดได้ต่อเมื่อผู้ปฏิบัติงานได้รับการจูงใจและมีความพึงพอใจในงาน
14. สามัคคีคือพลัง (Esprit De corps) เป็นภาษิตที่ว่า สามัคคีคือพลัง หมายถึงการเสริมสร้างการท างานเป็นทีมอันจะท าให้เกิดความกลมเกลียวและเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันใน
ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับการบริหารจึงสามารถมองได้ว่าเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมาย (ends) กับวิธีการ (means) กล่าวคือ การเมืองเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจรัฐเพื่อการแบ่งสรรคุณค่าที่มีอยู่ในสังคมซึ่งในการแบ่งสรรคุณค่าที่มีอยู่อย่างจำกัดแต่ความต้องการของประชาชนในสังคมนั้นมีอยู่มากมายหลากหลายและมีอยู่อย่างไม่จำกัด ดังนั้นผู้ที่ใช้อำนาจรัฐจึงต้องกำหนดเป้าหมายของรัฐและใช้เป้าหมายนั้นเป็นหลักเกณฑ์ในการดำเนินนโยบายด้านต่างๆ
นา่งสาววาสนา ปราบบำรุง รหัสนักศึกษา 62423471010 รุ่นที่ 44 งานวันเสาร์ที่ 9/05/63
2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหารมีอะไรบ้าง
ตอบ บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมืองที่สําคัญสรุปได้ดังนี้
1. การกําหนดนโยบาย โดยปกติการกําหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
- พระราชบัญญัติซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคําแนะนําและการยินยอมของรัฐสภา
- พระราชกําหนด ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจบริหารให้ใช้บังคับ เพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจการป้องกันภัยพิบัติสาธารณะ
- พระราชกฤษฎีกา ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัย
อํานาจรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติหรือพระราชกําหนดเพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินซึ่งพระราชกฤษฎีกามีศักดิ์ต่ํากว่าพระราชบัญญัติและขัดต่อพระราชบัญญัติไม่ได้
-กฎกระทรวง ซึ่งเป็นกฎที่กระทรวงต่าง ๆ กําหนดขึ้นมาเพื่อให้มีผลบังคับใช้โดยเร็วในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในสังคม
2. การกํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจําว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของนโยบายหรือไม่เพียงใด ซึ่งโดยปกติรัฐมนตรีว่าการและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงจะเป็นผู้กํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของหน่วยงานที่ตนรับผิดชอบ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของนโยบาย
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจําระดับสูง (ระดับกรมขึ้นไป) เพื่อให้เป็นหลักประกันว่านโยบายของฝ่ายการเมืองจะได้รับการปฏิบัติจากข้าราชการประจําอย่างเต็มความสามารถ หากข้าราชการประจําละเลยไม่นํานโยบายไปปฏิบัติอย่างจริงจัง ฝ่ายการเมืองก็มีอํานาจในการโยกย้ายข้าราชการดังกล่าวได้จากเหตุผลว่าย้ายเพื่อความเหมาะสมและเพื่อให้นโยบายบรรลุผลสําเร็จ ส่วนการแต่งตั้งข้าราชการระดับล่างนั้นเป็นเรื่องของข้าราชการประจํา
บทบาทหน้าที่หลักของข้าราชการประจํา
ข้าราชการประจําทุกหน่วยงานของรัฐโดยปกติจะมีบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญ สรุปได้ดังนี้
1. การปฏิบัติงานประจํา คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานที่เทียบเท่าโดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน เป็นงานที่ทําประจําไม่มีกรอบเวลาสิ้นสุดเช่น งานธุรการ งานการเงิน งานบุคลากร งานป้องกันปราบปราม งานบริการต่างๆเป็นต้น
2. การนํานโยบายไปปฏิบัติถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญประการหนึ่งของข้าราชการประจําซึ่งมีความยากในการปฏิบัติมากกว่างานประจํา เพราะนโยบาย แผนงาน โครงการนั้นมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนและมีกรอบเวลาในการปฏิบัติและต้องอาศัยปัจจัยต่าง ๆ สนับสนุนจํานวนมาก ดังนั้น นโยบายที่นําไปปฏิบัติจะสําเร็จมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติงานของข้าราชการประจํา
3. การให้ข้อมูลรายละเอียด คําชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมืองในการกําหนดนโยบายหรือการให้ข้อมูลในการแถลงต่อรัฐสภา โดยเฉพาะเป็นรายละเอียดระดับปฏิบัติมิใช่ระดับนโยบายเพราะข้าราชการประจํารู้รายละเอียดในเรื่องต่าง ๆ ได้ดีกว่าฝ่ายการเมือง เช่น ในการเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีกระทรวงใดกระทรวงหนึ่ง เกี่ยวกับความบกพร่องในการนํานโยบายไปปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างวัสดุครุภัณฑ์ที่ผิดมาตรฐาน หรือการปฏิบัติงานที่ขาดประสิทธิภาพ ทําให้ประชาชนไม่ได้รับประโยชน์เท่าที่ควร รัฐมนตรีกระทรวงนั้น ๆ จะต้องขอคําปรึกษาและขอข้อมูลรายละเอียดจากข้าราชการประจําเพื่อนําไปชี้แจงในรัฐสภา
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบันของข้าราชการประจํา โดยเฉพาะเสนอแนะข้อคิดเห็นที่เป็นเชิงวิชาการหรือแนวทางแก้ไขปัญหาที่เป็นรูปธรรมแก่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีเพราะรัฐมนตรีบางกระทรวงอาจไม่มีความรู้ในเชิงเทคนิคเกี่ยวกับงานในกระทรวงนั้น จึงจําเป็นต้องอาศัยความคิดริเริ่มใหม่ ๆ จากข้าราชการระดับสูง (อธิบดีหรือปลัดกระทรวง)เช่น งานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีงานด้านการแพทย์งานด้านกฎหมาย เป็นต้น
5. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากงานประจํา ซึ่งถือว่าเป็นนโยบายครั้งคราว หรือคําสั่งเฉพาะกิจจากฝ่ายการเมือง ลักษณะงานดังกล่าวจะไม่มีแผนกําหนดไว้ล่วงหน้า แต่จะเป็นคําสั่งเฉพาะกิจเป็นเรื่อง ๆ ไป โดยปกติจะมีงบประมาณมาให้ซึ่งจะทําให้หน่วยงานระดับล่างมีงานเพิ่มเติมนอกกรอบนโยบายและแผนที่กําหนดไว้เดิม
สภาพแวดล้อมทางการบริหารสิ่งแวดล้อมของการบริหารหรือสภาพแวดล้อมของการบริหาร (The environment of public administration) หมายถึง สภาพของปัจจัยต่างๆ ที่อยู่ภายในองค์การของรัฐและสามารถส่งอิทธิพลมายังภายในของระบบการบริหารองค์การ อันมีผลต่อประสิทธิภาพและความสำเร็จของการบริหารงานของรัฐในปัจจุบัน
นางสาววาสนา ปราบบำรุง รหัสนักศึกษา 62423471010 รุ่นที่ 44 งานวันอาทิตย์ที่ 10/05/63
3.กระบวนการการบริหารมีอะไรบ้างโดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
ตอบ แนวคิดของ POSDCORB เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพสหรัฐ ได้รวบรวมนักวิชาการเพื่อประเมินข้อผิดพลาดในการบริหารจัดการในกองทัพที่ผ่านมา เพื่อใช้ปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ในปี ค.ศ. 1937 ลูเธอร์ กูลิค (Luther Gulick) และ ลินดัล เออร์วิหค์ เสนอแนวคิดภาระหน้าที่ที่สำคัญของนักบริหารโดยสรุปเป็นแนวคิด บทบาทหน้าที่ของผู้บริหาร 7 ประการหรือ POSDCORB ที่ใช้เป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับผู้บริหาร ประกอบด้วย
1.Planning การวางแผน คือ การกำหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์กรว่าจะดำเนินการไปได้อย่างไร และวิธีการปฏิบัติที่จะทำให้บรรลุเป้าหมายนั้นต้องดำเนินการอย่างไรบ้าง
2.Organizing การจัดองค์การ คือ การจัดตั้งโครงสร้างอำนาจอย่างเป็นทางการภายในองค์กรเพื่อให้ปฏิบัติงานและประสานงานต่างๆ ระหว่างภายในหน่วยงานองค์กรสามารถดำเนินไปได้อย่างเป็นระบบที่มีระเบียบ
3.Staffing การบริหารงานบุคคล คือ การดำเนินการเกี่ยวกับการสรรหา บรรจุ พัฒนารักษาบุคลากรองค์กรรวมไปถึงการสร้างบรรยากาศที่ดีต่อการทำงานให้เกิดขึ้นภายในองค์การด้วย
4.Directing การอำนวยการ คือ การตัดสินใจดำเนินการเรื่องต่างๆและแปลงการตัดสินใจนั้นออกมาเป็นคำสั่งการและคำแนะนำให้แก่บุคลากรในองค์กร นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการสร้างภาวะผู้นำของผู้บริหารหรือผู้บังคับบัญชาอีกด้วย
5.Coordinating การประสานงาน คือ การเชื่อมโยงการทำงานของหน่วยงานต่างภายในองค์กรเข้าด้วยกันเพื่อให้เกิดการทำงานที่มีความสอดคล้อง สัมพันธ์และไปในทิศทางเดียวยกันกับเป้าหมายขององค์กร
6.Reporting การรายงาน คือ การแจ้งข้อมูล รายละเอียด ความเคลื่อนไหวขององค์กรให้บังคับบัญชาหรือบุคลากรที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ
7.Budgeting การงบประมาณ คือ การวางแผนรายรับ-รายจ่าย รวมทั้งการจัดทำบัญชีขององค์กร
หลักการ POSDCORB นี้ถือได้ว่าเป็นหลักการพื้นฐานทางการบริหารองค์กรโดยทั่วไปใช้ในการดำเนินงานขององค์กรจนกระทั่งถึงปัจจุบัน และถึงแม้ว่าจะมีการปรับปรุงเพิ่มเติมในประเด็นอื่นเพิ่มขึ้นมาบ้าง แต่ก้ถือว่าเป็นหัวข้อย่อยที่แยกจากแนวทางหลักทั้ง 7 ประการ แนวคิดนี้จึงเป็นแนวคิดที่ทรงอิทธิพลอย่างยิ่งในการบริหารงาน
(แบบฝึกหัดท้ายบท ช่วงเช้า-ช่วงบ่าย ) วันที่ 9/5/63
นางสาวอัญจิมา เม็งมุธา รหัสนักศึกษา 61823451019 รุ่นที่ 41
1.)อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง ?
ตอบ แนวคิดการบริหารคือ การดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่
กำหนดไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งหลาย ได้แก่ คน เงิน วัตถุสิ่งของเป็นอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานนั้น
คำนิยามนี้ใช้ในทางปฏิบัติจริงๆิ ซึ่งเน้นไปที่การจัดการ
แนวคิดการเมืองคือ กิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวกับกระบวนการกําหนดนโยบายของรัฐ เพื่อจัดสรรผลประโยชน์และคุณค่า ต่าง ๆ ทางสังคมให้แก่ประชาชนโดยส่วนรวมอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ซึ่งการจัดสรรผลประโยชน์และคุณค่า ทางสังคมให้แก่ประชาชนจะออกมาในรูปของกฎหมาย นโยบาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ หรือคําสั่งเป็นต้น มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด การบริหารและการเมือง ระบบการเมืองจะเป็นระบบใหญ่ที่ครอบคลุมระบบบริหารแต่ในทางปฏิบัติอาจไม่ชัดเจน บางช่วงเวลาการเมืองต้องอาศัยนักบริหารซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านระบบการเมืองในปัจจุบัน นักวิชาการ ส่วนใหญ่มักนิยมใช้ทฤษฎีระบบมาอธิบายการเมือง David Easton ได้นำเสนอการวิเคราะห์ของระบบการเมือง
ประเทศที่ระบบการเมืองพัฒนาแล้ว เช่น อังกฤษ สวีเดน นั้น ระบบการเมืองพัฒนาไปมากจนถึงจุดที่พลเมืองทุกคนมีโอกาสเข้าร่วมทำกิจกรรมทางการเมืองโดยถ้วนหน้ากันมีโอกาสรวมกลุ่มทางการเมืองเพื่อเรียกร้องความต้องการต่างๆ หรือไม่ก็แสดงออกถึงการสนับสนุนนโยบายบางอย่างที่ออกมาบังคับใช้ การที่ระบบการเมืองเป็นระบบที่เปิดกว้างย่อมทำให้การกำหนดนโยบายรวมถึงการนำนโยบายไปปฏิบัติ หรือการประเมินผลสำเร็จของนโยบายเปิดกว้างให้บุคคลอื่นที่มิใช่ข้าราชการเข้ามาร่วมในกระบวนการนโยบายด้วย
ประเทศที่กำลังพัฒนาทางการเมือง กล่าวคือ ระบอบการเมืองยังคงอยู่ในวงจรของการมีการจัดตั้งรัฐบาลโดยผ่านกระบวนการเลือกตั้ง สลับกับการโค่นล้มรัฐบาลโดยส่วนมากเป็นการกระทำของกลุ่มทหารมักพบว่ามีการก้าวก่ายแทรกแซงในกิจกรรมของกระบวนการนโยบาย โดยบางครั้งฝ่ายการเมืองเข้ามาก้าวก่ายการทำงานของข้าราชการประจำ ซึ่งส่วนมากจะเข้ามาในช่วงการนำนโยบายไปปฏิบัติ การแทรกแซงดังกล่าว นักวิชาการบางคนมองว่าเป็นบทบาทที่ทั้งสองฝ่ายต่างก็ให้ความเกื้อกูลกันในการกำหนดนโยบาย
2. บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง
ตอบ บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมืองที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้
1. การกำหนดนโยบาย โดยปกติการกำหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
1.1 พระราชบัญญัติ
1.2 พระราชกำหนด
1.3 พระราชกฤษฎีกา
1.4 กฎกระทรวง
2. การกำกับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนำนโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจำ
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจำระดับสูง

ข้าราชการประจำมีบทบาทหน้าที่หลักที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้
1. การปฏิบัติงานประจำ คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน
2. การนำนโยบายไปปฏิบัติถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สำคัญประการหนึ่งของข้าราชการประจำ
3. การให้ข้อมูลรายละเอียด คำชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมือง
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน
5. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่นๆ ที่นอกเหนือจากงานประจำซึ่งถือว่าเป็นนโยบาย
ครั้งคราว
วันเสาร์ที่ 9/5/63 ช่วงเช้า-บ่าย
นาย อาทิตย์ ภูครองทุ่ง รหัส62423471003 ภาคพิเศษ รุ่นที่44
1.อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมือง รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ การเมืองในลักษณะที่ครอบคลุมและเหมาะสมได้ว่า กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับกระบวนการกําหนดนโยบายของรัฐ เพื่อจัดสรรผลประโยชน์และคุณค่า ต่าง ๆ ทางสังคมให้แก่ประชาชนโดยส่วนรวมอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ซึ่งการจัดสรรผลประโยชน์และคุณค่า ทางสังคมให้แก่ประชาชนจะออกมาในรูปของกฎหมาย นโยบาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ หรือคําสั่ง เป็นต้น
การบริหาร เป็นเรื่องของการปฏิบัติตามนโยบาย เพื่อบรรลุเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ เช่น โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาทรักษาทุกโรค เพื่อให้ประชาชนมีหลักประกันสุขภาพโดยคนไทยทุกคนสามารถรับบริการรักษาโรค โดยจ่ายเพียง30บาท โดยภาครัฐจะให้ประชาชนลงทะเบียนกับโรงพยาบาลและจัดสรรงบประมาณลงไปในโรงพยาบาลตามจำนวนคนและแจกบัตรประจำตัวให้แก่ประชาชน หรือเรียกว่าบัตรทองนั้นเอง
ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับการบริหาร ล้วนเกี่ยวข้องกับนโยบาย เป้าหมาย มีการแบ่งสรรปันส่วนคุณค่าที่มีอยู่ในสังคมเพื่อความเจริญก้าวหน้าและความผาสุขแก่ประชาชนในสังคมและประเทศชาติ การที่จะนำประเทศให้สามารถพัฒนาไปด้วยดีต้องมีการร่วมมือกันทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายบริหารทั้งนี้เพื่อให้เกิดความมั่นคงในประเทศด้วย
วันเสาร์ที่ 9/5/63 ช่วงเช้า-บ่าย
นาย อาทิตย์ ภูครองทุ่ง รหัส62423471003 ภาคพิเศษ รุ่นที่44

2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทข้าราชการประจำ รวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการเมือง มีอะไรบ้าง
ตอบ บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมือง มีดังนี้
1. การกําหนดนโยบาย โดยปกติการกําหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
1.1 พระราชบัญญัติ ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคําแนะนํา และการยินยอมของรัฐสภา
1.2 พระราชกําหนด ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจ บริหารให้ใช้บังคับ เพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การป้องกันภัยพิบัติสาธารณะ
1.3 พระราชกฤษฎีกา ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัย อํานาจรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกําหนดเพื่อใช้ในการบริหารราชการแผน่ ดิน ซึ่งพระราชกฤษฎีกา มีศักดิ์ต่ำกว่าพระราชบัญญัติและขัดต่อพระราชบัญญัติไม่ได้
1.4 กฎกระทรวง ซึ่งเป็นกฎที่กระทรวงต่าง ๆ กําหนดขึ้นมาเพื่อให้มีผลบังคับใช้โดยเร็วในการ แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในสังคม
2. การกํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจําว่าเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของนโยบายหรือไม่เพียงใด ซึ่งโดยปกติรัฐมนตรีว่าการและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง จะเป็นผู้กํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของหน่วยงานที่ตนรับผิดชอบ เพื่อให้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของนโยบาย
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจําระดับสูง (ระดับกรมขึ้นไป) เพื่อให้เป็น หลักประกันว่านโยบายของฝ่ายการเมืองจะได้รับการปฏิบัติจากข้าราชการประจําอย่างเต็มความสามารถ หาก ข้าราชการประจําละเลยไม่นํานโยบายไปปฏิบัติอย่างจริงจัง ฝ่ายการเมืองก็มีอํานาจในการโยกย้ายข้าราชการ ดังกล่าวได้จากเหตุผลว่าย้ายเพื่อความเหมาะสมและเพื่อให้นโยบายบรรลุผลสําเร็จ ส่วนการแต่งตั้งข้าราชการ ระดับล่างนั้นเป็นเรื่องของข้าราชการประจํา
บทบาทข้าราชการประจำมีดังนี้
1. การปฏิบัติงานประจํา คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานที่เทียบเท่า โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน เป็นงานที่ทําประจํา ไม่มีกรอบเวลาสิ้นสุด เช่น งานธุรการ งานการเงิน งานบุคลากร งานป้องกันปราบปราม งานบริการต่าง ๆ เป็นต้น
2. การนํานโยบายไปปฏิบัติ ถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญประการหนึ่งของข้าราชการประจํา ซึ่งมีความยากในการปฏิบัติมากกว่างานประจํา เพราะนโยบาย แผนงาน โครงการนั้นมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน และมีกรอบเวลาในการปฏิบัติ และต้องอาศัยปัจจัยต่าง ๆ สนับสนุนจํานวนมาก ดังนั้น นโยบายที่นําไปปฏิบัติ จะสําเร็จมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติงานของข้าราชการประจํา
3. การให้ข้อมูลรายละเอียด คําชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมืองในการกําหนด นโยบายหรือการให้ข้อมูลในการแถลงต่อรัฐสภา โดยเฉพาะเป็นรายละเอียดระดับปฏิบัติมิใช่ระดับนโยบาย เพราะข้าราชการประจํารู้รายละเอียดในเรื่องต่าง ๆ ได้ดีกว่าฝ่ายการเมือง เช่น ในการเปิดอภิปราย ไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีกระทรวงใดกระทรวงหนึ่ง เกี่ยวกับความบกพร่องในการนํานโยบายไปปฏิบัติ การจัดซื้อ จัดจ้างวัสดุครุภัณฑ์ที่ผิดมาตรฐาน หรือการปฏิบัติงานที่ขาดประสิทธิภาพ ทําให้ประชาชนไม่ได้รับประโยชน์ เท่าที่ควร รัฐมนตรีกระทรวงนั้น ๆ จะต้องขอคําปรึกษาและขอข้อมูลรายละเอียดจากข้าราชการประจํา เพื่อนําไปชี้แจงในรัฐสภา
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน ของข้าราชการประจํา โดยเฉพาะเสนอแนะข้อคิดเห็นที่เป็นเชิงวิชาการหรือแนวทางแก้ไขปัญหาที่เป็นรูปธรรม แก่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี เพราะรัฐมนตรีบางกระทรวงอาจไม่มีความรู้ในเชิงเทคนิคเกี่ยวกับงาน ในกระทรวงนั้น จึงจําเป็นต้องอาศัยความคิดริเริ่มใหม่ ๆ จากข้าราชการระดับสูง (อธิบดี หรือปลัดกระทรวง) เช่น งานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี งานด้านการแพทย์ งานด้านกฎหมาย เป็นต้น
5. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากงานประจํา ซึ่งถือว่าเป็นนโยบายครั้งคราว หรือ คําสั่งเฉพาะกิจจากฝ่ายการเมือง ลักษณะงานดังกล่าวจะไม่มีแผนกําหนดไว้ล่วงหน้า แต่จะเป็นคําสั่งเฉพาะกิจ
สภาพแวดล้อมในการบริหารงานแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1.สภาพแวดล้อมที่อยู่ในรูปวัตถุ เช่นทรัพยากรของการบริหารสินค้าขององค์การ
2. สภาพแวดล้อมที่อยู่ในรูปของนามธรรมเช่นค่านิยมประเพณีความรู้ความต้องการของสังคม
วันอาทิตย์ที่ 10/5/63 ช่วงเช้า-บ่าย
นาย อาทิตย์ ภูครองทุ่ง รหัส62423471003 ภาคพิเศษ รุ่นที่44
1กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
ตอบ ผู้บริหารสถานศึกษาและกลุ่มผู้รับผิดชอบโครงการจากสถานศึกษาสังกัด สพป. สพม. สอศ. สช. กศน. และ อปท. มีความคิดเห็นสอดคล้องในการบริหารจัดการขยะของสถานศึกษาตามหลักการ 3Rs โดยใช้ทฤษฎีและแนวคิดการบริหารจัดการ POSDCoRB ของลูเธอร์ กูลิค และลินดอลล์ เออร์วิค มาใช้ ในการศึกษาการบริหารจัดการขยะของสถานศึกษา โดยภาพรวมทุกด้านมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า
1. ด้านการวางแผน (Planning) เพื่อการบริหารจัดการขยะของผู้บริหารสถานศึกษาและ ผู้รับผิดชอบโครงการมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดมีการปฏิบัติ อยู่ในระดับมาก ยกเว้น สังกัด สอศ. ในส่วนของผู้รับผิดชอบโครงการมีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง
2.ด้านการจัดองค์การ (Organizing) เพื่อการบริหารจัดการขยะของผู้บริหารสถานศึกษาและ ผู้รับผิดชอบโครงการมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดมีการปฏิบัติอยู่ใน ระดับมาก ยกเว้น สังกัด สอศ. ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้รับผิดชอบโครงการมีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง
3. ด้านการจัดบุคลากรปฏิบัติงาน (Staffing) เพื่อการบริหารจัดการขยะของผู้บริหารสถานศึกษาและ ผู้รับผิดชอบโครงการมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดมีการปฏิบัติ อยู่ในระดับมาก ยกเว้น สังกัด สอศ. ที่ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้รับผิดชอบโครงการมีการปฏิบัติ อยู่ในระดับปานกลาง
4. ด้านการอานวยการ (Directing) เพื่อการบริหารจัดการขยะของผู้บริหารสถานศึกษาและ ผู้รับผิดชอบโครงการมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดมีการปฏิบัติ อยู่ในระดับมาก ยกเว้น สังกัด สอศ. ที่ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้รับผิดชอบโครงการมีการปฏิบัติ อยู่ในระดับปานกลาง
5. ด้านการประสานงาน (Coordinating) เพื่อการบริหารจัดการขยะของผู้บริหารสถานศึกษาและ ผู้รับผิดชอบโครงการมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายสังกัด พบว่า ทุกสังกัดมีการปฏิบัติ อยู่ในระดับมาก ยกเว้น สังกัด สอศ. ที่ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้รับผิดชอบโครงการมีการปฏิบัติ อยู่ในระดับปานกลาง
6. ด้านการรายงาน (Reporting) เพื่อการบริหารจัดการขยะของผู้บริหารสถานศึกษาและผู้รับผิดชอบ โครงการมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายสังกัดพบว่า ทุกสังกัดมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ยกเว้น สังกัด สอศ. ที่ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้รับผิดชอบโครงการมีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง
7. ด้านการจัดทางบประมาณ (Budgeting) เพื่อการบริหารจัดการขยะของผู้บริหารสถานศึกษา มีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง ผู้รับผิดชอบโครงการมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณา รายสังกัด พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาทุกสังกัดมีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง ยกเว้น สังกัด สพม. และ สช. ที่ผู้บริหารสถานศึกษามีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ส่วนผู้รับผิดชอบโครงการทุกสังกัดมีการปฏิบัติ อยู่ในระดับมาก ยกเว้น สังกัด สอศ. สช. และ กศน. มีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง
แบบฝึกหัด เช้า-บ่าย 09-05-63
นาย พัฒนพงษ์ จันทาพูน รหัส 61423451064 รุ่น 41
1.อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ การกำหนดนโยบายเป็นภารกิจของฝ่ายการเมือง ไม่ว่าจะเป็นการริเริ่มเพื่อการแก้ปัญหาหรือการกำหนดมาตรการให้ประชาชนปฏิบัติ ในขณะที่ฝ่ายบริหารมุ่งไปที่การนำนโยบายไปจัดทำแผนโครงการ กฎ คำสั่ง หรือระเบียบ เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายของนโยบาย ความสัมพันธ์ของการบริหารและการเมืองมักมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดควบคู่กันไปยกตัวอย่างเช่น แนวคิดการบริหารกับการเมืองของรัฐบาล ศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 หรือ ศบค. ออกพระราชกำหนดการบริหารสถานการณ์ในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 ฉบับที่ 5 ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2563 ที่ผ่านมา ดังนี้
- ห้ามบุคคลใดทั่วราชอาณาจักรออกจากเคหสถานในช่วงเวลา 22.00 – 04.00 น.ของวันรุ่งขึ้น
ผู้ฝ่าฝืนย่อมมีความผิดตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉิน และไม่ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคตามที่ราชการกำหนด เช่น ออกนอกเคหสถานในเวลาดังกล่าว และไม่ยอมรับการแยกกัน กักกัน มั่วสุมชุมนุมทำกิจกรรมที่เสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด อาจมีความผิดตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อด้วย
- ให้ประชาชนงดหรือชะลอการเดินทางข้ามเขตพื้นที่จังหวัด เว้นแต่จำเป็น ซึ่งต้องแสดงเหตุผลและหลักฐานต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ และต้องรับการตรวจคัดกรอง ปฏิบัติตนตามมาตรการป้องกันโรคตามที่ราชการกำหนด โดย พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 5 นี้ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3-31 พ.ค. 63 เป็นต้นไป
เห็นได้ว่าเมื่อฝ่ายการเมืองออกนโยบายมาแล้ว ทางฝ่ายปริหารจะนำนโยบายไปปฏิบัติ เป็นความสัมพันธ์ที่ต้องช่วยเหลือกัน ควบคู่กันไปไม่อาจแยกกันได้

