Foundation of Public Administration for Political Courses 1-2556


Foundation of Public Administration for Political Courses



มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
แนวการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

1. รหัสวิชา    2551103
2. ชื่อวิชา (ภาษาไทย) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์    หน่วยกิต   3(3-0-6)
                 (ภาษาอังกฤษ                 Introduction to Public Administration
3. วิชาสอนในระดับ             X    ปริญญาตรี                   ปริญญาโท                    ปริญญาเอก
4. วิชาบังคับก่อนหน้านี้   หลักสังคมวิทยา   
5. วิชาที่ต้องเรียนร่วมกับรายวิชานี้  สังคมวิทยาชนบทและเมือง 
6. สถานที่เรียน         X      ในมหาวิทยาลัย             ศูนย์การศึกษา.....................................
7. ภาคเรียนที่         1    ปีการศึกษา 2556
8. อาจารย์ผู้สอน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
    โทรศัพท์ภายใน 02-2445816
     โทรศัพท์มือถือ  087-1111165
      e-mail  Sup_w_at@hotmail.com
9. หลักสูตร รัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์

10. คำอธิบายรายวิชา

            ศึกษาแนวความคิด  ทฤษฎี  ความหมาย พัฒนาการและความสัมพันธ์ของวิชารัฐประศาสนศาสตร์  โดยมุ่งเน้นให้ครอบคลุมถึงนโยบายสาธารณะ  การบริหารงานบุคคล  การบริหารงานคลังและงบประมาณ  องค์การ และกระบวนการบริหารงาน11. จุดประสงค์
         11.1 พุทธิพิสัย (ความรู้ที่ได้รับจากการเรียน)
              1) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
              2) เชื่อมโยงความรู้พื้นฐานทางทฤษฎี รัฐประศาสนศาสตร์ ลักษณะของรัฐประศาสนศาศตร์ และสามารถประยุกต์ลักษณะต่างของแนวคิดเพื่ออธิบายให้สอดคล้องกับปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง             
3)สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องมาใช้ประโยชน์ในเชิงวิชาการและปฏิบัติ
           11.2 ทักษะพิสัย (ความสามรถ ทักษะการปฏิบัติ การใช้ IT ที่ได้รับจากการเรียน)
                        1) มีทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสาร  วิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบาย รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะที่เหมาะสมเพื่อแก้ไขปัญหา
                2) เข้าใจในบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และปฏิบัติหน้าที่ได้ถูกต้อง            
   3) ทักษะสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
    4 ) ทักษะในการใช้เทคโนโลยี เครื่องมือ อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ ในการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการทำงาน เช่น การ
โต้ตอบ แสดงความคิดเห็น ประสานการทำงาน การรับ-ส่งงาน การซักถามข้อสงสัย
11.3 จิตพิสัย (ทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรม ที่ได้รับจาการเรียน)
                          1) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต                   
              2) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
               3) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
              4) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
              5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
12. วิธีการและการจัดการเรียนการสอน
  1)  การสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายถึงเนื้อหาหลักของวิชา ให้ผู้เรียนทำการค้นคว้า หรือทำความเข้าใจประเด็นปลีกย่อยด้วยตนเอ             
  2) การจัดการเรียนการสอนเน้นการวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง มีการพัฒนาค้นหาความรู้แล้วมาเสนอเพื่อสร้างทักษะในการอภิปราย นำเสนอและการศึกษาจากสถานที่จริง
                  3) การเรียนการสอนจะแทรกเนื้อหา/กิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ทั้งนี้ ได้นำรูปแบบการเรียนการสอนแบบต่างๆเพื่อทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการเรียนรู้ ทักษะในการคิดอย่างมีระบบ และการวิจัยและการแก้ปัญหา มีความรู้ในเรื่องที่ตนเองสนใจ

13. แนวการจัดการเรียนการสอน
สัปดาห์
เนื้อหา
กิจกรรมการเรียนการสอน
สื่อ การสอน
การวัดผล
1
1. แนะนำบทเรียน
2. แนะนำการเรียนการสอน
    การวัดและประเมินผล
3.แนะนำเอกสารตำราและการ
   ค้นคว้าแหล่งการเรียน
    การสอน
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน  หนังสือ ตำรา
เวบไซด์
บรรยาย
 เอกสารประกอบการสอน  หนังสือ ตำรา
 เว็บไซด์
 กรณีศึกษา
ตั้งคำถามและตอบคำถามที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาที่ศึกษา