2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง
ตอบ บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมือง
1. การกําหนดนโยบาย โดยปกติการกําหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
1.1 พระราชบัญญัติ ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคําแนะนํา และการยินยอมของรัฐสภา
1.2 พระราชกําหนด เป็นบทบัญญัติที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจ บริหารให้ใช้บังคับ เพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การป้องกันภัยพิบัติสาธารณะ
1.3 พระราชกฤษฎีกา พระราชกําหนดเพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งพระราชกฤษฎีกา มีศักดิ์ต่ำกว่าพระราชบัญญัติและขัดต่อพระราชบัญญัติไม่ได้
1.4 กฎกระทรวง ซึ่งเป็นกฎที่กระทรวงต่าง ๆ
2. การกํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจำ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของนโยบาย
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจําระดับสูง (ระดับกรมขึ้นไป) เพื่อให้เป็น หลักประกันว่านโยบายของฝ่ายการเมืองจะได้รับการปฏิบัติจากข้าราชการประจําอย่างเต็มความสามารถ
บทบาทหน้าที่หลักของข้าราชการประจํา
1. การปฏิบัติงานประจํา คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ
วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน เป็นงานที่ทําประจํา
2. การนํานโยบายไปปฏิบัติ เพราะนโยบาย แผนงาน โครงการนั้นมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน และมีกรอบเวลาในการปฏิบัติ และต้องอาศัยปัจจัยต่าง ๆ สนับสนุนจํานวนมาก
3. การให้ข้อมูลรายละเอียด คําชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมืองในการกําหนด นโยบายหรือการให้ข้อมูลในการแถลงต่อรัฐสภา
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ ๆ แก่ฝ่ายการเมือง เพราะรัฐมนตรีบางกระทรวงอาจไม่มีความรู้ในเชิงเทคนิคเกี่ยวกับงาน ในกระทรวงนั้น
5. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากงานประจํา ซึ่งถือว่าเป็นนโยบายครั้งคราว หรือ คําสั่งเฉพาะกิจจากฝ่ายการเมือง ลักษณะงานดังกล่าวจะไม่มีแผนกําหนดไว้ล่วงหน้า
แม้ว่าฝ่ายการเมืองมีบทบาทหน้าที่กําหนดนโยบาย ควบคุม กํากับ และดูแลให้การนํานโยบายไป ปฏิบัติบรรลุผลสําเร็จ ส่วนฝ่ายบริหารราชการหรือข้าราชการประจํามีบทบาทหน้าที่ในการนํานโยบายที่ฝ่าย การเมืองกําหนดไปปฏิบัติ ซึ่งเป็นการแยกบทบาทหน้าที่ออกจากกันอย่างชัดเจน ไม่แทรกแซงหรือก้าวก่าย บทบาทหน้าที่กันก็ตาม แต่ในแง่ของความเป็นจริง กระบวนการทั้งสองมีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกัน อย่างใกล้ชิดจนไม่สามารถแยกออกจากกันได้เปรียบเสมือนเหรียญที่มีสองด้าน เพราะทั้งสองฝ่ายจะต้อง ทํางานร่วมกันและพึ่งพากันตลอดเวลา เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ
แบบฝึกหัด เช้า-บ่าย 10-05-63
นาย พัฒนพงษ์ จันทาพูน รหัส 61423451064 รุ่น 41
1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานของท่านมาอธิบาย
ตอบ บทบาทหน้าที่ของผู้บริหาร 7 ประการหรือ POSDCORB ที่ใช้เป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับผู้บริหาร ประกอบด้วย
1. การวางแผน (Planning) คือ การกำหนดเป้าหมายขององค์กรว่า ต้องทำงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์อะไร และจะดำเนินการอย่างไร
2. การจัดองค์การ (Organization) คือ การจัดตั้งโครงสร้างองค์กรให้ชัดเจน กำหนดอำนาจหน้าที่รับผิดชอบอย่างเป็นทางการภายในองค์การ เพื่อประสานงานหน่วยทำงานให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. การจัดกำลังคน (Staffing) คือ ฝ่ายบริหารต้องตัดสินใจอยู่ตลอดเวลา ว่าจะดูแลควบคุมจัดสรรคนอย่างไรให้เหมาะสมกับงาน และทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. การอำนวยการ (Directing) คือ การตัดสินใจและสั่งการ การควบคุมงาน การติดตามผลนิเทศก์งาน และศิลปะในการบริหารงาน
5. การประสานงาน (Coordinating) คือ การร่วมมือประสานงาน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และราบรื่น คือหัวใจของการบริหาร
6. การรายงาน (Reporting) คือ การรายงานความเคลื่อนไหวต่าง ๆ ในองค์การให้ทุกฝ่ายทราบ รวมถึงงานประชาสัมพันธ์ (Public Relation) ด้วย
7. การงบประมาณ (Budgeting) คือ งบประมาณในรูปของการวางแผนและการควบคุมด้านการเงินการบัญชี
POSDCORB ใช้เพื่อสร้างกลไกและโครงสร้างให้กับองค์กร จัดเตรียมบุคลากรที่มีความชำนาญต่างกันให้อยู่ในแผนกที่เหมาะสมกับองค์กร บุคลากรรู้หน้าที่และผู้บริหารสามารถบริหารสั่งการได้อย่างมีประสิทธิภาพ กำหนดแผนวางกรอบการทำงานให้องค์กรใช้เป็นแนวทางในการบริหาร ส่งเสริมการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกันภายในองค์กร
แนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานของกระผม คือ หน่วยงานข้าราชการลูกจ้าง (กรมส่งเสริมปกครองท้องถิ่น) ได้มีการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) ในหน่วยงาน ให้มีการตรวจไข้ก่อนเข้าอาคาร ให้ผู้เข้าคารทุกคนใส่หน้ากากอนามัย ละมีการนำเจลแอลกอฮอล์มาตั้งยังจุดตรวจเพื่อให้บุคคลที่เข้า-ออกได้มีการทำความสะอาดก่อนเข้า-ออกอาคาร นอกจากนั้นยังมีการให้บุคลากรในหน่วยงานทำงานที่บ้านหรือ work form home และสลับสับเปลี่ยนกันมาทำงาน โดยให้เลือกวันตามสะดวกของบุคลากรมาทำงาน3วันและ2วันเป็นวัน work form home
นางสาว เชษฐ์สุดา ตัญญวงษ์
รหัส 62423471007 รุ่นที่ 44
งานวันที่ 09/05/63

คำถาม
1.) อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) ขานรับนโยบายภาครัฐ จับมือ กรมอนามัย ยกระดับการจัดการภายในใหม่ เข้มมาตรการรักษาระยะห่าง รับการจับจ่ายวิถีใหม่ สร้างความมั่นใจด้วยการรับรองมาตรฐานสถานประกอบการปลอดภัยป้องกันโควิด-19 จากกรมอนามัยทุกสาขา
เมื่อวันที่ 15 พ.ค. นางศิริพร เดชสิงห์ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สายงานการสื่อสารองค์กร บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า เพื่อเตรียมการรองรับมาตรการผ่อนคลายของภาครัฐในระยะที่สอง แม็คโคร ได้ร่วมมือกับ กรมอนามัย ยกระดับมาตรการป้องกันการแพร่ระบาด เสริมจากแนวปฏิบัติหลักของภาครัฐ เพื่อพลิกโฉมการจับจ่ายวิถีใหม่ปลอดภัย ในสถานการณ์โควิด-19 ซึ่งจะเน้นการเพิ่มระยะห่าง ลดความแออัดภายในสาขา ลดความเสี่ยงจากการสัมผัส พร้อมมีทีมรักษาระยะห่างคอยย้ำเตือนในพื้นที่ที่มีความหนาแน่นของลูกค้า
แม็คโครตระหนักถึงความสำคัญของมาตรการทางสาธารณสุข และการปฏิบัติตามแนวทางของภาครัฐ จึงปรับเปลี่ยนและยกระดับการจัดการภายในสาขา เพื่อให้ปลอดภัยยิ่งขึ้น โดยเรายังคงมาตรการหลักที่ได้รับจากภาครัฐ และเพิ่มมาตรการเสริม ที่ได้รับคำแนะนำจากกรมอนามัย เพื่อให้เกิดบรรทัดฐานใหม่ ในการจับจ่ายที่ปลอดภัยในทุกสาขา ประกอบด้วย
1.กำหนดจำนวนลูกค้าเข้าสาขา (1 คนต่อ 5 ตางเมตร) โดยการนับจำนวนคนเข้า-ออก และรายงานจำนวนคนที่อยู่ภายในสาขาทุกครึ่งชั่วโมง พร้อมจัดที่นั่งรอห่างกัน 1 เมตรด้านหน้าสาขา เมื่อปริมาณคนในสาขาเกินจำนวนที่กำหนด
2.ตีเส้นรักษาระยะห่างที่พื้น (Social distancing grid) เพื่อเป็นสัญลักษณ์ในการรักษาระยะห่างของแต่ละบุคคล ในจุดที่มีความหนาแน่น เช่น แผนกอาหารสด แผนกเนื้อสัตว์ และจุดชำระเงิน
3.จัดทีมรักษาระยะห่าง 3-5 คนต่อสาขา คอยเดินประกาศ ย้ำเตือนเรื่องการรักษาระยะห่างให้ลูกค้าเกิดความเคยชิน และปฏิบัติจนเป็นความปรกติใหม่ (New normal)
4.ลดพื้นที่ขายบางส่วน เพื่อเพิ่มพื้นที่สร้างระยะห่างให้กับลูกค้าในการเลือกสินค้าอย่างปลอดภัย ลดความเสี่ยงในการแพร่กระจายเชื้อ
5.เน้นบริการชำระเงินแบบ Cashless payment เพื่อลดความเสี่ยงจากการสัมผัสเงินสดในทุกสาขา
ทั้งนี้ 5 มาตรการดังกล่าวเป็นมาตรการเสริมที่แม็คโคร จับมือกับกรมอนามัยสร้างบรรทัดฐานใหม่เพิ่มเติมจากมาตรการหลักของรัฐบาล อันประกอบด้วย การตั้งจุดคัดกรองวัดอุณหภูมิร่างกายทุกคนที่จะเข้าสาขา, การกำหนดให้ทุกคนสวมหน้ากากอนามัยก่อนเข้าสาขา, การเพิ่มจำนวนจุดวางแอลกอฮอล์เจลให้มากขึ้น, การทำความสะอาดพื้นที่ที่มีการสัมผัสบ่อย โดยเพิ่มความถี่ในการทำความสะอาดรถเข็นสินค้าด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อทุก 15 นาที รวมทั้ง เคาท์เตอร์บริการต่างๆ โทรศัพท์ ตู้เอทีเอ็ม รถวิลแชร์สำหรับลูกค้า เป็นต้น
นางสาว เชษฐ์สุดา ตัญญวงษ์
รหัส 62423471007 รุ่นที่ 44
งานวันที่ 09/05/63

คำถาม
2.) บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหารมีอะไรบ้าง
ตอบ บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมือง
บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมืองที่สําคัญสรุปได้ดังนี้
1. การกําหนดนโยบาย โดยปกติการกําหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
1.1 พระราชบัญญัติ ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคําแนะนํา และการยินยอมของรัฐสภา
1.2 พระราชกําหนด ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจ บริหารให้ใช้บังคับ เพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การป้องกันภัยพิบัติสาธารณะ
1.3 พระราชกฤษฎีกา ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัย อํานาจรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกําหนดเพื่อใช้ในการบริหารราชการแผน่ ดิน ซึ่งพระราชกฤษฎีกา มีศักดิ์ต่ํากว่าพระราชบัญญัติและขัดต่อพระราชบัญญัติไม่ได้
1.4 กฎกระทรวง ซึ่งเป็นกฎที่กระทรวงต่าง ๆ กําหนดขึ้นมาเพื่อให้มีผลบังคับใช้โดยเร็วในการ แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในสังคม
2. การกํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจําว่าเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของนโยบายหรือไม่เพียงใด ซึ่งโดยปกติรัฐมนตรีว่าการและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง จะเป็นผู้กํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของหน่วยงานที่ตนรับผิดชอบ เพื่อให้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของนโยบาย
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจําระดับสูง (ระดับกรมขึ้นไป) เพื่อให้เป็น หลักประกันว่านโยบายของฝ่ายการเมืองจะได้รับการปฏิบัติจากข้าราชการประจําอย่างเต็มความสามารถ หาก ข้าราชการประจําละเลยไม่นํานโยบายไปปฏิบัติอย่างจริงจัง ฝ่ายการเมืองก็มีอํานาจในการโยกย้ายข้าราชการ ดังกล่าวได้จากเหตุผลว่าย้ายเพื่อความเหมาะสมและเพื่อให้นโยบายบรรลุผลสําเร็จ ส่วนการแต่งตั้งข้าราชการ ระดับล่างนั้นเป็นเรื่องของข้าราชการประจํา

บทบาทหน้าที่หลักของข้าราชการประจํา
ข้าราชการประจําทุกหน่วยงานของรัฐโดยปกติจะมีบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญ สรุปได้ดังนี้
1. การปฏิบัติงานประจํา คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานที่เทียบเท่า โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน เป็นงานที่ทําประจํา ไม่มีกรอบเวลาสิ้นสุด เช่น งานธุรการ งานการเงิน งานบุคลากร งานป้องกันปราบปราม งานบริการต่าง ๆ เป็นต้น
2. การนํานโยบายไปปฏิบัติ ถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญประการหนึ่งของข้าราชการประจํา ซึ่งมีความยากในการปฏิบัติมากกว่างานประจํา เพราะนโยบาย แผนงาน โครงการนั้นมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน และมีกรอบเวลาในการปฏิบัติ และต้องอาศัยปัจจัยต่าง ๆ สนับสนุนจํานวนมาก ดังนั้น นโยบายที่นําไปปฏิบัติ จะสําเร็จมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติงานของข้าราชการประจํา
3. การให้ข้อมูลรายละเอียด คําชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมืองในการกําหนด นโยบายหรือการให้ข้อมูลในการแถลงต่อรัฐสภา โดยเฉพาะเป็นรายละเอียดระดับปฏิบัติมิใช่ระดับนโยบาย เพราะข้าราชการประจํารู้รายละเอียดในเรื่องต่าง ๆ ได้ดีกว่าฝ่ายการเมือง เช่น ในการเปิดอภิปราย ไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีกระทรวงใดกระทรวงหนึ่ง เกี่ยวกับความบกพร่องในการนํานโยบายไปปฏิบัติ การจัดซื้อ จัดจ้างวัสดุครุภัณฑ์ที่ผิดมาตรฐาน หรือการปฏิบัติงานที่ขาดประสิทธิภาพ ทําให้ประชาชนไม่ได้รับประโยชน์ เท่าที่ควร รัฐมนตรีกระทรวงนั้น ๆ จะต้องขอคําปรึกษาและขอข้อมูลรายละเอียดจากข้าราชการประจํา เพื่อนําไปชี้แจงในรัฐสภา
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน ของข้าราชการประจํา โดยเฉพาะเสนอแนะข้อคิดเห็นที่เป็นเชิงวิชาการหรือแนวทางแก้ไขปัญหาที่เป็นรูปธรรม แก่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี เพราะรัฐมนตรีบางกระทรวงอาจไม่มีความรู้ในเชิงเทคนิคเกี่ยวกับงาน ในกระทรวงนั้น จึงจําเป็นต้องอาศัยความคิดริเริ่มใหม่ ๆ จากข้าราชการระดับสูง (อธิบดี หรือปลัดกระทรวง) เช่น งานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี งานด้านการแพทย์ งานด้านกฎหมาย เป็นต้น
5. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากงานประจํา ซึ่งถือว่าเป็นนโยบายครั้งคราว หรือ คําสั่งเฉพาะกิจจากฝ่ายการเมือง ลักษณะงานดังกล่าวจะไม่มีแผนกําหนดไว้ล่วงหน้า แต่จะเป็นคําสั่งเฉพาะกิจ
นางสาว เชษฐ์สุดา ตัญญวงษ์ รหัส 62423471007 รุ่น 44
งานวันที่ 10/05/63

คำถาม
3.) กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานของท่านมาอธิบาย
ตอบ กระบวนการบริหาร POSDCoRB
กูลิค และ เออร์วิกค์ ได้รวบรวมแนวคิดทางด้านการบริหารต่าง ๆ เอาไว้ในหนังสือชื่อ “Paper on the Science of Administration ) โดยเสนอแนวคิดกระบวนการบริหาร ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีชื่อว่า “POSDCoRB” ภาระหน้าที่ที่สำคัญของนักบริหาร 7 ประการ คือ
1.)Planning=การวางแผน
เป็นการวางเค้าโครงกิจกรรมซึ่งเป็นการเตรียมการก่อนลงมือปฏิบัติ เพื่อให้การดำเนินการสามารถบรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.)Organizing=การจัดองค์การ
เป็นการกำหนดโครงสร้างขององค์การ โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับงาน เช่น การแบ่งงาน (Division of Work) เป็นกรม กอง หรือแผนก โดยอาศัยปริมาณงาน คุณภาพงาน หรือจัดตามลักษณะเฉพาะของงาน (Specialization)
3.)Staffing=การจัดบุคลากรปฏิบัติงานเป็น เรื่องที่เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การนั่นเอง ทั้งนี้เพื่อให้บุคลากรมาปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับการจัด แบ่งหน่วยงานที่กำหนดไว้
4.)Directing=การอำนวยการ
เป็นภาระกิจในการใช้ศิลปะในการบริหารงาน เช่น ภาวะผู้นำ (Leadership) มนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) การจูงใจ (Motivation) และการตัดสินใจใจ (Decision making) เป็นต้น
5.)Coordinating=การประสานงาน
เป็นการประสานให้ส่วนต่าง ๆ ของกระบวนการทำงานมีความต่อเนื่องกัน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และราบรื่น
6.)Reporting=การรายงาน เป็นกระบวนการและเทคนิคของการแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาตามชั้นได้ทราบถึงผลการปฏิบัติงาน โดยที่มีความสัมพันธ์กับการติดต่อสื่อสาร (Communication) ในองค์การอยู่ด้วย
7.)Budgeting=การงบประมาณ
เป็นภารกิจที่เกี่ยวกับการวางแผนการทำบัญชีการควบคุมเกี่ยวกับการเงินและการคลัง

แนวทางของกระบวนบริหารของบริษัทของดิฉันมีดังนี้ คือ
1. พนักงานต้องสวมหน้ากากอนามัยในเวลาทำงาน การต้องพบปะลูกค้า ล้างมือด้วยเจลล้างมือแอลกอฮอล์ และตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายทุกครั้ง
2. มีจุดคัดกรองพนักงานและบุคคลภายนอกที่มาติดต่องาน เพื่อตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายก่อนเข้ามาภายในออฟฟิศ
3. หลีกเลี่ยงการทำงาน หรือเดินทางในสภาพแวดล้อมที่แออัด ที่ก่อเกิดการสุ่มเสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อไวรัส ในการประชุมกับบริษัทคู่ค้าที่อาจเลี่ยงการประชุมไม่ได้ ก็มีการสวมหน้ากากอนามัยตลอดทุกครั้งในการประชุม
4. บริษัทมีการจัดเตรียมสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อดูแลสุขอนามัยให้กับพนักงาน มีการแจกหน้ากากอนามัยให้พนักงาน มีเจลล้างมือแอลกอฮอล์ และเครื่องตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย
5. เจ้าหน้าที่ที่ประสานงานกับสำนักงานประกันสังคม จะมีการรายงานสถานการณ์และสวัสดิการที่จะได้รับจากรัฐให้พนักงานในองค์กรทราบ และบริษัทมีการจัดทำประกันชีวิตไวรัส COVID-19 ให้พนักงาน
6. หากมีความจำเป็นต้องเดินทาง ต้องแจ้งเหตุผล ต้องแจ้งข้อมูลที่เป็นความจริงและต้องได้รับอนุญาตจากบริษัท
7. วางแผนและควบคุมงบประมาณของบริษัท ลดค่าใช้จ่ายบางอย่างที่ลดได้ลง เพื่อนำเงินมาสนับสนุนมาตรการการป้องกันไวรัส COVID-19 ภายในบริษัท
กิตติพศ พุ่มมูล รุ่น 44 said…
นายกิตติพศ พุ่มมูล รหัสนักศึกษา 62423471062 รุ่น44
การบ้านวันเสาร์ที่ 9/5/63 (เช้า-บ่าย)
1.อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
*1.การเมืองเป็นเรื่องของความขัดแย้ง ทั้งนี้เนื่องจากทรัพยากรของชาติที่มีอยู่อย่างจำกัด ขณะที่ผู้คนซึ่งต้องการใช้ทรัพยากรนั้นมีอยู่มากและความต้องการใช้ไม่มีขีดจำกัด การเมืองจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการที่คนในสังคมไม่อาจตกลงกันได้หรือเกิดมีความขัดแย้งขึ้น
2.การเมืองเป็นเรื่องของการประนีประนอมผลประโยชน์ เพื่อหลีกเลี่ยงมิให้เกิดความขัดแย้งจากการดำเนินงานทางการเมืองที่ไม่มีทางออก
3.การเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับรัฐและการบริหารประเทศในกิจกรรมหลัก 3ด้านคืองานที่เกี่ยวกับรัฐ การบริหารประเทศในส่วนที่เกี่ยวกับนโยบาย และการอำนวยการบริหารราชการแผ่นดินซึ่งเป็นการควบคุมให้มีการดำเนินงานตามนโยบาย
4.การเมืองเป็นเรื่องของการกำหนดนโยบายของรัฐ กล่าวคือ การเมืองคือกิจกรรมใดใดที่เกี่ยวกับการกำหนดนโยบาย หน่วยงานและเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการกำหนดนโยบาย โดยนัยหนึ่งการเมืองก็คือกระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐ

2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง
*บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมืองที่สำคัญ คือ
1. การกำหนดนโยบาย โดยปกติการกำหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ
2. การกำกับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนำนโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจำ
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจำระดับสูง
ข้าราชการประจำมีบทบาทหน้าที่หลักที่สำคัญ คือ
1. การให้ข้อมูลรายละเอียด คำชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมือง
2. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน
3. การนำนโยบายไปปฏิบัติถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สำคัญประการหนึ่งของข้าราชการประจำ
กิตติพศ พุ่มมูล รุ่น 44 said…
นายกิตติพศ พุ่มมูล รหัสนักศึกษา 62423471062 รุ่น44
การบ้านวันอาทิตย์ที่ 10/5/63 (เช้า-บ่าย)
1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
*กระบวนการของการบริหารของแต่ละองค์กรนั้นมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับว่าองค์กรไหนจะใช้วิธีการใดในการบริหารจัดการกับทรัพยากรภายในองค์กรของตน เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและเพื่อให้บรรลุวัตถุปะสงค์สูงสุดตามที่องค์กรนั้นๆได้วางไว้ในกระบวนการบริหารจัดการในองค์กรนั้นประกอบไปด้วยหลากหลายแนวความคิดทางบริหาร เช่นหลัก POSDC, POLC,POSCORB เป็นต้นซึ่งผู้บริหารองค์กรมีหน้าที่ที่จะเลือกสรรเอาหลักการในการบริหารที่เหมาะสมมาประยุกต์หรือปรับใช้กับองค์กรของตนเพื่อประโยชน์ขององค์กรเอง แต่โดยรวมแล้วหลักการบริหารจะประกอบไปด้วยขั้นตอนเหล่านี้คือ
1. การวางแผน (Planning) หมายถึง กระบวนการในการกำหนดเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ สำหรับช่วงเวลาในอนาคต และวิธีรการให้องค์การบรรลุเป้าหมาย โดยยึดหลักความมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลมากที่สุด
2.การจัดองค์กร (Organizing) หมายถึง ขบวนการของการกำหนดรูปแบบโครงสร้างขององค์กร กฎเกณฑ์ ที่จะใช้ควบคุมทรัพยากรต่างๆ ให้ทำงานร่วมกัน เพื่อบรรลุเป้าหมายขององค์การ โดยจะต้องมีการกำหนดอำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของพนักงานแต่ละคนว่าใครทำอะไร ใช้วิธี และเครื่องมืออะไรบ้าง ในการทำงานตามกฎเกณฑ์เฉพาะที่จะทำให้งานนั้นดำเนินไปได้
3.การจัดคนเข้าทำงาน(Staffing) หมายถึง หน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล โดยเริ่มตั้งแต่ เสาะหา คัดเลือก บรรจุคนที่มีความรู้ ความสามารถเข้าทำงาน พัฒนาฝึกอบรมให้บุคคลกรมีความสามารถมากเพิ่มขึ้นในการทำงาน
4.การสั่งการ(Directing) หมายถึง ความพยายามที่จะทำให้การกระทำต่างๆ ของทุกฝ่ายในองค์กร เป็นไปในทางที่จะส่งเสริมให้เกิดผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
5.การควบคุม(Controlling) หมายถึง การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานต่างๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่และมีข้อบกพร่องอะไรที่จะต้องทำการแก้ไขหรือไม่
6.ภาวะผู้นำในองค์กร( Leading) หมายถึง หน้าที่ทางการบริหารที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมองค์การ การใช้อำนาจหน้าที่ แรงจูงใจ อันจะทำให้บุคลากรขององค์การสามารถทำงานได้บรรลุวัตถุประสงค์ที่องค์การตั้งไว้
ขั้นตอนที่สำคัญที่สุดในกระบวนการบริหารนั้นอาจหมายถึงขั้นตอนทั้งหมดที่มีอยู่ เพราะในการบริหารจัดการองค์กรนั้นจะต้องใช้การร่วมมือของทุกส่วน ทุกขั้นตอน เพื่อให้องค์กรสามารถขับเคลื่อนต่อไปได้ เริ่มตั้งแต่กระบวนการวางแผ่น และกำหนดเป้าหมาย การจัดการรูปแบบ โครงสร้างขององค์กร การกำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การเลือกสรรคนที่มีคุณภาพ เข้ามาทำงาน การควบคุมให้งานที่ทำบรรลุผลสำเร็จ และมีประสิทธิภาพ ไปจนถึงผู้นำในองค์กรที่จะต้องทำหน้าที่ผู้นำเพื่อเป็น แบบอย่างที่ดี เป็นแรงจูงใจให้บุคลากร เพราะฉะนั้นขั้นตอนที่สำคัญที่สุดในกระบวนการบริหารนั้นเราอาจกล่าวได้ว่าอาจเป็นได้ทุกส่วนทุกขั้นตอนและมีความสำคัญเท่าๆกัน
ในส่วนขององค์กรที่ผู้เขียนได้ทำงานอยู่นั้นก็ได้ใช้หลักการบริหารที่กล่าวมาข้างต้นนั้นมาใช้ในการบริหารงานเช่นกันเพราะเป็นองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่ มีพนักงานและสาขามากมายทั้งในประเทศและต่างประเทศ
แต่ในส่วนงานที่ผู้เขียนได้ทำนั้นคืองาน"ตัวแทนขายประกัน" หรือเรียกว่าฝ่ายขายในทางเทคนิค ผู้เขียนต้องทำงานกับความรู้สึกของมนุษย์ไม่ได้ทำงานกับคอมพ์หรือกระดาษหรือยู่แต่ในออฟฟิศ ในสถานการณ์ปัจจุบัน ถือว่ามีทั้งวิกฤติและโอกาสในเวลาเดียวกัน ส่วนตัวผู้เขียนได้นำหลักการบริหารของ Max Weber ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นเจ้าตำรับระบบราชการ (Bureaucracy) โดยมีการกำหนดโครงสร้างตลอดจนการบริหารงานที่ชัดเจน
PATCHAREE said…
นางสาวพัชรี ปิ่นดอนไพร รหัสนักศึกษา 61823451008 รุ่น41
การบ้านวันเสาร์ที่ 9/5/63 (เช้า-บ่าย)
1).อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ การเมือง การบริหาร และนโยบายสาธารณะ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะการบริหารและการเมือง ระบบการเมืองจะเป็นระบบใหญ่ที่ครอบคลุมระบบบริหารแต่ในทางปฏิบัติอาจไม่ชัดเจน บางช่วงเวลาการเมืองต้องอาศัยนักบริหารซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านระบบการเมือง (political system)ในปัจจุบัน นักวิชาการ ส่วนใหญ่มักนิยมใช้ทฤษฎีระบบมาอธิบายการเมือง David Easton ได้นำเสนอการวิเคราะห์ของระบบการเมือง ระบบการเมืองเป็นผลของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยนำเข้า
กระบวนการแปรสภาพ (conversion process) และสภาพแวดล้อม โดยเกิดผลลัพธ์ที่ได้เป็นการตัดสินใจและการกระทำปัจจัยนำเข้า คือ ความต้องการ (demand) และการสนับสนุน (support) ความต้องการเกิดขึ้นเมื่อบุคคลหรือกลุ่มบุคคลตอบสนองต่อเงื่อนไขของสิ่งแวดล้อมซึ่งกระทบกับนโยบาย ส่วนการสนับสนุนคือ การที่กลุ่มหรือบุคคลยอมรับผลการเลือกตั้ง จ่ายภาษีและยอมปฏิบัติตามการตัดสินใจของนโยบาย
Thomas R.Dye ได้กล่าวถึงแนวทางการใช้ทฤษฎีระบบมาวิเคราะห์ระบบการเมือง มีดังนี้
1. มิติที่สำคัญของสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดความต้องการขึ้นในระบบการเมืองคืออะไร
2. อะไรคือคุณลักษณะที่สำคัญของระบบการเมืองที่แปลงจากความต้องการไปเป็นนโยบายสาธารณะ และการประคองตัวเองในช่วงเวลาที่ผ่านไป
3. ข้อมูลสิ่งแวดล้อมมีส่วนกระทบคุณลักษณะของระบบการเมืองอย่างไร
4. คุณลักษณะของระบบการเมืองมีผลกระทบต่อเนื้อหาของนโยบายสาธารณะอย่างไรบ้าง
5. เมื่อได้รับผลย้อนกลับแล้ว นโยบายสาธารณะมีผลต่อสิ่งแวดล้อมและคุณลักษณะของระบบการเมืองอย่างไรการนำเอาส่วนประกอบย่อย ๆ ของระบบการเมืองมาพิจารณาโดยละเอียดและมองปฏิสัมพันธ์ของส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ ย่อมช่วยให้เกิดความเข้าใจระบบการเมืองได้ดียิ่งขึ้น

2).บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหารมีอะไรบ้าง
ตอบ บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมือง
บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมืองที่สําคัญสรุปได้ดังนี้
1. การกําหนดนโยบาย โดยปกติการกําหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
1.1 พระราชบัญญัติ ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคําแนะนํา และการยินยอมของรัฐสภา
1.2 พระราชกําหนด ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจ บริหารให้ใช้บังคับ เพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การป้องกันภัยพิบัติสาธารณะ
1.3 พระราชกฤษฎีกา ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัย อํานาจรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกําหนดเพื่อใช้ในการบริหารราชการแผน่ ดิน ซึ่งพระราชกฤษฎีกา มีศักดิ์ต่ํากว่าพระราชบัญญัติและขัดต่อพระราชบัญญัติไม่ได้
1.4 กฎกระทรวง ซึ่งเป็นกฎที่กระทรวงต่าง ๆ กําหนดขึ้นมาเพื่อให้มีผลบังคับใช้โดยเร็วในการ แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในสังคม
2. การกํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจําว่าเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของนโยบายหรือไม่เพียงใด ซึ่งโดยปกติรัฐมนตรีว่าการและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง จะเป็นผู้กํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของหน่วยงานที่ตนรับผิดชอบ เพื่อให้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของนโยบาย
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจําระดับสูง (ระดับกรมขึ้นไป) เพื่อให้เป็น หลักประกันว่านโยบายของฝ่ายการเมืองจะได้รับการปฏิบัติจากข้าราชการประจําอย่างเต็มความสามารถ หาก ข้าราชการประจําละเลยไม่นํานโยบายไปปฏิบัติอย่างจริงจัง ฝ่ายการเมืองก็มีอํานาจในการโยกย้ายข้าราชการ ดังกล่าวได้จากเหตุผลว่าย้ายเพื่อความเหมาะสมและเพื่อให้นโยบายบรรลุผลสําเร็จ ส่วนการแต่งตั้งข้าราชการ ระดับล่างนั้นเป็นเรื่องของข้าราชการประจํา

นายสุทธิพงษ์ ศิลารักษ์ รหัสนักศึกษา 62423471020 รุ่น 44
การบ้านวันเสาร์ที่ 9/5/63 ข้อที่1

ข้อที่ 1 อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
แนวคิดการเมืองเป็นเรื่องของอํานาจโดยแนวคิดนี้มองว่าการเมืองเป็นเรื่องของการต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งอํานาจของรัฐในการบริหารกิจการบ้านเมืองโดยที่บุคคลใดหรือกลุ่มใดในสังคมซึ่งอาจมีผลประโยชน์ร่วมกันหรือขัดกันก็ตามหรือมีความเห็นเหมือนกันหรือไม่เหมือนกันก็ตามมาทําการต่อสู้เพื่อสรรหาบุคคลมาทําหน้าที่ในการปกครองและเพื่อให้ได้มาซึ่งอํานาจที่จะให้สามารถตัดสินใจในเรื่องของส่วนรวมได้ โดยชอบธรรมความหมายนี้สะท้อนถึงโลกของความเป็นจริงของการเมืองในหลายๆประเทศที่มีภาพลักษณ์ของการช่วงชิงหรือการได้มาซึ่งตําแหน่งและอํานาจทางการเมืองโดยไม่มีกติกาหรือฝ่าฝืนกติกาที่กําหนดไว้และอีกแนวคิดของการเมืองคือการจัดสรรทรัพยากรของรัฐหรือสิ่งที่มีคุณค่าในสังคมโดยแนวคิดนี้มองว่าการจัดสรรทรัพยากรของรัฐหรือสิ่งที่มีคุณค่าในสังคมจะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องซึ่งได้รับผลกระทบจากทั้งทางตรงและทางอ้อมมีความเห็นพ้องต้องกันและยอมรับในกติกาที่กําหนดการใช้อํานาจเพื่อแบ่งปันสิ่งที่มีคุณค่าในสังคมแต่หากสังคมที่ยังไม่มีความเห็นพ้องต้องกันเกี่ยวกับกติกาการกําหนดสิ่งที่มีคุณค่าในสังคมการเมืองก็ยังคงเป็นเรื่องของการแข่งขันกันเพื่อกําหนดหลักเกณฑ์ในการแบ่งปันคุณค่าที่ให้ประโยชน์แก่ฝ่ายตนมากที่สุดเท่าที่จะเป็นได้

ความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจําแม้ว่าฝ่ายการเมืองมีบทบาทหน้าที่กําหนดนโยบายควบคุมกํากับและดูแลให้การนํานโยบายไปปฏิบัติบรรลุผลสําเร็จส่วนฝ่ายบริหารราชการหรือข้าราชการประจํามีบทบาทหน้าที่ในการนํานโยบายที่ฝ่ายการเมืองกําหนดไปปฏิบัติซึ่งเป็นการแยกบทบาทหน้าที่ออกจากกันอย่างชัดเจนไม่แทรกแซงหรือก้าวก่ายบทบาทหน้าที่กันก็ตามแต่ในแง่ของความเป็นจริงกระบวนการทั้งสองมีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิดจนไม่สามารถแยกออกจากกันได้เปรียบเสมือนเหรียญที่มีสองด้านเพราะทั้งสองฝ่ายจะต้องทํางานร่วมกันและพึ่งพากันตลอดเวลาเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพบทบาทของฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจําจึงต้องมีการทํางานที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อทําให้การทํางานเป็นไปโดยราบรื่นแต่หลายครั้งมักเกิดปัญหาฝ่ายการเมืองเข้าแทรกแซงฝ่ายบริหารราชการในแง่ของการแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการประจําอย่างไรก็ตามฝ่ายบริหารราชการก็มีการแทรกแซงฝ่ายการเมืองโดยการเข้ามามีส่วนร่วมในการกําหนดนโยบายโดยเฉพาะเรื่องที่ต้องใช้ความรู้ทางเทคนิคสูงซึ่งฝ่ายการเมืองอาจมีข้อมูลน้อยหรือไม่มีความเชี่ยวชาญเช่นฝ่ายบริหารราชการจะเข้ามามีบทบาทในการกําหนดนโยบายของรัฐโดยการเข้ามามีส่วนร่วมในการริเริ่มร่างข้อเสนอนโยบายการชักจูงหว่านล้อมให้ฝ่ายการเมืองกําหนดนโยบายให้เป็นไปตามทิศทางที่ตนหรือองค์การต้องการการเสนอทางเลือกให้ฝ่ายการเมืองตัดสินใจเป็นต้น
PATCHAREE said…
นางสาวพัชรี ปิ่นดอนไพร รหัสนักศึกษา 61823451008 รุ่น41
การบ้านวันอาทิตย์ที่ 10/5/63 (เช้า-บ่าย)
1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมา
ตอบ หลักการนี้ประกอบไปด้วยกระบวนการบริหาร 5 ประการ ดังนี้

P-Planning > การวางแผน
O-Organizing > การจัดการองค์กร
S-Staffing > การจัดสรรและบริหารบุคลากร
D-Directing > การอำนวยการ
C-Controlling > การควบคุม
P-Planning > การวางแผน
การวางแผนนั้นเริ่มตั้งแต่การกำหนดเป้าหมายขององค์กร โครงสร้าง นโยบาย ตลอดจนลำดับกระบวนการปฎิบัติการในส่วนต่างๆ ตั้งแต่ต้นจนจบ ไปจนถึงวิธีการดำเนินงานในส่วนต่างๆ ให้บรรลุผล การวางแผนนี้ยังต้องสามารถรับรู้ ติดตาม เข้าใจ ตลอดจนวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ ได้ทั้งในและนอกองค์กรที่จะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารองค์กรอีกด้วย

O-Organizing > การจัดการองค์กร
การจัดการองค์กรนี้เริ่มตั้งแต่การกำหนดโครงสร้างองค์กร กำหนดตำแหน่งงาน จัดสรรทรัพยากรบุคคลเพื่อลงในตำแหน่งงานต่างๆ รวมถึงจัดระบบระเบียบในการทำงานทั้งหมดด้วย สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการจัดโครงสร้างองค์กรนั้นก็คือการแบ่งหน้าที่แต่ละส่วนให้ชัดเจน ไม่ทำงานทับซ้อนกัน และต้องทำงานประสานกันให้ราบรื่นได้ด้วย ครอบคลุมการทำงานทั้งหมดไม่ให้เกิดปัญหา ประเมินจำนวนพนักงานให้พอดี ไม่มากหรือน้อยจนเกินไป และต้องลำดับความสำคัญของตำแหน่ง เคลียร์บทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน ตลอดจนให้อำนาจในการสั่งการที่เหมาะสมด้วย

S-Staffing > การจัดสรรและบริหารบุคลากร
การบริหารจัดการบุคลากรนั้นเริ่มตั้งแต่การคัดสรรบุคลากรที่มีคุณภาพและเหมาะสมเพื่อจัดสรรให้ทำงานในตำแหน่งต่างๆ ขององค์กร จากนั้นก็ต้องดูแลบุคลากรตลอดระยะเวลาจนกว่าบุคลากรจะออกจากองค์กร ตั้งแต่การบริหารงานบุคคล งานสวัสดิการ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล การเลื่อนตำแหน่ง โยกย้าย เป็นต้น

D-Directing > การอำนวยการ
การอำนวยการก็คือบริหารจัดการตลอดจนดำเนินการทุกอย่างให้ปฎิบัติการได้อย่างราบรื่น จนบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ การอำนวยการนี้เกี่ยวเนื่องทั้งเรื่องของทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรอื่นๆ ไปพร้อมกันด้วย ให้สามารถทำงานร่วมกันได้ ตลอดจนอำนวยความสะดวกในการทำงาน การอำนวยการยังหมายถึงการสั่งการ อำนาจหน้าที่ และการปฎิบัติการให้สามารถทำงานได้ ตลอดจนการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นด้วย ซึ่งหนึ่งในหัวใจสำคัญของการอำนวยการก็คือการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพด้วยนั่นเอง

C-Controlling > การควบคุม
การควบคุมนี้ก็คือการบริหารจัดการทุกอย่างให้ตรงตามแผนและระยะเวลาที่วางไว้ การควบคุมนี้ตั้งแต่การควบคุมทรัพยกร, เครื่องจักร, ไปจนถึงบุคลากร ให้การปฎิบัติการทักอย่างมีความราบรื่น และดำเนินการตามแผนการได้สำเร็จ ทั้งยังตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ด้วย การควบคุมนี้นอกจากการสั่งการ กำหนดการ บังคับการแล้ว ก็ยังรวมถึงการแนะนำ ช่วยเหลือ รายงานผล ตลอดจนประเมินผลการทำงานอย่างสม่ำเสมอเพื่อติดตามการทำงานทุกกระบวนการไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดใดๆ ด้วย
แบบฝึกหัด วันเสาร์ ที่ 9 พฤษภาคม 2563 (เช้า-บ่าย) นาย จิตรภานุ ศรีวายะมา 61823451018 รุ่น 41
1.อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ การเมืองเป็นเรื่องของการกำหนดนโยบายและเป้าหมายของรัฐ ส่วนการบริหารเป็นเรื่องของการปฏิบัติตามนโยบาย เพื่อบรรลุถึงเป้าหมาย
ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง นั้นอาจกล่าวได้ว่าการบริหารงานของรัฐเป็นเรื่องของการเมือง กระบวนการบริหารของรัฐเป็นเรื่องของการเมืองเช่นกัน กระบวนการบริหารเป็นกระบวนการสำคัญกระบวนหนึ่งของการเมือง เรื่องของการบริหารนโยบายและการเมืองมีความเกี่ยวข้องและผูกผันกัน การบริหารงานเป็นส่วนหนึ่งและแยกไม่ออกจากกระบวนการปกครอง
การบริหารและการเมืองนั้นไม่สามารถแยกออกจากกันได้ เนื่องจากกระบวนการกำหนดนโยบายต้องพิจารณาควบคู่ไปกับความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ หรือในการบริหารด้วย ตัวอย่างเช่น แนวคิดการบริหารคือประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรการการป้องกันความเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19
- การควบคุมเกี่ยวกับสุขลักษณะอาคารและอุปกรณ์เครื่องใช้ที่มีอยู่ในอาคาร
- ทำความสะอาดจุดหรือบริเวณที่มีการใช้ร่วมกัน
- ต้องมีการป้องกันตนเอง เช่น ใส่หน้ากากอนามัย พกเจลแอลกอฮอล์
- การให้ความรู้ คำแนะนำ และเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์
จะเห็นได้ว่าความสัมพันธ์ของการบริหารกับการเมืองนั้นต้องควบคู่กันไปเมื่อกำหนดนโยบายออกมาแล้วต้องมาปฏิบัติด้วยว่าเป็นไปได้อย่างไร

2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง
ตอบ บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมือง อาจสรุปได้ดังนี้
1. การกําหนดนโยบาย โดยปกติการกําหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
- พระราชบัญญัติ หรือ พ.ร.บ.
- พระราชกําหนด หรือ พ.ร.ก.
- พระราชกฤษฎีกา หรือ พ.ร.ฎ.
- กฎกระทรวง
2. การกํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจํา
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจําระดับสูง (ระดับกรมขึ้นไป)
บทบาทหน้าที่หลักของข้าราชการประจํา โดยปกติจะมีบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญ คือ
1. การปฏิบัติงานประจํา คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานที่เทียบเท่า โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน เป็นงานที่ทําประจํา
2. การนํานโยบายไปปฏิบัติ ถือเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญของข้าราชการประจํา เพราะนโยบาย แผนงาน โครงการนั้นมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน และมีกรอบเวลาในการปฏิบัติ และต้องอาศัยปัจจัยต่าง ๆ สนับสนุนจํานวนมาก
3. การให้ข้อมูลรายละเอียด คําชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมืองในการกําหนด โดยเฉพาะเป็นรายละเอียดระดับปฏิบัติมิใช่ระดับนโยบาย เพราะข้าราชการประจํารู้รายละเอียดในเรื่องต่าง ๆ ได้ดีกว่าฝ่ายการเมือง
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน ของข้าราชการประจํา
5. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากงานประจํา ซึ่งถือว่าเป็นนโยบายครั้งคราว หรือ คําสั่งเฉพาะกิจจากฝ่ายการเมือง ลักษณะงานดังกล่าวจะไม่มีแผนกําหนดไว้ล่วงหน้า
ข้อที่ 2 บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหารมีอะไรบ้าง
บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมืองบทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมืองที่สําคัญสรุปได้ดังนี้
1. การกําหนดนโยบายโดยปกติการกําหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบได้แก่
1.1 พระราชบัญญัติ
1.2 พระราชกําหนด
1.3 พระราชกฤษฎีกา
1.4 กฎกระทรวง
2. การกํากับดูแลควบคุมและติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจําว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของนโยบายหรือไม่เพียงใด
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจําระดับสูง (ระดับกรมขึ้นไป) เพื่อให้เป็นหลักประกันว่านโยบายของฝ่ายการเมืองจะได้รับการปฏิบัติจากข้าราชการประจําอย่างเต็มความสามารถ
บทบาทข้าราชการประจําทุกหน่วยงานของรัฐโดยปกติจะมีบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญสรุปได้ดังนี้
1. การปฏิบัติงานประจําคือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวงทบวงกรมหรือหน่วยงานที่เทียบเท่าโดยมีกฎระเบียบข้อบังคับวิธีการและขั้นตอนในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน
2. การนํานโยบายไปปฏิบัติถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญประการหนึ่งของข้าราชการประจําซึ่งมีความยากในการปฏิบัติมากกว่างานประจําเพราะนโยบายแผนงานโครงการนั้นมีวัตถุประสงค์
3. การให้ข้อมูลรายละเอียดคําชี้แจงและความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมืองในการกําหนดนโยบายหรือการให้ข้อมูลในการแถลงต่อรัฐสภา
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ๆแก่ฝ่ายการเมืองซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบันของข้าราชการประจําโดยเฉพาะเสนอแนะข้อคิดเห็นที่เป็นเชิงวิชาการหรือแนวทางแก้ไขปัญหา
5. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่นๆที่นอกเหนือจากงานประจําซึ่งถือว่าเป็นนโยบายครั้งคราวหรือคําสั่งเฉพาะกิจจากฝ่ายการเมือง

สภาพแวดล้อมของการบริหารอาจแบ่งออกได้เป็นหลายประเภทตามมติต่างๆ คือ สภาพแวดล้อมที่แบ่งตามมติและที่แบ่งตามผลกระทบนั้นซึ่งสภาพแวดล้อมของการบริหารเหล่านี้อาจแบ่งออกได้เป็น 3 สภาพแวดล้อม
ได้แก่ ประชากร เทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพ สิ่งประดิษฐ์คิดค้นทางสังคม และอุดมการณ์ เป็นต้น
1)สภาพแวดล้อมของการบริหารจากภายนอกประเทศ อันได้แก่ ประชากรเทคโนโลยีและชีวภาพ สิ่งประดิษฐ์คิดค้นด้านสังคม และอุดมการณ์ เป็นต้น
2)สภาพแวดล้อมของการบริหารภายในประเทศ อันได้แก่ สภาพแวดล้อมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ
3)สภาพแวดล้อมของการบริหารภายในองค์การ ซึ่งรวมถึงปฏิกิริยาโต้ตอบหรือความขัดแย้งระหว่างองค์การและบุคคล ความขัดแย้งระหว่างความคาดหวังขององค์การและความต้องการของบุคคล ทั้งนี้รวมถึงสถานการณ์ต่างๆ ภายในองค์การด้วย และปฏิกิริยาโต้ตอบและความขัดแย้งดังกล่าวนี้นี่เองที่เป็นบ่อเกิดของพฤติกรรม (ที่พัฒนาหรือไม่พัฒนา) ของบุคคล
นายสุทธิพงษ์ ศิลารักษ์ รหัสนักศึกษา 62423471020 รุ่น 44
การบ้านวันอาทิตย์ที่ 10/5/63 ข้อที่3

3.) กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานของท่านมาอธิบาย
กระบวนการบริหาร POSDCoRB แนวคิดทางด้านการบริหารต่าง ๆ เอาไว้ในหนังสือชื่อ “Paper on the Science of Administration ) โดยเสนอแนวคิดกระบวนการบริหาร ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีชื่อว่า “POSDCoRB” ภาระหน้าที่ที่สำคัญของนักบริหาร 7 ประการ คือ
1.)Planning=การวางแผน
เป็นการวางเค้าโครงกิจกรรมซึ่งเป็นการเตรียมการก่อนลงมือปฏิบัติ เพื่อให้การดำเนินการสามารถบรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.)Organizing=การจัดองค์การ
เป็นการกำหนดโครงสร้างขององค์การ โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับงาน เช่น การแบ่งงาน (Division of Work) เป็นกรม กอง หรือแผนก โดยอาศัยปริมาณงาน คุณภาพงาน หรือจัดตามลักษณะเฉพาะของงาน (Specialization)
3.)Staffing=การจัดบุคลากรปฏิบัติงานเป็น เรื่องที่เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การนั่นเอง ทั้งนี้เพื่อให้บุคลากรมาปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับการจัด แบ่งหน่วยงานที่กำหนดไว้
4.)Directing=การอำนวยการ
เป็นภาระกิจในการใช้ศิลปะในการบริหารงาน เช่น ภาวะผู้นำ (Leadership) มนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) การจูงใจ (Motivation) และการตัดสินใจใจ (Decision making) เป็นต้น
5.)Coordinating=การประสานงาน
เป็นการประสานให้ส่วนต่าง ๆ ของกระบวนการทำงานมีความต่อเนื่องกัน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และราบรื่น
6.)Reporting=การรายงาน เป็นกระบวนการและเทคนิคของการแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาตามชั้นได้ทราบถึงผลการปฏิบัติงาน โดยที่มีความสัมพันธ์กับการติดต่อสื่อสาร (Communication) ในองค์การอยู่ด้วย
7.)Budgeting=การงบประมาณ
เป็นภารกิจที่เกี่ยวกับการวางแผนการทำบัญชีการควบคุมเกี่ยวกับการเงินและการคลัง
กระผมได้ปฏิบัติหน้าที่ ณ กรมโยธาธิการและผังเมือง กรมโยธาธิการได้มีกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร เพื่อทำหน้าที่หลักในการพัฒนาการบริหารของกรมให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ตามที่ได้มีการวางแผน
การจัดองค์การให้มีประสิทธิภาพ สูงสุดตามที่ได้รับมอมหมาย รับผิดชอบงานขึ้นตรงต่ออธิบดีโดยมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(1) เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่อธิบดีเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการภายในกรม
(2) ติดตาม ประเมินผล และจัดทำรายงานเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการภายในกรม
(3) ประสานและดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการร่วมกับหน่วยงานกลางต่าง ๆและหน่วยงานภายในกรม
(4) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย



การประเมินความรู้เช้าบ่าย - อาทิตย์ 10 พ.ค. 63 นายธนกร แตงเนียม รุ่น41 รหัสนักศึกษา 61423451090
1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย

ลักการบริหารจัดการของแต่ละองค์กรนั้นมีความแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับว่าองค์กรไหนจะเลือกหลักการอะไรมาใช้บริหารองค์กรของตน หนึ่งในหลักการที่นิยมนำมาใช้กับการบริหารจัดการองค์กรนั้นก็คือกระบวนการ POSDC ซึ่งเป็นหลักการบริหารจัดการในยุคเก่าแต่ยังคงเป็นหลักการที่คลาสสิกและใช้ได้ดีมาจนถึงทุกวันนี้ เป็นหนึ่งในหลักการที่มีประสิทธิภาพต่อการนำไปบริหารจัดการองค์กรอย่างยิ่ง

P-Planning > การวางแผน
O-Organizing > การจัดการองค์กร
S-Staffing > การจัดสรรและบริหารบุคลากร
D-Directing > การอำนวยการ
C-Controlling > การควบคุม

โดยยกตัวอย่างการบริหารการทำงานที่ทำงานของผมโดยระบบการจัดการองค์กรที่มีการแบ่งลำดับชั้นยศโดยเรียงจากชั้นยศที่น้อยขึ้นไปหาชั้นยศที่สูงโดยการเริ่มงานได้มีการวางแผนการทำงานการวางแผนการแจกจ่ายงานการจัดสรรบุคลากรควบคุมแต่ละประเภทงานที่หัวหน้าได้กำหนดไว้ให้สำเร็จและการอำนวยการโดยที่ผู้ได้รับมอบหมายต้องการอำนวยความสะดวกของแต่ละงานให้สำเร็จลุล่วงไปตามเป้าหมายของตนเองที่ได้รับไว้ส่วนการควบคุมจะเป็นการควบคุมโดยนายทหารชั้นยศที่สูงสั่งการลงมาตามลำดับและทุกส่วนของ POSDC สำคัญหมดในองค์กรของผมสามารถนำหลักการนี้มาบริหารภายในหน่วยงานเพื่อให้สำเร็จลุล่วงตามเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้โดยเข้าหลักการ POSDC ทุกๆข้อเลยทำให้สามารถงานสำเร็จลุล่วงเป้าหมายที่กำหนดไว้ได้
นางสาวกนกวรรณ ชัยพิมูล รหัสนักศึกษา 61423451087
การประเมินความรู้เช้า-บ่าย วันเสาร์ ที่ 9 พฤษภาคม 2563
1.อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ. การเมืองเป็นเรื่องของการกำหนดนโยบายและเป้าหมายของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเชิงคุณค่าโดยตรง ซึ่งตัดสินใจว่าควรดำเนินนโยบายเช่นใดตามแผนการทำงานของนักการเมืองสามารถอ้างความชอบทำในการเลือกและกำหนดคุณค่าได้ก็เพราะการได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนซึ่งเป็นผู้กลั่นกรองและสะท้อนเจตนารมณ์และความต้องการของประชาชน
การบริหารเป็นเรื่องของการปฎิบัติตามนโยบายเพื่อให้กระบวนการทำงานบรรลุถึงเป้าหมายที่นักการเมืองได้กำหนดไว้
ดังนั้น การเมืองกับการบริหารจึงเกี่ยวพันกันอย่างมากล้วนแต่เกี่ยวข้องกับการแบ่งสรรปันส่วนคุณค่าที่มีอยู่ในสังคมเพื่อนำความเจริญก้าวหน้าและความผาสุขมาสู่ประชาชนในสังคมและประเทศชาติ เช่น การขอข้อมูลหรือจากหน่วยงานรัฐ การขอให้ฝ่ายบริหารออกแฉลงการชี้แจง การใช้การประชาสัมพันธ์เป็นเครื่องมือแสดงความสนับสนุนต่อต้านการทำงานของฝ่ายบริหาร นอกจากกลุ่มผลประโยชน์แล้วฝ่ายบริหารยังต้องคำนึงถึงท่าทีของสื่อมวลชนและประชาชนด้วย ซึ่งในการนี้ทำให้ฝ่ายประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานมีความสำคัญมากต่อการบริหารที่สอดคล้องกับการเมือง ตัวอย่าง Paul Henson Appleby ได้อธิบายว่าการบริหารงานของรัฐเป็นเรื่องของการเมือง ส่วนกระบวนการบริหารของรัฐเป็นเรื่องของการเมือง กระบวนการบริหารเป็นกระบวนการสำคัญกระบวนการหนึ่งของการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมืองเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายและวิธีการการเมืองเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจรัฐในกำหนดเป้าหมายของรัฐเพื่อการแบ่งสรรทรัพยากรที่ทีอย่างจำกัด การบริหารเป็นวิธีการใทางปฎิบัติที่จะช่วยดำเนินการตามที่ฝ่ายการเมืองกำหนดไว้ตามข้อมูลความเป็นจริง จากผู้ที่ทีหน้าที่เกี่ยวข้องโดยตรง เช่น ข้าราชการ ซึ่งเป็นผู้บริหารกิจกาของรัฐ


2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง
ตอบ. บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมืองที่สำคัญสรุปได้ดังนี้
1.การกำหนดนโยบาย โดยปกติการกำหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
1.1 พระราชบัญญัติ ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคําแนะนําและการยินยอมของรัฐสภา
1.2 พระราชกําหนด ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจบริหารให้ใช้บังคับ เพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การป้องกันภัยพิบัติสาธารณะ
1.3 พระราชกฤษฎีกา ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัย อํานาจรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกําหนดเพื่อใช้ในการบริหารราชการแผน่ดิน ซึ่งพระราชกฤษฎีกามีศักดิ์ต่ำกว่าพระราชบัญญัติและขัดต่อพระราชบัญญัติไม่ได้
1.4 กฎกระทรวง ซึ่งเป็นกฎที่กระทรวงต่างๆ กําหนดขึ้นมาเพื่อให้มีผลบังคับใช้โดยเร็วในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ในสังคม
2. การกํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจําว่าเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของนโยบายหรือไม่เพียงใด ซึ่งโดยปกติรัฐมนตรีว่าการและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง จะเป็นผู้กํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของหน่วยงานที่ตนรับผิดชอบ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของนโยบาย
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจําระดับสูง (ระดับกรมขึ้นไป) เพื่อให้เป็น หลักประกันว่านโยบายของฝ่ายการเมืองจะได้รับการปฏิบัติจากข้าราชการประจําอย่างเต็มความสามารถ หากข้าราชการประจําละเลยไม่นํานโยบายไปปฏิบัติอย่างจริงจัง ฝ่ายการเมืองก็มีอํานาจในการโยกย้ายข้าราชการ ดังกล่าวได้จากเหตุผลว่าย้ายเพื่อความเหมาะสมและเพื่อให้นโยบายบรรลุผลสําเร็จ ส่วนการแต่งตั้งข้าราชการระดับล่างนั้นเป็นเรื่องของข้าราชการประจํา
นาย ภูสิรัช แก้วแพ รหัสนักศึกษา 62423471119
งานวันเสาร์ ที่9 พฤษภาคม2563 เช้า-บ่าย

ข้อที่1 อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ.ในการปกครองบริหารประเทศต้องอาศัยบุคลากร 2ฝ่าย คือ1.ฝ่ายการเมือง/ข้าราชการการเมือง
2.ฝ่ายบริหารงานประจำ/ข้าราชการประจํา
ต้องแยกการบริหารออก
จากการเมืองอย่างเด็ดขาด
(Politics/Administrative
Dichotomy)
เพื่อให้การบริหารงานของรัฐ
มีความเป็นอิสระปลอดจากอิทธิพลทางการเมือง
-ฝ่ายบริหาร/ข้าราชการประจํา
สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-ผู้เสนอแนวคิดได้แก่-Woodrow Wilson, Frank
Goodnow,Leonard White
พัฒนาการของแนวคิดเกี่ยวกับการแยกการเมืองออกจากการบริหาร (Politics/Administration Dichotomy)
ในศ.ต.17-19 การเมืองเข้ามามีอิทธิพลเหนือฝ่ายบริหารงานประจำอย่างมากมีการใช้ระบบอุปถัมภ์การเล่นพรรค
เล่นพวกมากจนทำให้การบริหารงานของรัฐไร้ประสิทธิภาพ
-ข้าราชการขาดความอิสระในการทำงานทำให้เกิด
แนวคิดการบริหารออกจากการเมือง (polittics/adminitrative dichotomy) ขึ้น

เพื่อประโยชนในการพัฒนาระบบการบริหารให้มีประสิทธิภาพ ต้องแยกการบริหารออกจากการเมืองให้เด็ดขาด
-ฝ่ายการเมืองหน้าที่ในการออกกฎหมายกำหนดนโยบายสาธารณะต่างๆ
-ฝ่ายบริหารมีหน้าที่นำเอานโยบายออกไปปฏิบัติให้บรรลุผลตามเป้าหมาย
-ข้าราชการต้องมีความเป็นอิสระปลอดจากอิทธิพลในทางการเมืองตั้งใจทำางานด้วยความสุจริตเที่ยงธรรม โปร่งใสโดยยึดหลักการบริหารที่ดีเป็นแนวทางในการทํางาน

ความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายบริหารและฝ่ายการเมืองควรมีลักษณะอย่างไร
เพื่อให้ทั้ง2ฝ่าย สามารถร่วมมือกันในการปกครองบริหารประเทศ เพื่อผลประโยชน์สาธารณะได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผลสูงสุด

ความสัมพันธ์ที่เหมาะสมระหว่างฝ่ายการเมืองและฝ่าย
บริหาร ควรอยู่ในระดับใด จึงทําให้ทั้งสองฝ่ายสามารถทํางาน
ร่วมกันได้อย่างดี
-ในประเทศที่พัฒนาแล้ว ระบบการจัดการประเทศมีความ เข้มแข็งมีประสิทธิภาพ เนื่องจากบทบาทของภาคการเมืองและ
ภาคราชการประจําที่มี ต่อการจัดการประเทศอยู่ในระดับที่ได้สัดส่วนสมดุลย์ผสมผสานสอดคล้องกันอย่างดีทำให้เกิดการ ทำงานที่ประสานความร่วมกันอย่างดีการก้าวก่ายในบทบาทอำนาจหน้าที่จึงแทบไม่มี ทั้งสองฝ่ายมีการเคารพในกฏเกณฑ์กติกาและเคารพในบทบาทของแต่ละฝ่ายอย่างเคร่งครัด

ข้อที่2 บทบาทข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง
ตอบ บทบาท อำนาจหน้าที่ของข้าราชการฝ่ายการเมืองกำหนดทิศทางในการบริหารและพัฒนาประเทศ ว่าจะเป็นไปในทิศทางใด อย่างไร
เช่น ต้องการพัฒนาประเทศไทยให้เป็น
-ศูนย์กลางอาหาร
-ศูนย์กลางการเกษตรของโลก
-ศูนย์กลางการบิน
-บทบาทหลักของฝ่ายการเมืองคือการออก
กฎหมายและกำหนดนโยบายที่ จะนำมาใช้
เป็นกรอบทิศทางของการบริหารประเทศ

ฝ่ายบริหารงานประจํา(ข้าราชการประจํา)
บทบาทอำนาจหน้าที่หลักคือ
- เป็นผู้รับนโยบายที่ฝ่ายการเมืองกำหนดไว้และมอบหมายให้ออกไปปฏิบัติจัดทำให้บรรลุผลตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์
อย่างสูงสุด
-ฝ่ายบริหารงานประจำ
(ข้าราชการประจํา)ต้องเป็นผู้นํานโยบายไปปฏิบัติโดยอาศัย
อำนาจที่มีอยู่ตามกฎหมายระเบียบกฎเกณฑ์ข้อบังคับต่างๆและกำหนดแนวทางการทำงานให้เกิดความสำเร็จสูงสุด


นางสาวกนกวรรณ ชัยพิมูล รหัสนักศึกษา 61423451087
การประเมินความรู้เช้า-บ่าย วันอาทิตย์ ที่ 10 พฤษภาคม 2563

1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
ตอบ. การบริหารจัดการองค์กรนั้นก็คือกระบวนการ POSDC ซึ่งเป็นหลักการบริหารจัดการในยุคเก่าแต่ยังคงเป็นหลักการที่คลาสสิกและใช้ได้ดีมาจนถึงทุกวันนี้เป็นหนึ่งในหลักการที่มีประสิทธิภาพต่อการนำไปบริหารจัดการองค์กรอย่างยิ่งหลักการนี้ประกอบไปด้วยกระบวนการบริหาร 5 ประการ ดังนี้
P-Planning > การวางแผน
การวางแผนนั้นเริ่มตั้งแต่การกำหนดเป้าหมายขององค์กร โครงสร้าง นโยบาย ตลอดจนลำดับกระบวนการปฎิบัติการในส่วนต่างๆ ตั้งแต่ต้นจนจบไปจนถึงวิธีการดำเนินงานในส่วนต่างๆ ให้บรรลุผล การวางแผนนี้ยังต้องสามารถรับรู้ ติดตาม เข้าใจ ตลอดจนวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ ได้ทั้งในและนอกองค์กรที่จะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารองค์กรอีกด้วย

O-Organizing > การจัดการองค์กร
การจัดการองค์กรนี้เริ่มตั้งแต่การกำหนดโครงสร้างองค์กร กำหนดตำแหน่งงาน จัดสรรทรัพยากรบุคคลเพื่อลงในตำแหน่งงานต่างๆ รวมถึงจัดระบบระเบียบในการทำงานทั้งหมดด้วยสิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการจัดโครงสร้างองค์กรนั้นก็คือการแบ่งหน้าที่แต่ละส่วนให้ชัดเจนไม่ทำงานทับซ้อนกันและต้องทำงานประสานกันให้ราบรื่นได้ด้วยครอบคลุมการทำงานทั้งหมดไม่ให้เกิดปัญหา ประเมินจำนวนพนักงานให้พอดี ไม่มากหรือน้อยจนเกินไป และต้องลำดับความสำคัญของตำแหน่งเคลียร์บทบาทหน้าที่ให้ชัดเจนตลอดจนให้อำนาจในการสั่งการที่เหมาะสมด้วย

S-Staffing > การจัดสรรและบริหารบุคลากร
การบริหารจัดการบุคลากรนั้นเริ่มตั้งแต่การคัดสรรบุคลากรที่มีคุณภาพและเหมาะสมเพื่อจัดสรรให้ทำงานในตำแหน่งต่างๆ ขององค์กร จากนั้นก็ต้องดูแลบุคลากรตลอดระยะเวลาจนกว่าบุคลากรจะออกจากองค์กรตั้งแต่การบริหารงานบุคคล งานสวัสดิการ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล การเลื่อนตำแหน่ง โยกย้าย เป็นต้น

D-Directing > การอำนวยการ
การอำนวยการก็คือบริหารจัดการตลอดจนดำเนินการทุกอย่างให้ปฎิบัติการได้อย่างราบรื่นจนบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ การอำนวยการนี้เกี่ยวเนื่องทั้งเรื่องของทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรอื่นๆ ไปพร้อมกันด้วยให้สามารถทำงานร่วมกันได้ตลอดจนอำนวยความสะดวกในการทำงาน การอำนวยการยังหมายถึงการสั่งการ อำนาจหน้าที่ และการปฎิบัติการให้สามารถทำงานได้ ตลอดจนการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นด้วยซึ่งหนึ่งในหัวใจสำคัญของการอำนวยการก็คือการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพด้วยนั่นเอง

C-Controlling > การควบคุม
การควบคุมนี้ก็คือการบริหารจัดการทุกอย่างให้ตรงตามแผนและระยะเวลาที่วางไว้ การควบคุมนี้ตั้งแต่การควบคุมทรัพยกร, เครื่องจักร, ไปจนถึงบุคลากร ให้การปฎิบัติการทักอย่างมีความราบรื่นและดำเนินการตามแผนการได้สำเร็จทั้งยังตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ด้วย การควบคุมนี้นอกจากการสั่งการ กำหนดการ บังคับการแล้ว ก็ยังรวมถึงการแนะนำ ช่วยเหลือ รายงานผล ตลอดจนประเมินผลการทำงานอย่างสม่ำเสมอเพื่อติดตามการทำงานทุกกระบวนการไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดใดๆ ด้วย

หน่วยงานของดิฉันใช้หลักการบริหาร POSDC ดังนี้
1.การวางแผน กำหนดเป้าหมายของยอดงานที่ปฎิบัติในแต่ล่ะวันให้เป็นไปตามนโยบายของบริษัท เช่น คีย์ข้อมูลลูกค้าอย่างน้อย 300 บัญชี
2.การจัดการองค์กร เช่น กำหนดหน้าที่ต่างๆ ในทีมเพื่อไม่ให้เกิดการทำงานซ้ำซ้อนและความขัดแย้งในองค์กร
3.การจัดสรรและบริหารบุคคลากร ในบริษัทจัดสรรหาบุคลากรที่มีความสามารถตามคุณสมบัติที่ทางบริษัทต้องการจากภายในองค์กรก่อน เช่น การเลื่อนตำแหน่งจากพนักงานเป็นหัวหน้างาน และสรรหาบุคลากรภายนอก เช่น การเปิดรับสมัครตำแหน่งว่างงานตามเว็บไซต์
4.การอำนวยการ พนักงานทุกคนปฎิบัติงานตามคำสั่งหัวหน้างานและนโยบายบริษัทอย่างเคร่งครัด
5.การควบคุม รายงานผลการปฎิบัติงานตนเองต่อหัวหน้างานตามแผนระยะเวลาที่วางไว้ตลอดจนประเมินผลการทำงานของตนเองเพื่อติดตามผลการทำงานว่ามีปัญหาเกิดขึ้นหรือไม่ และตรวจสอบงานอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้เกิดข้อผิดพลาดน้อยที่สุด
นาย ภูสิรัช แก้วแพ รหัสนักศึกษา 6242347119
งานวันอาทิตย์ ที่10 พฤษภาคม 2563 เช้า-บ่าย

ข้อที่3 กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมา

ตอบ องค์การทุกแห่งไม่ว่าจะเป็นองค์การที่หวังผลกำไรหรือไม่หวังผลกำไรจัดตั้งขึ้นเพื่อจุดมุ่งหมายหรือเป้าหมายบางอย่าง ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่าผู้บริหารในทุกระดับมีอิทธิพลต่อองค์การสมัยใหม่เหล่านี้ในทุกแง่มุม โดยที่การบริหารจัดการของเหล่าผู้บริหารเป็นปัจจัยกำหนดประสิทธิผลและประสิทธิภาพขององค์การโดยตรง จึงเป็นประเด็นสำคัญที่ผู้บริหารต้องทำความเข้าใจในภาระหน้าที่และความรับผิดชอบของงานด้านการบริหารจัดการทั้งต่อตนเอง ต่อกลุ่ม ต่อสังคมและต่อประโยชน์ที่เกี่ยวเนื่องกัน
ผู้บริหารทุกองค์การต่างเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการระบบย่อย 2 ระบบคือ 1. ระบบงาน ซึ่งก็คือทรัพยากรที่ไม่มีชีวิต ได้แก่ ทรัพย์สิน เงินทุน เครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์
2. ระบบคน ก็คือ มนุษย์หรือทรัพยากรบุคคล ที่เป็นผู้ปฏิบัติงานโดยใช้ทรัพยากรต่างๆ หรือสิ่งของ เพื่อที่จะก่อให้เกิดผลสำเร็จให้กับองค์การ

การบริหารจัดการเป็นการกำหนดทิศทางของหน่วยงาน กลุ่มงาน หรือการดำเนินงานในหน้าที่ต่างๆ ให้ใช้ทรัพยากรทั้งหลายที่มีอยู่ในองค์การอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (Efficient) ครอบคลุมถึง การใช้ทรัพยากรได้อย่างเฉลียวฉลาด เหมาะสมและคุ้มค่า (Cost-effective) ส่วนการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผล (Effective) นั้นหมายถึงการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง (Right decision) และมีการปฏิบัติการสำเร็จตามแผนที่กำหนดไว้ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า บทบาทสำคัญของผู้บริหารคือการนำพาองค์การไปให้ถึงเป้าหมายและบรรลุผลสำเร็จได้โดยส่วนรวม เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายขององค์การ ผู้บริหารมีหน้าที่รวบรวมและจัดการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในองค์การอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลควบคู่กัน โดยใช้กระบวนการบริหารจัดการที่ดี

กิจกรรมพื้นฐาน 4 ประการที่ทำให้เกิดกระบวนการบริหารจัดการ มีดังนี้

1. การวางแผน (Planning) หมายถึง กระบวนการในการกำหนดเป้าหมาย แผนงาน และตัดสินใจหาวิธีการที่ดีที่สุดที่ทำให้เป้าหมายนั้นบรรลุผลสำเร็จ
2. การจัดองค์การ (Organizing) หมายถึง กระบวนการในการจัดตั้งและจัดวางทรัพยากรบุคคล และทรัพยากรที่ไม่ใช่บุคคล โดยวางแผนให้สามารถบรรลุผลสำเร็จขององค์การ
3. การนำและสั่งการ (Leading and Directing) หมายถึง กระบวนการของการมีอิทธิพล เหนือบุคคลอื่นในการที่จะให้บุคคลอื่นมีพฤติกรรมในการทำงานที่ต้องการ และทำให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ
4. การควบคุม (Controlling) หมายถึง กระบวนการในการกำหนดกิจกรรมต่างๆ ขององค์การให้เป็นไปตามมาตรฐาน และเป้าหมายที่องค์การคาดหวัง และกำหนดไว้
Pawin Potibat said…
นาย ภวินท์ โพธิบัตร รุ่น 44 รหัส 1002
งาน 9-10 พค 63
ข้อ1.
ตอบ ความสัมพันธ์ของระบบการเมือง ระบบการบริหาร และนโยบายสาธารณะ
การเมือง การบริหาร และนโยบายสาธารณะ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะการบริหารและการเมือง ระบบการเมืองจะเป็นระบบใหญ่ที่ครอบคลุมระบบบริหารแต่ในทางปฏิบัติอาจไม่ชัดเจน บางช่วงเวลาการเมืองต้องอาศัยนักบริหารซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านระบบการเมือง (political system)ในปัจจุบัน นักวิชาการ ส่วนใหญ่มักนิยมใช้ทฤษฎีระบบมาอธิบายการเมือง David Easton ได้นำเสนอการวิเคราะห์ของระบบการเมือง

ระบบการเมืองเป็นผลของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยนำเข้า
กระบวนการแปรสภาพ (conversion process) และสภาพแวดล้อม โดยเกิดผลลัพธ์ที่ได้เป็นการตัดสินใจและการกระทำปัจจัยนำเข้า คือ ความต้องการ (demand) และการสนับสนุน (support) ความต้องการเกิดขึ้นเมื่อบุคคลหรือกลุ่มบุคคลตอบสนองต่อเงื่อนไขของสิ่งแวดล้อมซึ่งกระทบกับนโยบาย ส่วนการสนับสนุนคือ การที่กลุ่มหรือบุคคลยอมรับผลการเลือกตั้ง จ่ายภาษีและยอมปฏิบัติตามการตัดสินใจของนโยบาย
Thomas R.Dye ได้กล่าวถึงแนวทางการใช้ทฤษฎีระบบมาวิเคราะห์ระบบการเมือง มีดังนี้
1. มิติที่สำคัญของสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดความต้องการขึ้นในระบบการเมืองคืออะไร
2. อะไรคือคุณลักษณะที่สำคัญของระบบการเมืองที่แปลงจากความต้องการไปเป็นนโยบายสาธารณะ และการประคองตัวเองในช่วงเวลาที่ผ่านไป
3. ข้อมูลสิ่งแวดล้อมมีส่วนกระทบคุณลักษณะของระบบการเมืองอย่างไร
4. คุณลักษณะของระบบการเมืองมีผลกระทบต่อเนื้อหาของนโยบายสาธารณะอย่างไรบ้าง
5. เมื่อได้รับผลย้อนกลับแล้ว นโยบายสาธารณะมีผลต่อสิ่งแวดล้อมและคุณลักษณะของระบบการเมืองอย่างไรการนำเอาส่วนประกอบย่อย ๆ ของระบบการเมืองมาพิจารณาโดยละเอียดและมองปฏิสัมพันธ์ของส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ ย่อมช่วยให้เกิดความเข้าใจระบบการเมืองได้ดียิ่งขึ้น

ข้อ2
ตอบ ความสัมพันธ์ระหว่างนักการเมืองซึ่งมาจากการเลือกตั้ง และข้าราชการประจำซึ่งมาจากระบบการคัดสรรบนพื้นฐานของความรู้ ประสบการณ์ และอาวุโส เป็นเรื่องละเอียดอ่อน ประเด็นที่สังเกตได้ก็คือ ถ้านักการเมืองผู้ดำรงตำแหน่งบริหารเช่นรัฐมนตรีมีอำนาจอย่างไม่จำกัด จนทำให้ข้าราชการประจำเช่นปลัดกระทรวงและอธิบดีกลายเป็นเครื่องมือที่ไม่มีปากมีเสียง ก็จะไม่เป็นผลดีต่อการบริหารราชการแผ่นดิน แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าข้าราชการประจำมีอำนาจมากตามตัวบทกฎหมายจนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองไม่สามารถจะทำอะไรได้ การบังคับบัญชาและการบริหารงานก็จะประสบความเสียหายเช่นเดียวกัน

วันที่ 10 พค 63
ข้อ1
ตอบ การบริหารงาน คือ การดำเนินงานเพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้โดยอาสัยทรัพยากรหรือปัจจัยต่างๆ ที่จำเป็นต่อบริหาร เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสุงสุดการบริหารและการพัฒนาองค์การถือเป็นศิลปะอย่างหนึ่งในการดำเนินงานให้เป็นผลสำเร็จ กล่าวคือ ผู้บริหารไม่ใช่เป็นผู้ลงมือปฏิบัติ แต่ จะเป็นผู้ใช้ศิลปะในการทำให้ผู้ปฏิบัติ ทำงานจนสำเร็จตามจุดมุ่งหมายตามที่ผู้บริหารตั้งใจ ผู้บริหารยุคปัจจุบันต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่หลากหลาย ท้าทาย และเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก จะต้องทำงานโดยมุ่งเน้นแก้ปัญหาที่ซับซ้อนตลอดเวลา ต้องเผชิญกับการแข่งขัน ต้องปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับต่างๆ นับวันงานบริหารจะยิ่งยุ่งยากมากขึ้น อัน เนื่องมาจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด ภาวะวิกฤติทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น ลักษณะงานบริหารจึงไม่แน่นอน เสี่ยงกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและความหลากหลายต่างๆ แต่ในขณะเดียวกันเมื่อเกิดภาวะที่ท้าทาย เหล่านี้ ผู้บริหารก็ควรแสวงหาโอกาสและสร้างความได้เปรียบให้เกิดแก่องค์การ (เปลี่ยนวิกฤติให้เป็นโอกาส) โดยการมุ่งเน้นพัฒนาองค์การในรูปแบบต่างๆ อย่างเป็นระบบ โดยไม่คำนึงถึงตัวบุคคลแต่ให้พิจารณาที่ผลงานเป็นหลัก
ลักษณะสำคัญของการพัฒนาองค์การการ พัฒนาองค์การจะมีลักษณะต่างๆ หลายประการ ซึ่งผู้บริหารระดับสูงและทีมที่ปรึกษาจะต้องพิจารณาควบคู่กันไป เช่น การพัฒนาจะมุ่งเน้นไปที่วัฒนธรรมขององค์การ (Organization Cultural), ค่านิยม (Value) และ ทัศนคติของบุคคลภายในองค์การ โดยการพัฒนาจะต้องกระทำเป็นระบบ เช่น ระบบโครงสร้างใหม่ ซึ่งจำเป็นจะต้องกระทำอย่างต่อเนื่อง มีการสอดแทรกข้อคิด (Intervention) เพื่อทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาจะต้องเริ่มที่ผู้บริหารระดับสูงสุดและ คณะกรรมการบริหารจะต้องให้ความร่วมมือในการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น เพื่อวัดประสิทธิภาพที่ได้จากการพัฒนาองค์การ การพัฒนาองค์การจะต้องใช้เทคนิค และเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อพัฒนาความสามารถของบุคคล และมุ่งขจัดความขัดแย้งในองค์การ
นายสิทธิพร เลาหพูนรังษี 61823451112 รุ่น 41
งาน วันเสาร์ ที่ 9 พ.ค. 2563 ช่วงเช้าและบ่าย
1.อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ การเมืองเป็นเรื่องของการกำหนดนโยบายและเป้าหมายของรัฐ ส่วนการบริหารเป็นเรื่องของการปฏิบัติตามนโยบาย เพื่อบรรลุเป้าหมาย /ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง กล่าวได้ว่าการบริหารงานของรัฐเป็นเรื่องของการเมือง กระบวนการบริหารของรัฐเป็นเรื่องของการเมืองเช่นกัน กระบวนการบริหารเป็นกระบวนการสำคัญกระบวนหนึ่งของการเมือง เรื่องของการบริหารนโยบายและการเมืองมีความเกี่ยวข้องและผูกผันกัน การบริหารงานเป็นส่วนหนึ่งและแยกไม่ออกจากกระบวนการปกครอง
การบริหารและการเมืองนั้นไม่สามารถแยกออกจากกันได้ เนื่องจากกระบวนการกำหนดนโยบายต้องพิจารณาควบคู่ไปกับความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ หรือในการบริหารด้วย ตัวอย่างเช่น แนวคิดการบริหารคือประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรการการป้องกันความเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19
- การควบคุมเกี่ยวกับสุขลักษณะอาคารและอุปกรณ์เครื่องใช้ที่มีอยู่ในอาคาร
- ทำความสะอาดจุดหรือบริเวณที่มีการใช้ร่วมกัน
- ต้องมีการป้องกันตนเอง เช่น ใส่หน้ากากอนามัย พกเจลแอลกอฮอล์
- การให้ความรู้ คำแนะนำ และเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์
จะเห็นได้ว่าความสัมพันธ์ของการบริหารกับการเมืองนั้นต้องควบคู่กันไปเมื่อกำหนดนโยบายออกมาแล้วต้องมาปฏิบัติด้วยว่าเป็นไปได้อย่างไร

2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง
ตอบ บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมือง อาจสรุปได้ดังนี้
1. การกําหนดนโยบาย โดยปกติการกําหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
- พระราชบัญญัติ หรือ พ.ร.บ.
- พระราชกําหนด หรือ พ.ร.ก.
- พระราชกฤษฎีกา หรือ พ.ร.ฎ.
- กฎกระทรวง
2. การกํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจํา
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจําระดับสูง (ระดับกรมขึ้นไป)
บทบาทหน้าที่หลักของข้าราชการประจํา โดยปกติจะมีบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญ คือ
1. การปฏิบัติงานประจํา คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานที่เทียบเท่า โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน
2. การนํานโยบายไปปฏิบัติ ถือเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญของข้าราชการประจํา เพราะนโยบาย แผนงาน โครงการนั้นมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน และมีกรอบเวลาในการปฏิบัติ และต้องอาศัยปัจจัยต่าง ๆ สนับสนุนจํานวนมาก
3. การให้ข้อมูลรายละเอียด คําชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมืองในการกําหนด โดยเฉพาะเป็นรายละเอียดระดับปฏิบัติมิใช่ระดับนโยบาย เพราะข้าราชการประจํารู้รายละเอียดในเรื่องต่าง ๆ ได้ดีกว่าฝ่ายการเมือง
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน ของข้าราชการประจํา
5. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากงานประจํา ซึ่งถือว่าเป็นนโยบายครั้งคราว หรือ คําสั่งเฉพาะกิจจากฝ่ายการเมือง ลักษณะงานดังกล่าวจะไม่มีแผนกําหนดไว้ล่วงหน้า
นายสิทธิพร เลาหพูนรังษี 61823451112 รุ่น 41
งาน วันอาทิตย์ ที่ 10 พ.ค. 2563 ช่วงเช้าและบ่าย

1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้างโดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย?
ตอบ กระบวนการบริหาร หรือ POSDCoRB” มีหน้าที่ที่สำคัญของนักบริหาร 7 ประการ คือ
1. Planning การวางแผน = เป็นการวางเค้าโครงกิจกรรมซึ่งเป็นการเตรียมการก่อนลงมือปฏิบัติ เพื่อให้การดำเนินการสามารถบรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. Organizing การจัดองค์การ = เป็นการกำหนดโครงสร้างขององค์การ โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับงาน เช่น การแบ่งงาน เป็นกรม กอง หรือแผนก โดยอาศัยปริมาณงาน คุณภาพงาน หรือจัดตามลักษณะเฉพาะของงาน
3. Staffing การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน = เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การนั่นเอง ทั้งนี้เพื่อให้บุคลากรมาปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับการจัด แบ่งหน่วยงานที่กำหนดไว้
4. Directing การอำนวยการ = ภารกิจในการใช้ศิลปะในการบริหารงาน เช่น ภาวะผู้นำ มนุษย์สัมพันธ์ การจูงใจ และการตัดสินใจ เป็นต้น
5. Coordinating การประสานงาน = เป็นการประสานให้ส่วนต่าง ๆ ของกระบวนการทำงานมีความต่อเนื่องกัน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และราบรื่น
6. Reporting การรายงาน = เป็นกระบวนการและเทคนิคของการแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาตามชั้นได้ทราบถึงผลการปฏิบัติงาน
7. Budgeting การงบประมาณ = เป็นภารกิจที่เกี่ยวกับการวางแผนการทำบัญชีการควบคุมเกี่ยวกับการเงินและการคลัง

แนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานของข้าพเจ้า คือ หน่วยงานของข้าพเจ้าเป็นหน่วยงานของรัฐ เน้นในการเกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ มีรายละเอียดดังนี้
1. การวางแผน = การวางแผนหรือการประชุมเพื่อค้นหาปัญหาและหาวิธีการแก้ไขและเริ่มวางแผนเป็นขั้นตอน
2. การจัดองค์การ = การจัดองค์กรจะแบ่งฝ่าย แต่ละฝ่ายมีหน้าที่จะต้องรับผิดชอบตามสายงาน เพื่อประสิทธิภาพที่ดีและรวดเร็ว
3. การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน = การจัดบุคลากรเข้าฝ่าย จะเลือกคนที่มีความรู้ความสามารถในด้านที่ตรงตามฝ่ายนั้นๆ เพื่องานที่จะออกมาดีที่สุด
4. การอำนวยการ = จะคัดเลือกกำลังพลขึ้นมาเป็นหัวหน้าที่มีความเป็นผู้นำและเด็ดขาดเพื่อแก้ไขปัญหาได้ทันเวลา
5. การประสานงาน = แต่ละฝ่ายจะมีการประสานงานกัน เพื่ออำนวยความสะดวกให้กันและกัน
6. การรายงาน = ทุกวันจะมีการประชุมเพื่อรายงานแผนงานความคืบหน้าให้ผู้บังคับบัญชาทราบเสมอ
7.การงบประมาณ= จะมีฝ่ายที่ดูแลเรื่องงบประมาณ และส่งให้ผู้บังคับบัญชาชั้นสูงพิจารณาเพื่อความเหมาะสมและอนุมัติตามลำดับ
Kapook said…
นางสาวอริศรา แสงรัศมี 62463471099 งานเช้าบ่าย วันอาทิตย์ 10 พ.ค. 2563
1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่ายมาอธิบาย
ตอบ กระบวนการบริหาร POSDCoRB คือ หลักในการบริหารจัดการองค์กรที่ใช้กันทั้งในภาครัฐ และ เอกชน ที่ผู้มีอำนาจบริหารมีหน้าที่ และ บทบาทการบริหารอยู่ 7 ประการ คือ
P- Planning หมายถึง การวางแผน ได้แก่ การจัดวางโครงการและแผนงานต่างๆ ขึ้นมาไว้ล่วงหน้า
O-Organizing หมายถึง การจัดองค์การ ได้แก่ การแบ่งงาน การกำหนดส่วนงาน โครงสร้างขององค์การ การกำหนดตำแหน่งงานต่างๆ พร้อมกับอำนาจหน้าที่
S-Staffing หมายถึง การจัดการเกี่ยวกับตัวบุคคลในองค์การ นับตั้งแต่ การจัดอัตรากำลัง การสรรหา การคัดเลือก การบรรจุแต่งตั้งบุคคล การเลื่อนขั้น เลื่อนตำแหน่ง เงินเดือน การโยกย้าย การพัฒนาบุคคลในองค์การเรื่อยไปจนกระทั่งการให้บุคคลพ้นจากตำแหน่ง
D-Directing หมายถึง การอำนวยงาน ได้แก่การทำหน้าที่ในการตัดสินใจ วินิจฉัยสั่งการ การออกคำสั่ง มอบหมายภารกิจการงานไปให้ผู้ใต้บังคับบัญชา หลังจากนั้นต้องใช้ภาวะของการเป็นผู้นำในการกระตุ้นจูงใจคนให้ยอมรับในผู้บริหาร
Co- Coordinating หมายถึง การประสานงาน ได้แก่ การทำหน้าที่ในการประสานกิจกรรมต่างๆ ที่ได้มีการแบ่งแยกออกไปเป็นส่วนงานย่อยๆ เพื่อให้ทุกภาคส่วนสามารถทำงานประสานสอดคล้องกัน และมุ่งไปสู่เป้าหมายเดียวกัน
R- Reporting หมายถึง การรายงาน ได้แก่การทำหน้าที่ในการรับฟังรายงานผลการฏิบัติงานของบุคคลและหน่วยงานที่เป็นผู้ใต้บังคับบัญชาได้รายงานมา การรายงานถือเป็นมาตราการในการตรวจสอบและควบคุมงานด้วย
B- Budgeting หมายถึง การงบประมาณ ได้แก่ หน้าที่ที่เกี่ยวกับการจัดทำงบประมาณ การจัดทำบัญชีการใช้จ่ายเงินและการตรวจสอบควบคุมด้านการเงิน การบัญชีของหน่วยงานนั่นเอง

ในส่วนของหน่วยงานเอกชนนั้นกระบวนการบริหารในหน่วยงานมีมาตรการการป้องกัน Co-vid 19 โดยทางบริษัทได้รักษาความป้องกันแจกหน้ากากอนามัย ฉีดยาฆ่าเชื้อภายในที่ทำงาน และลดจำนวนปริมาณพนักงานให้สลับกันทำงานทีมละอาทิตย์ กลับบ้านให้ไวขึ้น เพราะอาจติดช่างเคอร์ฟิวตามมาตรการของรัฐบาล 22.00-04.00 และคุมเข้มกฏภายในองค์กร
1.ให้สวมหน้ากากอนามัยทุกครั้งก่อนออกจากบ้าน
2.ที่ทำงานจะมีประตูทางเข้าแค่ทางเดียว เพราะว่าต้องป้องกันเชื้อไวรัส โดยมีผู้ตรวจวัดไข้อยู่ทางหน้าประตู และจะมีเจลให้ล้างมือก่อนเข้าภายในที่ทำงาน
3.เข้าภายในลิฟต์จะต้องเข้าได้แค่ 4 คน และอยู่คนละโซนที่ทางหน่วยงานได้ทำไว้ให้
4.ไม่ให้อยู่ในพื้นที่เสี่ยง โรค โควิด – 19 เช่น โรงอาหาร ร้านสะดวกซื้อ ที่มีคนพลุกพล่าน
Kapook said…
นางสาวอริศรา แสงรัศมี 62463471099 งานเช้าบ่าย วันเสาร์ 9 พ.ค. 2563
อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ 1.แนวคิดการเมืองเป็นเรื่องของอํานาจโดยแนวคิดนี้มองว่าการเมืองเป็นเรื่องของการต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งอํานาจของรัฐในการบริหารกิจการบ้านเมือง
2. แนวคิดการเมืองเป็นเรื่องของการจัดสรรทรัพยากรของรัฐหรือสิ่งที่มีคุณค่าในสังคม โดยแนวคิดนี้ มองว่าการจัดสรรทรัพยากรของรัฐหรือสิ่งที่มีคุณค่าในสังคมจะเกิดขึ้น
3. แนวคิดการเมืองเป็นเรื่องของความขัดแย้ง โดยแนวคิดนี้มองว่าการเมืองเป็นเรื่องของความขัดแย้ง ของกลุ่มบุคคลที่ต้องการเข้ามามีอํานาจทางการเมือง โดยมีทั้งคนที่สมหวังและคนที่ไม่สมหวัง
4.แนวคิดการเมืองเป็นเรื่องของการประนีประนอมผลประโยชน์ต่าง ๆ โดยแนวคิดนี้มองว่าการเมือง ควรจะเป็นเรื่องของการประนีประนอม ผลประโยชน์ต่าง ๆ มิใช่การต่อสู้เพื่อแย่งชิงผลประโยชน์ส่วนตนหรือ พรรคพวก
5.แนวคิดการเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับรัฐและการบริหารประเทศ โดยแนวคิดนี้มองว่าความสัมพันธ์ ระหว่างการเมืองและการบริหารราชการเป็นเรื่องที่ยากจะแยกออกจากกันได้ เนื่องจากอํานาจทางการเมือง ได้ถูกนําไปใช้ผ่านการควบคุมการบริหารราชการให้มีการดําเนินงานตามนโยบายซึ่งรวมถึงการควบคุม แต่งตั้ง คัดสรรเลือกข้าราชการประจําผู้ซึ่งนํานโยบายไปปฏิบัติ
6. แนวคิดการเมืองเป็นเรื่องของการกําหนดการนโยบายของรัฐ โดยแนวคิดนี้มองว่าการเมืองคือ กระบวนการกําหนดการนโยบายของรัฐ โดยฝ่ายการเมืองทําหน้าที่กําหนดนโยบาย ส่วนฝ่ายบริหารราชการทํา หน้าที่นํานโยบายไปปฏิบัติ การเมืองกับการบริหารราชการจึงแยกออกจากกันอย่างเด็ดขาด (ชํานาญ)
และความสัมพันธ์การเมืองและบริหาร
การเมือง การบริหาร และนโยบายสาธารณะ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะการบริหารและการเมือง ระบบการเมืองจะเป็นระบบใหญ่ที่ครอบคลุมระบบบริหารแต่ในทางปฏิบัติอาจไม่ชัดเจน บางช่วงเวลาการเมืองต้องอาศัยนักบริหารซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านระบบการเมือง
Kapook said…
นางสาวอริศรา แสงรัศมี 62463471099 รุ่น 44 งานบ่าย วันเสาร์ 9 พ.ค. 2563 ข้อ 2 ตอบ บทบาทหน้าที่ 1การกําหนดนโยบาย โดยปกติการกําหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
- พระราชบัญญัติ ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคําแนะนํา และการยินยอมของรัฐสภา
- พระราชกําหนด ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจ บริหารให้ใช้บังคับ เพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การป้องกันภัยพิบัติสาธารณะ
- พระราชกฤษฎีกา ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัย อํานาจรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกําหนดเพื่อใช้ในการบริหารราชการแผน่ ดิน ซึ่งพระราชกฤษฎีกา มีศักดิ์ต่ํากว่าพระราชบัญญัติและขัดต่อพระราชบัญญัติไม่ได้
- กฎกระทรวง ซึ่งเป็นกฎที่กระทรวงต่าง ๆ กําหนดขึ้นมาเพื่อให้มีผลบังคับใช้โดยเร็วในการ แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในสังคม
2. การกํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจําว่าเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของนโยบายหรือไม่เพียงใด ซึ่งโดยปกติรัฐมนตรีว่าการและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง จะเป็นผู้กํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของหน่วยงานที่ตนรับผิดชอบ เพื่อให้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของนโยบาย
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจําระดับสูง (ระดับกรมขึ้นไป) เพื่อให้เป็น หลักประกันว่านโยบายของฝ่ายการเมืองจะได้รับการปฏิบัติจากข้าราชการประจําอย่างเต็มความสามารถ หาก ข้าราชการประจําละเลยไม่นํานโยบายไปปฏิบัติอย่างจริงจัง ฝ่ายการเมืองก็มีอํานาจในการโยกย้ายข้าราชการ ดังกล่าวได้จากเหตุผลว่าย้ายเพื่อความเหมาะสมและเพื่อให้นโยบายบรรลุผลสําเร็จ ส่วนการแต่งตั้งข้าราชการ ระดับล่างนั้นเป็นเรื่องของข้าราชการประจำ
บทบาทหน้าที่หลักของข้าราชการประจํา
ข้าราชการประจําทุกหน่วยงานของรัฐโดยปกติจะมีบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญ สรุปได้ดังนี้
1. การปฏิบัติงานประจํา คือการปฏิบัติงานของสังกัดกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานที่เทียบเท่า โดยมีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติที่แน่นอนและชัดเจน เป็นงานที่ทําประจํา ไม่มีกรอบเวลาสิ้นสุด เช่น งานธุรการ งานการเงิน งานบุคลากร งานป้องกันปราบปราม งานบริการต่าง ๆ เป็นต้น
2. การนํานโยบายไปปฏิบัติ ถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักที่สําคัญประการหนึ่งของข้าราชการประจํา ซึ่งมีความยากในการปฏิบัติมากกว่างานประจํา เพราะนโยบาย แผนงาน โครงการนั้นมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน และมีกรอบเวลาในการปฏิบัติ และต้องอาศัยปัจจัยต่าง ๆ สนับสนุนจํานวนมาก ดังนั้น นโยบายที่นําไปปฏิบัติ จะสําเร็จมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติงานของข้าราชการประจํา
3. การให้ข้อมูลรายละเอียด คําชี้แจง และความคิดเห็นบางประการแก่ฝ่ายการเมืองในการกําหนด นโยบายหรือการให้ข้อมูลในการแถลงต่อรัฐสภา โดยเฉพาะเป็นรายละเอียดระดับปฏิบัติมิใช่ระดับนโยบาย เพราะข้าราชการประจํารู้รายละเอียดในเรื่องต่าง ๆ ได้ดีกว่าฝ่ายการเมือง เช่น ในการเปิดอภิปราย ไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีกระทรวงใดกระทรวงหนึ่ง เกี่ยวกับความบกพร่องในการนํานโยบายไปปฏิบัติ การจัดซื้อ จัดจ้างวัสดุครุภัณฑ์ที่ผิดมาตรฐาน หรือการปฏิบัติงานที่ขาดประสิทธิภาพ ทําให้ประชาชนไม่ได้รับประโยชน์ เท่าที่ควร รัฐมนตรีกระทรวงนั้น ๆ จะต้องขอคำปรึกษาและขอข้อมูลรายละเอียดจากข้าราชการประจํา เพื่อนําไปชี้แจงในรัฐสภา
4. การคิดริเริ่มและการเสนอแนะนโยบายใหม่ ๆ แก่ฝ่ายการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทใหม่ในปัจจุบัน ของข้าราชการประจํา
5. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากงานประจํา
สภาพแวดล้อมทางการบริหาร คือ สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา หมายถึง สิ่งที่เป็นรูปธรรมนามธรรมทัง้ ภายนอก ภายใน และรอบ ๆ องค์การ และสิ่งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมดังกล่าว นี้ มีอิทธิพลเหนือโครงสร้าง กระบวนการ และพฤติกรรมของการพัฒนาการบริหาร และการ บริหารเพ่อืการพัฒนา(หรือการบริหารการพัฒนา) หรือในทางกลับกันสภาพแวดล้อมที่เป็นรูปธรรม อาจรวมถึงสภาพแวดที่เป็นรูปธรรมอาจรวมถึงสภาพภูมิศาสตร์ประชากรเทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพ ส่วนสภาพแวดล้อมที่เป็นนามธรรม ได้แก่ การประดิษฐ์คิดค้นทางสังคม รวมถึงสหภาพแรงงาน กลุ่ม ผลประโยชน์ อุดมการณ์ อารยธรรมธุรกิจ (business civilization) บรรษัท ปัจเจกชนนิยม ระบบ การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เป็นต้น
นาย พงษ์เทพ สมเนตร 61823451022 รุ่น41
(แบบฝึกหัดท้ายบท ช่วงเช้า-ช่วงบ่าย ) วันที่ 9/5/63

1.)อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง ?
ตอบ แนวคิดการบริหารคือ การดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่
กำหนดไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งหลาย ได้แก่ คน เงิน วัตถุสิ่งของเป็นอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานนั้น
คำนิยามนี้ใช้ในทางปฏิบัติจริงๆิ ซึ่งเน้นไปที่การจัดการ
แนวคิดการเมืองคือ กิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวกับกระบวนการกําหนดนโยบายของรัฐ เพื่อจัดสรรผลประโยชน์และคุณค่า ต่าง ๆ ทางสังคมให้แก่ประชาชนโดยส่วนรวมอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ซึ่งการจัดสรรผลประโยชน์และคุณค่า ทางสังคมให้แก่ประชาชนจะออกมาในรูปของกฎหมาย นโยบาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ หรือคําสั่งเป็นต้น มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด การบริหารและการเมือง ระบบการเมืองจะเป็นระบบใหญ่ที่ครอบคลุมระบบบริหารแต่ในทางปฏิบัติอาจไม่ชัดเจน บางช่วงเวลาการเมืองต้องอาศัยนักบริหารซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านระบบการเมืองในปัจจุบัน นักวิชาการ ส่วนใหญ่มักนิยมใช้ทฤษฎีระบบมาอธิบายการเมือง David Easton ได้นำเสนอการวิเคราะห์ของระบบการเมือง
ประเทศที่ระบบการเมืองพัฒนาแล้ว เช่น อังกฤษ สวีเดน นั้น ระบบการเมืองพัฒนาไปมากจนถึงจุดที่พลเมืองทุกคนมีโอกาสเข้าร่วมทำกิจกรรมทางการเมืองโดยถ้วนหน้ากันมีโอกาสรวมกลุ่มทางการเมืองเพื่อเรียกร้องความต้องการต่างๆ หรือไม่ก็แสดงออกถึงการสนับสนุนนโยบายบางอย่างที่ออกมาบังคับใช้ การที่ระบบการเมืองเป็นระบบที่เปิดกว้างย่อมทำให้การกำหนดนโยบายรวมถึงการนำนโยบายไปปฏิบัติ หรือการประเมินผลสำเร็จของนโยบายเปิดกว้างให้บุคคลอื่นที่มิใช่ข้าราชการเข้ามาร่วมในกระบวนการนโยบายด้วย
ประเทศที่กำลังพัฒนาทางการเมือง กล่าวคือ ระบอบการเมืองยังคงอยู่ในวงจรของการมีการจัดตั้งรัฐบาลโดยผ่านกระบวนการเลือกตั้ง สลับกับการโค่นล้มรัฐบาลโดยส่วนมากเป็นการกระทำของกลุ่มทหารมักพบว่ามีการก้าวก่ายแทรกแซงในกิจกรรมของกระบวนการนโยบาย โดยบางครั้งฝ่ายการเมืองเข้ามาก้าวก่ายการทำงานของข้าราชการประจำ ซึ่งส่วนมากจะเข้ามาในช่วงการนำนโยบายไปปฏิบัติ การแทรกแซงดังกล่าว นักวิชาการบางคนมองว่าเป็นบทบาทที่ทั้งสองฝ่ายต่างก็ให้ความเกื้อกูลกันในการกำหนดนโยบาย
2. บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง
ตอบ บทบาทหน้าที่หลักของฝ่ายการเมืองที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้
1. การกำหนดนโยบาย โดยปกติการกำหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่
1.1 พระราชบัญญัติ
1.2 พระราชกำหนด
1.3 พระราชกฤษฎีกา
1.4 กฎกระทรวง
2. การกำกับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนำนโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจำ
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจำระดับสูง
นาย พงษ์เทพ สมเนตร 6123451022 รุ่น41
งาน วันอาทิตย์ ที่ 10 พ.ค. 2563 ช่วงเช้าและบ่าย
1. กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
ตอบ กระบวนการบริหาร หรือ POSDCoRB” มีหน้าที่ที่สำคัญของนักบริหาร 7 ประการ คือ
1. Planning การวางแผน = เป็นการวางเค้าโครงกิจกรรมซึ่งเป็นการเตรียมการก่อนลงมือปฏิบัติ เพื่อให้การดำเนินการสามารถบรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. Organizing การจัดองค์การ = เป็นการกำหนดโครงสร้างขององค์การ โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับงาน เช่น การแบ่งงาน เป็นกรม กอง หรือแผนก โดยอาศัยปริมาณงาน คุณภาพงาน หรือจัดตามลักษณะเฉพาะของงาน
3. Staffing การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน = เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การนั่นเอง ทั้งนี้เพื่อให้บุคลากรมาปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับการจัด แบ่งหน่วยงานที่กำหนดไว้
4. Directing การอำนวยการ = ภารกิจในการใช้ศิลปะในการบริหารงาน เช่น ภาวะผู้นำ มนุษย์สัมพันธ์ การจูงใจ และการตัดสินใจ เป็นต้น
5. Coordinating การประสานงาน = เป็นการประสานให้ส่วนต่าง ๆ ของกระบวนการทำงานมีความต่อเนื่องกัน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และราบรื่น
6. Reporting การรายงาน = เป็นกระบวนการและเทคนิคของการแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาตามชั้นได้ทราบถึงผลการปฏิบัติงาน
7. Budgeting การงบประมาณ = เป็นภารกิจที่เกี่ยวกับการวางแผนการทำบัญชีการควบคุมเกี่ยวกับการเงินและการคลัง
แนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานของข้าพเจ้า คือรับงานไปตั้งบูธ จะมึการวางแผน เพื่อไม่ให้ทำงานกันอย่างแอร์อัด
1.การวางแผน แบ่งหน้าที่การดูแลความรับผิดชอบการออก หรือจัดตั้งในบูทต่างๆ
2.การจัดองค์การ การแบ่งหน้าที่แต่คน ที่มีความสามาร ในความถนัดของคนแต่ละคนสามารถทำอะไรได้บ้าง
3.การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน การบริหารแบ่งหน้าที่ตามงานที่ว่างแผนไว้ และมีหัวหน้าแต่ละกลุ่มคอย บอกว่าทำ ขั้นตอนทำงานเป็นอย่างไรถึงจะเป็นไปตามเป้าหมาย
4การอำนวยการ ผู้นำหรือหัวหน้า การเตรียมความพร้อมภายในงาน เตรียมพร้อมรับสิ่งที่เกิดขึ้นและแก้ไขได้โดยงานผ่านไปได้ด้วยดี
5.การประสานงาน การประสานให้ส่วนต่าง ๆ ของการทำงาน จะต้อง ช่วยกันทำงาน ในส่วน ที่แบ่งงานแยกแยะว่างานไหนควรเสร็จก่อน หรือ หลัง ใครที่ว่างงานให้ช่วยคนที่ทำงานยังไม่เสร็จ
6.การรายงาน การบอกข้อมูลต่างว่า รายละเอียดของบูธ มีความคืบหน้าถึงไหนแล้ว
7.การงบประมาณ ขึ้นอยู่กับ ผู้ว่าจ้างว่ามีงบเท่าไหร่จึงจะตีราคาในการจัดงานได้ถูกต้องตามราคางาน
This comment has been removed by the author.
นายลัญจกร พวงศรี รหัสนกศึกษา62423471051 รุ่นที่ 44
งานวันที่ 10/5/63
1.การวางแผน

การวางแผน

จัดทำโดยผู้บริหารระดับสูงซึ่งจะเป็นแผนระยะยาว มุ่งสนใจกำหนดวัตถุประสงค์ต่างๆ ที่องค์กรต้องก้าวให้ถึงโดยอาศัยวิธีการคาดคะเนและประมาณการต่าง ๆ
การวางแผนโครงการ
ทำโดยผู้บริหารระดับกลาง เป็นแผนระยะปานกลาง มุ่งเน้นการวางแผนทรัพยากรทำโดยการ
แปลความจากแผนระยะยาวออกเป็นแผนงาน/ โครงการ
การวางแผนดำเนินงาน
ทำโดยผู้บริหารระดับต้น เป็นแผนระยะสั้น แปลความจาก แผนงาน/ โครงการ ออกเป็น
ขั้นตอนกระบวนการวางแผน

1. ตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับอนาคต
2. กำหนดวัตถุประสงค์
3. พัฒนากลยุทธ์
4. การสร้างเป้าหมายระยะปานกลาง
5. กำหนดแผนปฏิบัติงาน
6. ปฏิบัติตามแผน
7. กลไกข้อมูลย้อนกลับ
2. Organizing การจัดองค์การ การจัดองค์การ คือ การจัดระบบของงานและระบบของคนหรือตำแหน่งเพื่อใช้ทรัพยากรการบริหารในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพด้วยการจัดแบ่งกลุ่มงาน การกำหนดอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมการประสานงานและการควบคุมอย่างเป็นระบบ ซึ่งจะช่วยการปฏิบัติงานบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์การ
3. Staffing การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน
การจัดบุคลากรปฏิบัติงานการจัดหาบุคลากรเข้าทำงาน ในองค์การและความจำเป็นในการจัดหาบุคลากรเข้าทำงานในการบริหารงานขององค์การนั้น ความมุ่งหมายหลักคือ การต้องการให้งานบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้อย่างประหยัด มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอีกทั้งพัฒนาให้ก้าวหน้าทันต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องอยู่เสมอ ซึ่งทรัพยากรพื้นฐานที่สำคัญของการบริหารคือ ทรัพยากรมนุษย์ เงินทุน และวัสดุอุปกรณ์ การจัดหาบุคลากรเข้าทำงานในองค์การ จึงเป็นกระบวนการหนึ่งของนักบริหารที่ต้องดำเนินการต่อจากการวางแผนและการจัดองค์การ กล่าวคือ เมื่อได้มีการวางแผนงาน จัดแบ่งงานและกำหนดโครงสร้างขององค์การแล้ว นักบริหารก็จะต้องทำการจัดหาคนเข้าทำงานตามตำแหน่งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การจัดหาบุคลากรเข้าทำงาน
จึงครอบคลุมถึงภารกิจที่เกี่ยวข้องกันเป็นกระบวนการดังต่อไปนี้
1. การวางแผนกำลังคน
2. การสรรหาบุคคล
3. การคัดเลือกบุคคล
4. การบรรจุแต่งตั้ง
5. การฝึกอบรมและการพัฒนาบุคคล
6. การประเมินผลการปฏิบัติงาน
7. การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งงาน
4. Directingการอำนวยการ
การจัดการของผู้บริหาร หรือผู้มีอำนาจในการสั่งการตามหน้าที่ความรับผิดชอบ ชี้แนะ บุคคล การนิเทศงาน และการติดตามผล เพื่อให้งานดำเนินไปตามแผน หรือเป้าหมายที่กำหนดไว้
1. ความเป็นผู้นำเป็นกระบวนการของการสั่งการ และการใช้อิทธิพลต่อกิจกรรมต่างๆ ของสมาชิกในองค์การ
2. การจูงใจ
มีความสำคัญต่อการสั่งการหรือการอำนวยการ เพราะเกี่ยวกับบุคลากรให้ปฏิบัติงาน จึงจำเป็นต้องมีการจูงใจหรือกระตุ้นให้อยากทำงาน
3. การติดต่อสื่อสาร
เป็นกระบวนการสำคัญช่วยให้การอำนวยการดำเนินไปได้ด้วยดีมีประสิทธิภาพ
4. องค์การและการบริหารงานบุคคล จุดมุ่งหมายของนักอำนวยการคือ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและองค์การ ซึ่งต้องการไม่เหมือนกันผู้อำนวยการจึงต้องทำให้เกิดความสมดุลกัน

5. Reporting ( การรายงาน )
จำนวนพนักงาน -จำนวนพนักงานที่มาทำงาน -จำนวนพนักงานที่ลา -ชนิดของการลา และชื่อผู้ลา -จำนวนพนักงานที่กะก่อนหน้าส่งมาทำ OT ในกะของเรา และชื่อ -จำนวนพนักงานที่กะเราส่งเพื่อให้ทำ OT ในกะต่อ และชื่อ เครื่องจักร/เครื่องมือ อุปกรณ์ ได้แก่ ชื่อเครื่องจักร ผลิตสินค้าจำนวนวัตถุดิบที่ป้อนเข้า ผลลัพธ์งานดี งานเสีย ปัญหา ชื่อเครื่องมือ สภาพทั่วไป ปัญหาที่พบ อื่นๆ

6. การประสานงาน เช่น แสงสว่าง ความมืด เสียดัง กลิ่นเหม็น การสั่นสะเทือน จุดอันตรายต่างๆ ที่เสี่ยง หรืออาจส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน
ปัญหาทั่วไป โดยเขียนอธิบายปัญหาที่เกิดขึ้น และต้องการแจ้งให้หัวหน้างาน และผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ
งานฝาก/งานค้าง เช่น ฝากตามใบลา ฝากตามเอกสาร ฝากตามวัตถุดิบ บรรจุภัณฑ์
นางสาววรรษมล สังวรินทะ
รหัสนักศึกษา 62423471075 รุ่น44
ช่วงเช้า
1.กระบวนการบริหารตามหลัก POSDCORB ของกูลลิคและอร์วิก มีอะไรบ้างจงอธิบาย
ตอบ หลักการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพว่าจะต้องประกอบด้วยหลัก POSDCORE ซึ่งย่อมาจาก
P = Planning หมายถึง การวางแผน
O = Organizing หมายถึง การจัดองค์การ
S = Staffing หมายถึง คณะผู้ร่วมงาน
D = Directing หมายถึง การสั่งการ
CO = Coordination หมายถึง การประสานงาน
R = Reporting หมายถึง การทำรายงาน
B = Budgeting หมายถึง การทำงบประมาณ

2. แนวคิดระบบราชการของ Max weber ที่ยังคงมีลักษณะดำรงอยู่ในระบบราชการไทยคืออะไรบ้าง
ตอบ 1.วิธีการจัดรูปแบบองค์การที่มีกฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ และขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน สามารถป้องกันการใช้อำนาจตามอำเภอใจได้ เพราะการทำงานต้องเป็นไปตามขั้นตอน กฎเกณฑ์ และมีหลักฐานเสมอ
2. การทำงานตามระบบราชการ เปรียบเสมือนการผลิตสิ่งของด้วยเครื่องจักร สามารถผลิตสิ่งของออกมาตามมาตรฐานที่กำหนดไว้
3.การสั่งการตามสายการบังคับบัญชา และการแบ่งงานกันทำตามความชำนาญเฉพาะด้าน ช่วยทำให้ระบบราชการสามารถทำงานขนาดใหญ่ ที่มีความสลับซับซ้อนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
4.การที่ผู้ปฏิบัติงานทุกคนต้องทำงานตามขั้นตอน กฎระเบียบและ มีหลักฐานอย่างสมเหตุสมผล ช่วยลดความขัดแย้งระหว่างบุคคล และหน่วยงาน ต่าง ๆ ได้


ช่วงบ่าย
1.อธิบายแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ตามแนวทางของประเทศไทย (การบริหารแบบบูรณาการ)
ตอบ เน้นวัตถุประสงค์ หรือ ผลสัมฤทธิ์ทั้งในแง่ของผลผลิต ความคุ้มค่าของเงิน รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพและการสร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการโดยนำเอาเทคนิควิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่เข้ามาใช้มากขึ้น

2. หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) มีอะไรบ้าง
ตอบ 1. หลักการตอบสนอง (Responsiveness)
2. หลักประสิทธิผล (Effectiveness)
3. หลักประสิทธิภาพ/คุ้มค่า (Efficiency/Value for money)
4. หลักความเสมอภาค (Equity)
5. หลักมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented)
6. หลักการตรวจสอบได้/มีภาระรับผิดชอบ (Accountability)
7. หลักเปิดเผย/โปร่งใส (Transparency)
8. หลักการกระจายอำนาจ (Decentralization)
9. หลักการมีส่วนร่วม (Participation)
10. หลักนิติธรรม (Rule of Law)
ส่งการบ้านช่วงเช้า-ช่วงบ่าย)วันที่08/05/63
นางสาวธัญชนก อุ่นใจ รหัสนักศึกษา 62423471131 รุ่นที่44
1.อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
= แนวคิดเกี่ยวกับการแยกการเมืองออกจากการบริหาร -ทำให้เกิดอุดมการณ์ของข้าราชการและถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติในประเทศต่างๆ
-ข้าราชการต้องวางตัวเป็นกลางในทางการเมืองอย่างเคร่งครัด
-ฝ่ายการเมืองต้องเคารพในหลักการไม่ใช้ข้าราชการเป็นเครื่องมือในการแสวงหาผลประโยชน์ การเมืองคือกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวกับกระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐ เพื่อจัดสรรผลประโยชน์และคุณค่าต่างๆทางสังคมประชาชนโดยส่วนรวมอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ซึ่งการจัดสรรผลประโยชน์และคุณค่า ทางสังคมให้แก่ประชาชนจะออกมาในรูปของกฎหมายนโยบาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่ง เป็นต้น
2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหารมีอะไรบ้าง
=ฝ่ายการเมืองมีบทบาทหน้าที่กำหนดนโยบาย ควบคุมกำกับ และดูแลให้การนำนโยบายไป ปฏิบัติบรรลุผลสำเร็จ ส่วนฝ่ายบริหารราชการหรือข้าราชการประจำมีบทบาทหน้าที่ในการนำนโยบายที่ฝ่ายการเมืองกำหนดไปปฏิบัติ กระบวนการทั้งสองมีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกันไม่สามารถแยกออกจากกันได้เพราะทั้งสองฝ่ายจะต้องทำงานร่วมกันและพึ่งพากัน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ บทบาทของฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจำจึงต้องมีการทำงานที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน อย่างไรก็ตามฝ่ายบริหารราชการก็มีการแทรกแซงฝ่ายการเมืองโดยการเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย
นางสาววรารัตน์ เมืองเจริญ รหัส 62423471037 รุ่น 44
งานวันอาทิตย์ที่ 3 เมษายน 2563 (ช่วงเช้า)
*1. กระบวนการบริหารตามหลัก POSDCORB ของกูลลิคและอร์วิก มีอะไรบ้างจงอธิบาย
Luther Gulick ประวัติความเป็นมา
เกิดเมื่อวันที่ 17 มกราคม ค.ศ. 1892 ที่เมือง Osaka ประเทศญี่ปุ่นเป็นชาว American แต่เนื่องจากบิดาเป็นMissionary ที่นั่น Gulick จึงอาศัยอยู่ที่ Osaka ต่อมานักวิชาการด้านรัฐประสาสนศาสตร์มีความเห็นร่วมกันว่า ทฤษฎีแนวความคิดหลักการบริหารได้เจริญถึงจุดสุดยอดในปี ค.ศ. 1937 อันเป็นปีที่ Gulick และ Urwick ได้ร่วมกันเป็นบรรณาธิการหนังสือชื่อ Papers on the Science of Administration : Notes of the Theory of Organization โดยเสนอแนวคิดกระบวนการบริหาร ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี ชื่อว่า ‘ POSDCoRB” อันเป็นคำย่อของภาระหน้าที่ที่สำคัญของนักบริหาร 7 ประการ
ทฤษฎี : กระบวนการบริหาร POSDCoRB
กูลิค และ เออร์วิกค์ ได้รวบรวมแนวคิดทางด้านการบริหารต่าง ๆ เอาไว้ในหนังสือชืื่อ “Paper on the Science of Administration ) โดยเสนอแนวคิดกระบวนการบริหาร ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีชื่อว่า “POSDCoRB” ภาระหน้าที่ที่สำคัญของนักบริหาร 7 ประการ คือ
1. Planning การวางแผนเป็นการวางเค้าโครงกิจกรรมซึ่งเป็นการเตรียมการก่อนลงมือปฏิบัติ เพื่อให้การดำเนินการสามารถบรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. Organizing การจัดองค์การเป็นการกำหนดโครงสร้างขององค์การ โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับงาน เช่น การแบ่งงาน (Division of Work) เป็นกรม กอง หรือแผนก โดยอาศัยปริมาณงาน คุณภาพงาน หรือจัดตามลักษณะเฉพาะของงาน(Specialization)
3. Staffing การจัดบุคลากรปฏิบัติงานเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การนั่นเอง ทั้งนี้เพื่อให้บุคลากรมาปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับการจัด แบ่งหน่วยงานที่กำหนดไว้
4. Directing การอำนวยการเป็นภาระกิจในการใช้ศิลปะในการบริหารงาน เช่น ภาวะผู้นำ (Leadership) มนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) การจูงใจ (Motivation) และการตัดสินใจใจ (Decision making) เป็นต้น
5. Coordinating การประสานงานเป็นการประสานให้ส่วนต่าง ๆ ของกระบวนการทำงานมีความต่อเนื่องกัน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และราบรื่น
6. Reporting การรายงานเป็นกระบวนการและเทคนิคของการแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาตามชั้นได้ทราบถึงผลการปฏิบัติงาน โดยที่มีีความสัมพันธ์กับการติดต่อสื่อสาร (Communication) ในองค์การอยู่ด้วย
7. Budgeting การงบประมาณเป็นภารกิจที่เกี่ยวกับการวางแผนการทำบัญชีการควบคุมเกี่ยวกับการเงินและการคลัง

*2. แนวคิดระบบราชการของ Max Weber ที่ยังคงมีลักษณะดํารงอยู่ในระบบราชการไทยคืออะไรบ้าง
ทฤษฎีระบบราชการ (bureaucracy) Max Weber.
bureaucracy หรือ ระบบราชการ อาจแยกพิจารณาได้เป็น 2 แบบ
(1). Bureaucracy – ในฐานะที่เป็นสถาบันทางสังคม (social institute) สถาบันหนึ่ง นั่นคือ เป็นสถาบันการบริหาร / การปกครองของรัฐ
(2). bureaucracy - ในฐานะที่เป็น รูปแบบหนึ่งของการจัดองค์การ (a form of organization) ในแง่นี้ bureaucracy
รูปแบบแห่งการใช้อำนาจในการปกครองบังคับบัญชา ตามแนวคิดของ Max Weber แบ่งเป็น 3 รูปแบบ
-Charismatic Domination รูปแบบการใช้อำนาจเฉพาะตัวแบบอาศัยบารมี กลไกลการบริหารที่ใช้คือ
Dictatorship, communal
-Traditional domination รูปแบบการใช้อำนาจแบบประเพณีนิยม
-Feudal / Patrimonial (ระบบศักดินา / เจ้าขุนมูลนาย) รูปแบบการใช้อำนาจตามกฎหมาย (Legal domination)
งานวันอาทิตย์ที่ 3 เมษายน 2563 (ช่วงบ่าย)
*1. อธิบายแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ตามแนวทางของประเทศไทย (การบริหารแบบบูรณาการ)
การบริหารงานแบบบูรณาการ : ร่วมคิดร่วมทำร่วมพัฒนา
1.ลักษณะการบริหารงานสมัยใหม่
1.1 การบริหารงานแบบบูรณาการ
1.2 องค์ประกอบสำคัญที่ทำให้การบริหารงานแบบบูรณาการประสบผลสำเร็จ
1.3 ความสามารถหลักขององค์การแบบบูรณาการ
2. การบริหารงานแบบบูรณาการ
2.1 ภาวะผู้นำ (Leadership)
2.2 วัฒนธรรมองค์การ (Organization Culture)
2.3 มีส่วนร่วม (Participative Management)
*2. หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) มีอะไรบ้าง
หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ประกอบ ด้วย 10 หลัก
1. หลักการตอบสนอง (Responsiveness)
2. หลักประสิทธิผล (Effectiveness)
3. หลักประสิทธิภาพ/คุ้มค่า (Efficiency/Value for money)
4. หลักความเสมอภาค (Equity)
5. หลักมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented)
6. หลักการตรวจสอบได้/มีภาระรับผิดชอบ (Accountability)
7. หลักเปิดเผย/โปร่งใส (Transparency)
8. หลักการกระจายอำนาจ (Decentralization)
9. หลักการมีส่วนร่วม (Participation)
10. หลักนิติธรรม (Rule of Law)
ส่งการบ้านช่วงเช้า-ช่วงบ่าย)วันที่08/05/63
นางสาวธัญชนก อุ่นใจ รหัสนักศึกษา 62423471131 รุ่นที่44
1.อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
= แนวคิดเกี่ยวกับการแยกการเมืองออกจากการบริหาร -ทำให้เกิดอุดมการณ์ของข้าราชการและถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติในประเทศต่างๆ
-ข้าราชการต้องวางตัวเป็นกลางในทางการเมืองอย่างเคร่งครัด
-ฝ่ายการเมืองต้องเคารพในหลักการไม่ใช้ข้าราชการเป็นเครื่องมือในการแสวงหาผลประโยชน์ การเมืองคือกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวกับกระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐ เพื่อจัดสรรผลประโยชน์และคุณค่าต่างๆทางสังคมประชาชนโดยส่วนรวมอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ซึ่งการจัดสรรผลประโยชน์และคุณค่า ทางสังคมให้แก่ประชาชนจะออกมาในรูปของกฎหมายนโยบาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่ง เป็นต้น
2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหารมีอะไรบ้าง
=ฝ่ายการเมืองมีบทบาทหน้าที่กำหนดนโยบาย ควบคุมกำกับ และดูแลให้การนำนโยบายไป ปฏิบัติบรรลุผลสำเร็จ ส่วนฝ่ายบริหารราชการหรือข้าราชการประจำมีบทบาทหน้าที่ในการนำนโยบายที่ฝ่ายการเมืองกำหนดไปปฏิบัติ กระบวนการทั้งสองมีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกันไม่สามารถแยกออกจากกันได้เพราะทั้งสองฝ่ายจะต้องทำงานร่วมกันและพึ่งพากัน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ บทบาทของฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจำจึงต้องมีการทำงานที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน อย่างไรก็ตามฝ่ายบริหารราชการก็มีการแทรกแซงฝ่ายการเมืองโดยการเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย
นาย จิตรภานุ ศรีวายะมา 61823451018 รุ่น 41
งาน วันอาทิตย์ ที่ 10 พ.ค. 2563 ช่วงเช้าและบ่าย

1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้างโดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย?
ตอบ กระบวนการบริหาร หรือ POSDCoRB” มีหน้าที่ที่สำคัญของนักบริหาร 7 ประการ คือ
1. Planning การวางแผน = เป็นการวางเค้าโครงกิจกรรมซึ่งเป็นการเตรียมการก่อนลงมือปฏิบัติ เพื่อให้การดำเนินการสามารถบรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. Organizing การจัดองค์การ = เป็นการกำหนดโครงสร้างขององค์การ โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับงาน เช่น การแบ่งงาน เป็นกรม กอง หรือแผนก โดยอาศัยปริมาณงาน คุณภาพงาน หรือจัดตามลักษณะเฉพาะของงาน
3. Staffing การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน = เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การนั่นเอง ทั้งนี้เพื่อให้บุคลากรมาปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับการจัด แบ่งหน่วยงานที่กำหนดไว้
4. Directing การอำนวยการ = ภารกิจในการใช้ศิลปะในการบริหารงาน เช่น ภาวะผู้นำ มนุษย์สัมพันธ์ การจูงใจ และการตัดสินใจ เป็นต้น
5. Coordinating การประสานงาน = เป็นการประสานให้ส่วนต่าง ๆ ของกระบวนการทำงานมีความต่อเนื่องกัน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และราบรื่น
6. Reporting การรายงาน = เป็นกระบวนการและเทคนิคของการแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาตามชั้นได้ทราบถึงผลการปฏิบัติงาน
7. Budgeting การงบประมาณ = เป็นภารกิจที่เกี่ยวกับการวางแผนการทำบัญชีการควบคุมเกี่ยวกับการเงินและการคลัง

แนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานของข้าพเจ้า คือ หน่วยงานของข้าพเจ้าเป็นหน่วยงานของรัฐ เน้นในการเกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ มีรายละเอียดดังนี้
1. การวางแผน = การวางแผนหรือการประชุมเพื่อค้นหาปัญหาและหาวิธีการแก้ไขและเริ่มวางแผนเป็นขั้นตอน
2. การจัดองค์การ = การจัดองค์กรจะแบ่งฝ่าย แต่ละฝ่ายมีหน้าที่จะต้องรับผิดชอบตามสายงาน เพื่อประสิทธิภาพที่ดีและรวดเร็ว
3. การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน = การจัดบุคลากรเข้าฝ่าย จะเลือกคนที่มีความรู้ความสามารถในด้านที่ตรงตามฝ่ายนั้นๆ เพื่องานที่จะออกมาดีที่สุด
4. การอำนวยการ = จะคัดเลือกกำลังพลขึ้นมาเป็นหัวหน้าที่มีความเป็นผู้นำและเด็ดขาดเพื่อแก้ไขปัญหาได้ทันเวลา
5. การประสานงาน = แต่ละฝ่ายจะมีการประสานงานกัน เพื่ออำนวยความสะดวกให้กันและกัน
6. การรายงาน = ทุกวันจะมีการประชุมเพื่อรายงานแผนงานความคืบหน้าให้ผู้บังคับบัญชาทราบเสมอ
7.การงบประมาณ= จะมีฝ่ายที่ดูแลเรื่องงบประมาณ และส่งให้ผู้บังคับบัญชาชั้นสูงพิจารณาเพื่อความเหมาะสมและอนุมัติตามลำดับ

นางสาวกิตนิชา ปรีชาชาญ 61423451132 รุ่น 41 งานวันที่ 9/5/63 เช้า-บ่าย
1.จงอธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ ความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายการเมืองและฝ่ายบริหาร
ในการบริหารระดับประเทศ
พระราชบัญญัติระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 กำหนดให้มีการจัดระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน ออกเป็นราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวง หรือทบวงก็ดำเนินการในลักษณะเดียวกัน โดยมีรัฐมนตรีและ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือทบวงเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดของกระทรวงหรือทบวง ซึ่งบุคคลเหล่านี้ถือเป็นฝ่ายการเมือง
สำหรับในส่วนข้าราชการประจำกระทรวง กำหนดให้มี ปลัดกระทรวง รองปลัด ผู้ช่วยปลัดกระทรวงหรือทบวง เป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการในกระทรวง ส่วนการจัดระเบียบราชการในกรม มีความแตกต่างออกไป ไม่มีฝ่ายการเมืองเข้ามาบริหารจัดการดูแล เพราะถือว่ากรมต่างๆ ส่วนใหญ่สังกัดภายใต้การควบคุมดูแลของกระทรวง มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดูแลแล้ว โดยมีอธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด
ในการบริหารราชการส่วนภูมิภาค
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2537 ได้กำหนดให้แบ่งเป็นจังหวัดและอำเภอ (มาตรา 51) โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัด และนายอำเภอเป็นผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานตามลำดับ ซึ่งทางจังหวัดและอำเภอรับนโยบายและคำสั่งจากราชการส่วนกลางสืบทอดกันมาตามลำดับ ไม่มีฝ่ายการเมืองเข้ามาควบคุมดูแลโดยตรง

แนวความคิดการบริหารแยกจากการเมือง
บทความของวิลสัน (Wilson)ได้ให้ความคิดเห็นและข้อเสนอต่อภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ 4 ประการ ดังนี้
1. ประเทศที่เจริญ คือ ประเทศทีมีการปกครองที่ดี มีรัฐบาลหรือฝ่ายบริหารที่เข้มแข็งและมีระบบราชการที่มีประสิทธิภาพและมีเหตุผล
2. วิชารัฐประศาสนศาสตร์ศึกษาเรื่องการนำเอากฎหมายมหาชนไปปฏิบัติในรายละเอียดอย่างเป็นระบบ การบริหารงานของรัฐเป็นเรื่องที่สอนกันได้
3. วิธีการศึกษาวิชาการบริหารนั้น สามารถสร้างหลักการต่างๆ ทางการบริหารขึ้นมาได้
4. การเมือง คือ การออกกฎหมายและนโยบาย ส่วนการบริหารนั้นเป็นการเอากฎหมายและนโยบายนั้นไปปฏิบัติ
แนวคิดการบริหารไม่สามารถแยกจากการเมือง
ตามแนวความคิดของ แอปเพิลบี (Appleby) เห็นว่าการบริหารงานของรัฐที่แท้จริงแล้วเป็นเรื่องของการเมือง และกระบวนการบริหารเป็นกระบวนการหนึ่งของกระบวนการทางการเมือง สรุปได้ว่า การบริหารงานเป็นส่วนหนึ่งและแยกไม่ออกจากการเมือง และรัฐประศาสนศาสตร์เป็นการมองการเมืองในแง่มุมหนึ่ง




2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหารมีอะไรบ้าง
ตอบ 1. การกําหนดนโยบาย โดยปกติการกําหนดนโยบายของรัฐมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่ 1.1 พระราชบัญญัติซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคําแนะนํา และการยินยอมของรัฐสภา 1.2 พระราชกําหนด ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจ บริหารให้ใช้บังคับ เพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การป้องกันภัยพิบัติสาธารณะ 1.3 พระราชกฤษฎีกา ซึ่งเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัย อํานาจรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติหรือพระราชกําหนดเพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งพระราชกฤษฎีกา มีศักดิ์ต่ํากว่าพระราชบัญญัติและขัดต่อพระราชบัญญัติไม่ได้ 1.4 กฎกระทรวง ซึ่งเป็นกฎที่กระทรวงต่าง ๆ กําหนดขึ้นมาเพื่อให้มีผลบังคับใช้โดยเร็วในการ แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในสังคม
2. การกํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของข้าราชการประจําว่าเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของนโยบายหรือไม่เพียงใด ซึ่งโดยปกติรัฐมนตรีว่าการและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง จะเป็นผู้กํากับ ดูแล ควบคุม และติดตามผลการนํานโยบายไปปฏิบัติของหน่วยงานที่ตนรับผิดชอบ เพื่อให้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของนโยบาย
3. การให้ความเห็นชอบและการแต่งตั้งข้าราชการประจําระดับสูง (ระดับกรมขึ้นไป) เพื่อให้เป็น หลักประกันว่านโยบายของฝ่ายการเมืองจะได้รับการปฏิบัติจากข้าราชการประจําอย่างเต็มความสามารถ หาก ข้าราชการประจําละเลยไม่นํานโยบายไปปฏิบัติอย่างจริงจัง ฝ่ายการเมืองก็มีอํานาจในการโยกย้ายข้าราชการ ดังกล่าวได้จากเหตุผลว่าย้ายเพื่อความเหมาะสมและเพื่อให้นโยบายบรรลุผลสําเร็จ ส่วนการแต่งตั้งข้าราชการ ระดับล่างนั้นเป็นเรื่องของข้าราชการประจํา
นางสาวกิตนิชา ปรีชาชาญ 61423451132 รุ่น 41 งานวันที่ 10/5/63 เช้า-บ่าย
1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้างโดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานของท่านมาอธิบาย
ตอบ P-Planning > การวางแผน
O-Organizing > การจัดการองค์กร
S-Staffing > การจัดสรรและบริหารบุคลากร
D-Directing > การอำนวยการ
C-Controlling > การควบคุม
ในหน่วยงานของข้าพเจ้าได้นำกระบวนการการบริหารมาใช้ประโยชน์โดย
1. มีการวางเป้าหมายองค์กรที่ชัดเจน ส่งผลให้มีทิศทางในการปฎิบัติงาน และสามารถบรรลุเป้าหมายได้ง่ายขึ้น
2. องค์กรมีการวางแผนที่ชัดเจน ครบกระบวนการ ทำให้การทำงานราบรื่น ดำเนินการไปด้วยดี
3. องค์กรมีการใส่ใจเรื่องบุคลากรและกำลังคน ตลอดจนบริหารจัดการแรงงานให้สามารถทำงานได้ราบรื่น ไม่ติดขัด
4. กระบวนการนี้มีการใส่ใจเรื่องการอำนวยการงานบุคลากร ตั้งแต่การจัดโครงสร้างองค์กร การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้ครอบคลุม ไปจนถึงลำดับอำนาจการสั่งการ และให้อำนาจการสั่งการที่เหมาะสม เพื่อให้สามารถควบคุมการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5. มีการใส่ใจบุคลากรตั้งแต่การคัดสรร การทำงาน สวัสดิการต่างๆ ไปจนกระทั่งการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ตั้งแต่บุคลากรเข้ามาในองค์กร จนกระทั่งออกจากองค์กรไป ซึ่งทรัพยากรมนุษย์ถือเป็นหัวใจสำคัญขององค์กรเลยทีเดียว
6. กระบวนการนี้มีการควบคุมตลอดทุกขั้นตอน มีการติดตาม แก้ไข และประเมินผล เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ
7. กระบวนการนี้ให้ความสำคัญกับการควบคุมและอำนวยการที่เกี่ยวเนื่องกับแผนการทำงาน ไปจนถึงระยะเวลาที่กำหนด ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพ สามารถปฎิบัติการตลอดจนผลิตผลผลิตได้ทันตามกำหนดเวลา ไม่เกิดความเสียหายในเรื่องความล่าช้า
8. การใส่ใจทุกขั้นตอน ทุกกระบวนการ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานตั้งแต่ระดับย่อยไปจนถึงระดับองค์กร ทำให้ภาพรวมนั้นส่งเสริมให้องค์กรมีศักยภาพเพิ่มขึ้นได้อย่างยอดเยี่ยม
(ส่งการบ้านช่วงเช้า-บ่าย)วันที่10/05/63
นางสาวธัญชนก อุ่นใจ รหัสนักศึกษา 62423471131 รุ่นที่44

1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
=หลักการบริหารจัดการของแต่ละองค์กรนั้นมีความแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับว่าองค์กรไหนจะเลือกหลักการอะไรมาใช้บริหารองค์กรของตน
POSDC คืออะไร หลักการนี้ประกอบไปด้วยกระบวนการบริหาร 5 ประการ ดังนี้
-P-Planning (การวางแผน)
-O-Organizing (การจัดการองค์กร)
-S-Staffing (การจัดสรรและบริหารบุคลากร)
-D-Directing (การอำนวยการ)
-C-Controlling (การควบคุม)

P-Planning(การวางแผน)
การวางแผนนั้นเริ่มตั้งแต่การกำหนดเป้าหมายขององค์กร โครงสร้าง นโยบาย ตลอดจนลำดับกระบวนการปฎิบัติการในส่วนต่างๆ ไปจนถึงวิธีการดำเนินงานในส่วนต่างๆให้บรรลุผลการวางแผน
O-Organizing(การจัดการองค์กร)
กำหนดโครงสร้างองค์กร กำหนดตำแหน่งงาน จัดสรรทรัพยากรบุคคลเพื่อลงในตำแหน่งงานต่างๆ รวมถึงจัดระบบระเบียบในการทำงาน การแบ่งหน้าที่แต่ละส่วนให้ชัดเจน ไม่ทำงานทับซ้อน และต้องทำงานประสานกันให้ราบรื่น ครอบคลุมการทำงานทั้งหมดไม่ให้เกิดปัญหา
S-Staffing(การจัดสรรและบริหารบุคลากร)
การคัดสรรบุคลากรที่มีคุณภาพและเหมาะสมเพื่อจัดสรรให้ทำงานในตำแหน่งต่างๆ ขององค์กร
D-Directing(การอำนวยการ)
บริหารจัดการตลอดจนดำเนินการทุกอย่างให้ปฎิบัติการได้อย่างราบรื่น จนบรรลุเป้าหมายที่วางไว้
C-Controlling(การควบคุม)
การบริหารจัดการทุกอย่างให้ตรงตามแผนและระยะเวลาที่วางไว้ รวมถึงการแนะนำ ช่วยเหลือ รายงานผล ตลอดจนประเมินผลการทำงานอย่างสม่ำเสมอเพื่อติดตามการทำงานทุกกระบวนการไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด
ประโยชน์ของการนำเอากระบวนการ POSDC มาบริหารในหน่วยงาน
-มีการวางเป้าหมายหน่วยงานที่ชัดเจน ส่งผลให้มีทิศทางในการปฎิบัติงาน และสามารถบรรลุเป้าหมาย
-หน่วยงานมีการวางแผนที่ชัดเจน ครบกระบวนการทำให้การทำงานราบรื่น
-หน่วยงานมีการใส่ใจเรื่องบุคลากรและกำลังคน ตลอดจนบริหารจัดการแรงงานให้สามารถทำงานได้ไม่ติดขัด
-กระบวนการนี้มีการใส่ใจเรื่องการอำนวยการงานบุคลากร ตั้งแต่การจัดโครงสร้างหน่วยงาน การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้ครอบคลุม ไปจนถึงลำดับอำนาจการสั่งการ และให้อำนาจการสั่งการที่เหมาะสม เพื่อให้สามารถควบคุมการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-มีการใส่ใจบุคลากรตั้งแต่การคัดสรรการทำงาน สวัสดิการต่างๆไปจนกระทั่งการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ตั้งแต่บุคลากรเข้ามาในหน่วยงาน จนกระทั่งออกจากหน่วยงานไป
-กระบวนการนี้มีการควบคุมตลอดทุกขั้นตอน มีการติดตาม แก้ไข และประเมินผล เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ
-กระบวนการนี้ให้ความสำคัญกับการควบคุมและอำนวยการที่เกี่ยวเนื่องกับแผนการทำงานทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพ สามารถปฎิบัติการตลอดจนผลิตผลผลิตได้ทันตามกำหนดเวลา ไม่เกิดความเสียหายในเรื่องความล่าช้า
-การใส่ใจทุกขั้นตอน ทุกกระบวนการ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานตั้งแต่ระดับย่อยไปจนถึงระดับหน่วยงาน ทำให้ภาพรวมนั้นส่งเสริมให้หน่วยงานมีศักยภาพเพิ่มขึ้น
Araya Wongsa said…
ส่งการบ้านสัปดาห์ที่ 2 ของวันที่9-10พฤษภาคม63
สตต หญิงอารยา วงษา รหัสนักศึกษา62423471117
งานวันเสาร์ที่ 9 พฤษภาคม 63
1.อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ตอบ การเมืองและการบริหาร(Politics& Administration)ในการปกครองบริหารประเทศต้องอาศัยบุคลากร 2ฝ่ายคือ
1. ฝ่ายการเมือง/ข้าราชการการเมือง
“ข้าราชการการเมือง” “ฝ่ายการเมือง” นักการเมืองที่ได้รับการเลือกตั้งจากประชาชนหรือได้รับการแต่งตั้งจากผู้มีอํานาจทางการเมืองให้ทําหน้าที่รับผิดชอบกิจการทางด้านการเมือง เช่น นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี รมต.ที่ปรึกษาต่างๆ ฯลฯ
2. ฝ่ายบริหารงานประจํา/ข้าราชการประจํา
บทบาทอํานาจหน้าที่หลักคือ -เป็นผู้รับนโยบายที่ฝ่ายการเมืองกําหนดไว้และมอบหมายให้ออกไปปฏิบัติจัดทําให้บรรลุผลตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์อย่างสูงสุด -ฝ่ายบริหารงานประจํา(ข้าราชการประจํา)ต้องเป็นผู้นํานโยบายไปปฏิบัติโดยอาศัยอํานาจที่มีอยู่ตามกฎหมายระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่างๆ และกําหนดแนว ทางการทํางานให้เกิดความสําเร็จสูงสุด
ความสัมพันธ์ ระหว่างฝ่ายบริหารและฝ่ายการเมือง มีลักษณะเพื่อให้ทั้ง 2ฝ่าย สามารถร่วมมือกันในการปกครองบริหารประเทศ เพื่อผลประโยชน์สาธารณะได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุดต้องแยกการบริหารออกจากการเมืองอย่างเด็ดขาด(Politics/Administrative Dichotomy)เพื่อให้การบริหารงานของรัฐ มีความเป็นอิสระ ปลอดจาก อิทธิพลทางการเมือง ทําหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เสนอแนวคิดนี้ได้แก่ -Woodrow Wilson, Frank Goodnow , Leonard White

2.บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหารมีอะไรบ้าง
ตอบ บทบาทข้าราชการฝ่ายการเมือง
กําหนดทิศทางในการบริหารและพัฒนาประเทศว่าจะเป็นไปในทิศทางใดอย่างไร เช่นต้องการพัฒนาประเทศไทยให้เป็น ศูนย์กลางอาหาร- ศูนย์กลางการเกษตรของโลก - ศูนย์กลางการบิน- บทบาทหลักของฝ่ายการเมืองคือการออกกฎหมายและกําหนดนโยบายที่จะนํามาใช้เป็นกรอบทิศทางของการบริหารประเทศ
บทบาทข้าราชการประจํา
- เป็นผู้รับนโยบายที่ฝ่ายการเมืองกําหนด ไว้และมอบหมายให้ออกไปปฏิบัติจัดทําให้บรรลุผลตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์อย่างสูงสุด
-ฝ่ายบริหารงานประจํา(ข้าราชการประจํา)ต้องเป็นผู้นํานโยบายไปปฏิบัติโดยอาศัยอํานาจที่มีอยู่ตามกฎหมาย ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่างๆและกําหนดแนวทางการทํางานให้เกิดความสําเร็จสูงสุด

งานวันอาทิตย์ที่ 10 พฤษภาคม 63
1.กระบวนการการบริหารมีอะไรบ้างโดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
ตอบ กระบวนการบริหารจากที่หน่วยงานของข้าพเจ้า มีทั้งหมด 5 กระบวนการดังนี้โดยนำมาปฏิบัติร่วมกันในหน่วยงานเพื่อเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและผลสำเร็จที่ดีที่สุด
1.P-Planning >การวางแผนนั้นเริ่มตั้งแต่การกำหนดเป้าหมายขององค์กรโครงสร้าง นโยบายตลอดจนลำดับกระบวนการปฎิบัติการในส่วนต่างๆตั้งแต่ต้นจนจบไปจนถึงวิธีการดำเนินงานในส่วนต่างๆให้บรรลุผลการวางแผนนี้ยังต้องสามารถรับรู้ติดตามเข้าใจตลอดจนวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆได้ทั้งในและนอกองค์กรที่จะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารองค์กรอีกด้วย
2.O-Organizing >การจัดการองค์กรนี้เริ่มตั้งแต่การกำหนดโครงสร้างองค์กรกำหนดตำแหน่งงานจัดสรรทรัพยากรบุคคลเพื่อลงในตำแหน่งงานต่างๆ รวมถึงจัดระบบระเบียบในการทำงานทั้งหมดด้วย สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการจัดโครงสร้างองค์กรนั้นก็คือการแบ่งหน้าที่แต่ละส่วนให้ชัดเจนไม่ทำงานทับซ้อนกันและต้องทำงานประสานกันให้ราบรื่นได้ด้วยครอบคลุมการทำงานทั้งหมดไม่ให้เกิดปัญหา
3.S-Staffing >การจัดสรรและบริหารบุคลากร การบริหารจัดการบุคลากรนั้นเริ่มตั้งแต่การคัดสรรบุคลากรที่มีคุณภาพและเหมาะสมเพื่อจัดสรรให้ทำงานในตำแหน่งต่างๆ ขององค์กรจากนั้นก็ต้องดูแลบุคลากรตลอดระยะเวลาจนกว่าบุคลากรจะออกจากองค์กรตั้งแต่การบริหารงานบุคคลงานสวัสดิการการพัฒนาทรัพยากรบุคคลการเลื่อนตำแหน่ง โยกย้าย เป็นต้น
4.D-Directing >การอำนวยการก็คือบริหารจัดการตลอดจนดำเนินการทุกอย่างให้ปฎิบัติการได้อย่างราบรื่นจนบรรลุเป้าหมายที่วางไว้การอำนวยการนี้เกี่ยวเนื่องทั้งเรื่องของทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรอื่นๆ ไปพร้อมกันด้วยให้สามารถทำงานร่วมกันได้ตลอดจนอำนวยความสะดวกในการทำงาน การอำนวยการยังหมายถึงการสั่งการ อำนาจหน้าที่และการปฎิบัติการให้สามารถทำงานได้
5.C-Controlling >การควบคุมนี้ก็คือการบริหารจัดการทุกอย่างให้ตรงตามแผนและระยะเวลาที่วางไว้ การควบคุมนี้ตั้งแต่การควบคุมทรัพยกร, เครื่องจักร, ไปจนถึงบุคลากรให้การปฎิบัติการทักอย่างมีความราบรื่น และดำเนินการตามแผนการได้สำเร็จทั้งยังตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ด้วยการควบคุมนี้นอกจากการสั่งการ กำหนดการ บังคับการแล้ว ก็ยังรวมถึงการแนะนำ ช่วยเหลือ รายงานผล ตลอดจนประเมินผลการทำงานอย่างสม่ำเสมอเพื่อติดตามการทำงานทุกกระบวนการไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดใดๆ ด้วย
นางสาววรารัตน์ เมืองเจริญ รหัส 62423471037 รุ่น 44
งานประเมินความรู้ภาคเช้า-บ่าย
• คําถามวันเสาร์ที่ 9 เมษายน 2563
1. อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง
ความสัมพันธ์ที่เหมาะสมระหว่างฝ่ายการเมือง และฝ่ายบริหาร ควรอยู๋ในระดับใด จึงทําให้ทั้งสองฝ่ายสามารถทํางานร่วมกันได้อย่างดี
-เพื่อให้การบริหารงานของรัฐมีความเป็นอิสระ ปลอดจากอิทธิพลทางการเมือง-ฝ่ายบริหาร/ข้าราชการประจําสามารถทาหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-ผู้เสนอแนวคิดนี้ได้แก่
- Woodrow Wilson, Frank
Goodnow , Leonard White
ต้องแยกการบริหารออกจากการเมืองอย่างเด็ดขาด (Politics/Administrative Dichotomy)
จากแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแลการเมองของนักวิชาการ 2 กลุ่ม มีความแตกต่างกัน
กลุ่มที่1
-การบริหารต้องแยกจากการเมืองอย่างเด็ดขาด
-ฝ่ายการเมือง -กำหนดนโยบายเพื่อเป้นแนวทางบริหารบ้านเมือง
นโยบายสาธารณะ เป็นกลาง
ฝ่ายบริหาร - มีหน้าที่รับนโยบายออกไปปฏิบัติให้บรรลุผล
ความสัมพันธ์ตามแนวตั้ง (Vertical) จากระดับบนลงสู๋ระดับล่าง ด้านเดียว โดยมีนโยบายสาธารณะ เป็นต้วเชื่อม
กลุ่มที่ 2 การบริหารต้องมีความสัมพันธ์กับการเมือง
ฝ่ายการเมือง - กำหนดนโยบายและมีบทบาทในการกำกับ ควบคุม ตรวจสอบการนำนโยบายไปปฏฺิบัติด้วย
นโยบายสาธารณะ เป็นกลาง
ฝ่ายบริหาร - นำนโยบายไปปฏิบัติ และเข้าไปมรส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายโดยอาศัย ความรอบรู้ ข้อมูล ความชำนาญงาน เพื่อให้ได้นโยบายที่ดี เหมาะสม ไม่มีปัญหาในการปฏิบัติ
ความสัมพันธ์ตามแนวคิดนี้มีลักษณะเป็นแนวดิ่งจากบนลงล่าง (Top-Down) และล่างขึ้นบน (Bottom-Up) โดยมีนโยบายสาธารณะเป็นตัวเชื่อม
นางสาววรารัตน์ เมืองเจริญ รหัส 62423471037 รุ่น 44
งานประเมินความรู้ภาคบ่าย
• คําถามวันเสาร์ที่ 9 เมษายน 2563
ข้อ 2 บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจํารวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง
1. ฝ่ายการเมือง /ข้าราชการการเมือง
2. ฝ่ายบริหารงานประจำ /ข้าราชการประจํา
ข้าราชการการเมือง ฝ่ายการเมือง
นักการเมืองที่ได้รับการเลือกตั้งจากประชาชน หรือได้รับการแต่งตั้งจากผู้มีอำนาจทางการเมืองให้ทำหน้าที่รับผิดชอบกิจการทางด้านการเมือง เช่น นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ส.ส. ส.ว. เลขานุการ รมต. ผู้ช่วยเลขานุการ รมต. โฆษกรัฐบาล เลขาธิการนายก รมต. ที่ปรึกษาต่างๆ ฯลฯ
บทบาทหลักของฝ่ายการเมืองคือ การออกกฎหมายละ กำหนดนโยบายที่จะนำมาใช้เป็นกรอบทิศทางของการบริหารประเทศ
ฝ่ายบริหารงานประจำ/ข้าราชการประจำ
-บุคคลที่ได้รับการบรรจุแต่งตั้งตามกฎหมายและระบบคุณธรรม
-พ.ร.บ. ระเบียบราชการพลเรือน ทหาร ตำรวจ ตุลาการ ฯลฯ และได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนในกระทรวง ทบวง กรม ต่างๆ ได้แก่ ข้าราชการประจำ ตั้งแต่ระดับปลัดกระทรวง อธิบดี ลงมา และผู้ที่เป็นพนักงานในองค์การของรัฐประเภทอื่นๆ เช่น รัฐวิสาหกิจ
บทบาทอำนาจหน้าที่หลัก คือ เป็นผู้รับนโยบายที่ฝ่ายการเมืองกำหนดไว้และมอบหมายให้ออกไปปฏิบัติจัดทำให้บรรลุผลตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์อย่างสูงสุด
ฝ่ายบริหารงานประจำ/ข้าราชการประจำ ต้องเป็นผู้นำนโยบายไปปฏิบัติโดยอาศัยอำนาจที่มีอยู่ตามกฎหมาย ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่างๆ และกำหนดแนวทางการทำงานให้เกิดความสำเร็จสูงสุด
ดังนั้นการตัดสินใจในนโยบายไม่ใช่อยู่ที่ฝ่ายการเมืองเท่านั้น แต่ข้าราชการประจำก็สามารถเข้าไปมีบทบาทในการกำหนดนโยบายร่วมกับฝ่ายการเมืองได้ด้วย

นางสาววรารัตน์ เมืองเจริญ รหัส 62423471037 รุ่น 44
งานประเมินความรู้ภาคเช้า-บ่าย
คำถามวันอาทิตย์ที่ 10 เมษายน 2563
1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานมาอธิบาย
กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานมาอธิบาย
หลักการนี้ประกอบไปด้วยกระบวนการบริหาร 5 ประการ ดังนี้
P-Planning > การวางแผน
การวางแผนนั้นเริ่มตั้งแต่การกำหนดเป้าหมายขององค์กร โครงสร้าง นโยบาย ตลอดจนลำดับกระบวนการปฎิบัติการในส่วนต่างๆ ตั้งแต่ต้นจนจบ ไปจนถึงวิธีการดำเนินงานในส่วนต่างๆ ให้บรรลุผล การวางแผนนี้ยังต้องสามารถรับรู้ ติดตาม เข้าใจ ตลอดจนวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ ได้ทั้งในและนอกองค์กรที่จะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารองค์กรอีกด้วย
O-Organizing > การจัดการองค์กร
ารจัดการองค์กรนี้เริ่มตั้งแต่การกำหนดโครงสร้างองค์กร กำหนดตำแหน่งงาน จัดสรรทรัพยากรบุคคลเพื่อลงในตำแหน่งงานต่างๆ รวมถึงจัดระบบระเบียบในการทำงานทั้งหมดด้วย สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการจัดโครงสร้างองค์กรนั้นก็คือการแบ่งหน้าที่แต่ละส่วนให้ชัดเจน ไม่ทำงานทับซ้อนกัน และต้องทำงานประสานกันให้ราบรื่นได้ด้วย ครอบคลุมการทำงานทั้งหมดไม่ให้เกิดปัญหา ประเมินจำนวนพนักงานให้พอดี ไม่มากหรือน้อยจนเกินไป และต้องลำดับความสำคัญของตำแหน่ง เคลียร์บทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน ตลอดจนให้อำนาจในการสั่งการที่เหมาะสมด้วย
S-Staffing > การจัดสรรและบริหารบุคลากร
การบริหารจัดการบุคลากรนั้นเริ่มตั้งแต่การคัดสรรบุคลากรที่มีคุณภาพและเหมาะสมเพื่อจัดสรรให้ทำงานในตำแหน่งต่างๆ ขององค์กร จากนั้นก็ต้องดูแลบุคลากรตลอดระยะเวลาจนกว่าบุคลากรจะออกจากองค์กร ตั้งแต่การบริหารงานบุคคล งานสวัสดิการ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล การเลื่อนตำแหน่ง โยกย้าย เป็นต้น
D-Directing > การอำนวยการ
การอำนวยการก็คือบริหารจัดการตลอดจนดำเนินการทุกอย่างให้ปฎิบัติการได้อย่างราบรื่น จนบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ การอำนวยการนี้เกี่ยวเนื่องทั้งเรื่องของทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรอื่นๆ ไปพร้อมกันด้วย ให้สามารถทำงานร่วมกันได้ ตลอดจนอำนวยความสะดวกในการทำงาน การอำนวยการยังหมายถึงการสั่งการ อำนาจหน้าที่ และการปฎิบัติการให้สามารถทำงานได้ ตลอดจนการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นด้วย ซึ่งหนึ่งในหัวใจสำคัญของการอำนวยการก็คือการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพด้วยนั่นเอง
C-Controlling > การควบคุม
การควบคุมนี้ก็คือการบริหารจัดการทุกอย่างให้ตรงตามแผนและระยะเวลาที่วางไว้ การควบคุมนี้ตั้งแต่การควบคุมทรัพยกร, เครื่องจักร, ไปจนถึงบุคลากร ให้การปฎิบัติการทักอย่างมีความราบรื่น และดำเนินการตามแผนการได้สำเร็จ ทั้งยังตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ด้วย การควบคุมนี้นอกจากการสั่งการ กำหนดการ บังคับการแล้ว ก็ยังรวมถึงการแนะนำ ช่วยเหลือ รายงานผล ตลอดจนประเมินผลการทำงานอย่างสม่ำเสมอเพื่อติดตามการทำงานทุกกระบวนการไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดใดๆ ด้วย
วรรษมล สังวรินทะ รหัสนักศึกษา62423471075
วันอาทิตย์ที่ 10
อธิบายกระบวนการบริหารในหน่วยงานของท่านในสถานการณ์​โควิด-19
ตอบ ดำเนินการตรวจวัดอุณหภูมิของพนักงานทุกคนที่เข้าทำงานภายในร้านค้าและอาคารสำนักงาน ต้องมีค่าไม่เกิน 37.5 องศา แล้วติดสติกเกอร์ สีต่างๆ (สีสติกเกอร์จะเปลี่ยนทุกวันเพื่อการตรวจสอบ) ตรวจวัดอุณหภูมิผู้รับเหมาทุกคนก่อนแลกบัตรขึ้นอาคาร ตรวจวัดอุณหภูมิพนักงานก่อนแลกบัตรเข้าห้องฝึกอบรม ตรวจวัดอุณหภูมิเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย / แม่บ้าน คนสวน ทุกคน ขณะรวมแถวก่อนปฏิบัติงาน
ด้านเครือข่ายสาขาจัดให้พนักงานที่ปฏิบัติงานในสาขาสวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่ให้บริการลูกค้า และจัดเตรียมหน้ากากอนามัย สำหรับเตรียมความพร้อมให้กับพนักงานกลุ่มเสี่ยงหากพบการติดต่อในพื้นที่
ขณะเดียวกันบริษัทได้ออกสื่อประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้และแนวทางการปฏิบัติเพื่อระวังและป้องกันตัวจากโรคดังกล่าวแก่พนักงานอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง โดยมีคณะกรรมการติดตามประเมินสถานการณ์และมีการประชุมเพื่อกำหนดมาตรการเพิ่มเติมทุกวัน
Unknown said…
งาน วันเสาร์ที่ 9-10 พ.ค. 2563 (เช้าบ่าย)
นายสุพิษ ดาบส รหัส 61423451024 รุ่น 41
1.)อธิบายแนวคิดการบริหารกับการเมืองรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง?
ตอบ แนวคิดการบริหารการเมืองในเรื่องมาตราการในการเปิดร้านขายอาหาร โดยผู้ประกอบการร้านอาหารจะต้องให้ความร่วมมือกับกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุขที่ให้คำแนะนำผู้ประกอบการร้านอาหารตรียมความพร้อมและถือปฏิบัติตามคำแนะนำของกรมอนามัย เพื่อสร้างสุขอนามัยที่ดีให้กับตนเองและผู้ใช้บริการป้องกันการแพร่เชื้อโควิด-19 ในส่วนผู้ประกอบการร้านอาหาร ผู้ให้บริการ พนักงานและผู้เกี่ยวข้องกับงานบริการทุกคน ต้องให้ความสำคัญด้านความสะอาด ปลอดภัย สร้างสุขอนามัยที่ดีให้กับตนเองและลูกค้าผู้ใช้บริการ และปฏิบัติตามมาตรการของกรมอนามัยในการควบคุมป้องกันเชื้อโควิด-19 อย่างเคร่งครัด ดังนี้
1.มีการตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายแก่พนักงานของร้านทุกคนที่ให้บริการรวมถึงลูกค้าที่มาใช้บริการ 2.กำหนดให้สบู่และน้ำหรือเจลแอลกอฮอล์ไว้สำหรับพนักงานที่ให้บริการ 3.จัดหาหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยสำหรับพนักงานทุกคนอย่างเพียงพอใส่หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยและสวม Face shield ตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน 4.จัดที่นั่งเว้นระยะห่าง 1 เมตรให้กับลูกค้าที่มาใช้บริการ ในส่วนของลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการก็ต้องปฏิบัติตัวด้วยเช่นกันคือ ต้องสวมใส่แมสทุกครั้งและต้องล้างมือด้วยเจลหรือเจลแอลกอฮอล์ทุกครั้งที่มาใช้บริการ.

2.)บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองและบทบาทของข้าราชการประจำรวมทั้งสภาพแวดล้อมทางการบริหาร มีอะไรบ้าง?
ตอบ บทบาทของข้าราชการฝ่ายการเมืองกับข้าราชการประจำคือ การติดตามสถานการณ์ของประชาชนในการเฝ้าระวังของเรื่องมาตราการควบคุมของโรคไวรัสโควิด-19ทางภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ร่วมมือกันหลายฝ่ายเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19) โดยในส่วนของมาตราการการป้องกันได้มีการตั้งจุดคัดกรองประชาชนที่เดินทางเข้ามาในพื้นที่และจัดพื้นที่ให้กับประชาชนเพื่อการกักตัวโดยใช้ของการกักตัวประมาณ 14 วันตามระยะเวลาการแสดงอาการของเชื้อโรคโควิด-19และส่งเจ้าหน้าที่ อสม เข้าไปตรวจเช็ควัดไข้ตลอดเวลาที่ประชาชนถูกกักตัว โดยผู้ควบคุมหน่วยของแต่ละจังหวัดจะรายงานสถานการณ์ของประชาชนในการเฝ้าระวังของเรื่องมาตราการควบคุมของโรคไวรัสโควิด-19 โดยมีการประชุมทุกวันผ่านระบบวีดีโอคอนเฟอเร้นซ์กับศูนย์ควบคุมโรคโควิด-19ที่ทางรัฐบาลตั้งขึ้นเพื่อประเมินสถาณการณ์ ในส่วนมาตรการของภาครัฐในช่วง พ.ร.ก.ฉุกเฉิน หากผู้ใดฝ่าฝืนต้องจำคุกถึง 2 ปี หรือปรับ 4 หมื่น.
สำหรับการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในด่านคัดกรองประชาชนได้ให้มีจุดล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์สำหรับเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและให้เจ้าพนักงานที่ปฏิบัติงานสวมใส่แมสทุกครั้งตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน.



1.กระบวนการบริหารมีอะไรบ้าง ? โดยนำแนวทางของกระบวนการบริหารในหน่วยงานท่านมาอธิบาย
ตอบ. กระบวนการบริหาร POSDCoRB ภาระหน้าที่ที่สำคัญของนักบริหาร 7 ประการ คือ
1. Planning (การวางแผน )
2. Organizing (การจัดองค์การ )
3. Staffing (การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน)
4. Directing ( การอำนวยการ )
5. Coordinating (การประสานงาน)
6. Reporting ( การรายงาน )
7. Budgeting (การงบประมาณ)
ในส่วนของกระบวนการบริหารในบริษัทเอกชนที่ทำงานนั้น ได้รับคำสั่งจากจากรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ที่สื่อสารให้กับผู้บริหารและหัวหน้างานเกี่ยวกับการหยุดพักการเดินสายการผลิตชั่วคราวจากสถานการณ์ COVID -19 และเพื่อให้มั่นใจว่าเราจะสามารถกลับมาเปิดการผลิตได้อย่างราบรื่น ไม่มีเหตุการณ์อะไรมาทำให้สะดุด บริษัทขอให้ผู้บริหาร หัวหน้างาน และพนักงานทุกท่านช่วยกันรักษาและปฏิบัติตามที่บริษัทกำหนด ทั้งการดูแลและสร้างจิตสำนึกในการป้องกันตัวเองเพื่อไม่ให้เกิดความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัส COVID-19 และ ปฏิบัติตามมาตรการของภาครัฐฯ และคำสั่งบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด อาทิเช่น
1.ห้ามออกนอกเคหะสถานระหว่าง 22.00 - 04.00 ของวันถัดไป
2.งดหรือชะลอการเดินทางข้ามจังหวัด
3.งดการชุมนุม ทำกิจกรรม หรือการมั่วสุม
4.งดการเดินทางเข้า-ออก ราชอาณาจักรไทย
5.ห้ามเข้าไปในพื้นที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ในส่วนของบริษัทที่มีข้อปฏิบัติต่อผู้บริหาร หัวหน้างาน และพนักงานที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรการของภาครัฐฯ และคำสั่งบริษัทฯนั้น บริษัทสามารถบอกเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชยได้ทันที.

Popular posts from this blog

วีดิโอการพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม: สถานการณ์จำลอง

การบริหารการพัฒนา กลุ่ม 391 กองทัพบก Module 1 วันเสาร์ที่ 30-วันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม 2565

นโยบายรัฐบาลไทยยุคนางสาวยิ่งลักษณ์ ชิณวัตร