สัปดาห์
เนื้อหา
กิจกรรมการเรียนการสอน
สื่อ การสอน
การวัดผล

4. ประเมินความรู้ก่อนดำเนิน
    การเรียนการสอน



2-3
5. วิวัฒนาการของการศึกษา
รัฐประศาสนศาสตร์(บทที่1)       
      - พาราไดม์รัฐประศาสนศาสตร์ของ Nicholas Henry
      - ขอบข่ายรัฐประศาสนศาสตร์ในทศวรรษใหม่
       -รัฐประศาสนศาสตร์และการจัดการสาธารณะใหม่
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน  หนังสือ ตำรา
เวบไซด์
บรรยาย
 เอกสารประกอบการสอน  หนังสือ ตำรา
 เว็บไซด์
 กรณีศึกษา

ตั้งคำถามและตอบคำถามที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาที่ศึกษา
ทดสอบย่อย

4-5
6. นโยบายสาธารณะและการ
วางแผน(บทที่ 2)
   - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ
   - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวางแผน
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน  หนังสือ ตำรา
 เว็บไซด์  การ
ยกตัวอย่าง กรณีศึกษาประกอบการบรรยาย
บรรยาย
 เอกสารประกอบการสอน  หนังสือ ตำรา
 เว็บไซด์
 กรณีศึกษา
ตั้งคำถามและตอบคำถามที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาที่ศึกษา
6-7
7. การบริหารทรัพยากรมนุษย์
(บทที่3)
   - ความหมายและความ
สำคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย์
    - แนวความคิดทางการบริหารทรัพยากรมนุษย์
   - บทบาทและหน้าที่ของ
ฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน  หนังสือ ตำรา
เว็บไซด์  การ
ยกตัวอย่าง กรณีศึกษาประกอบการบรรยาย
อภิปราย นำเสนอ

บรรยาย
เอกสารประกอบการสอน  หนังสือ ตำรา
เว็บไซด์
กรณีศึกษา

ตั้งคำถามและตอบคำถามที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาที่ศึกษา
ทดสอบย่อย

8-9
8. องค์การและการจัดองค์การ
(บทที่ 4)
     - ความหมายขององค์การ
บรรยาย
ศึกษาจากตัวอย่างในสถานที่จริงซึ่งยกมาเป็น กรณีศึกษา  
บรรยาย
เอกสารประกอบการ   
สอบกลางภาค
สัปดาห์
เนื้อหา
กิจกรรมการเรียนการสอน
สื่อ การสอน
การวัดผล

     - วิวัฒนาการของการจัดโครงสร้างและกระบวนการ
ในการทำงานภายในองค์การ
      - การจัดองค์การและการจำแนกประเภทขององค์การ
ประกอบการบรรยายในชั้น
เรีย
อภิปราย นำเสนอรายงาน
สอน  หนังสือ  
ตำรา
เว็บไซด์
กรณีศึกษา


10-11
9. การบริหารงานคลังสาธารณะ (บทที่ 5)
    - ความหมาย ความสำคัญของการบริหารงานคลังสาธารณะและการบริหารงานคลังสาธารณะ
บรรยาย
ศึกษาจากตัวอย่างในสถานที่จริงซึ่งยกมาเป็น กรณีศึกษาประกอบการบรรยายในชั้นเรีย
อภิปราย นำเสนอรายงาน

บรรยาย
เอกสารประกอบการสอน  หนังสือ ตำรา
เว็บไซด์
กรณีศึกษา

นำเสนอ
จัดทำรายงานสรุป
12
10. เทคนิคการบริหาร
(บทที่ 6)
      - การวินิจฉัยสั่งการ
      - การติดต่อสื่อสาร
      - การจูงใจ
บรรยาย
ศึกษาจากตัวอย่างในสถานที่จริงซึ่งยกมาเป็น กรณีศึกษาประกอบการบรรยายในชั้นเรียนอภิปราย นำเสนอรายงาน

บรรยาย
 เอกสารประกอบการสอน  หนังสือ ตำรา
 เว็บไซด์
 กรณีศึกษา
ตั้งคำถามและตอบคำถามที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาที่ศึกษา
ทดสอบย่อย

13-14
11. การแปรกิจกรรมของรัฐเป็น (บทที่ 7)
       - กิจกรรมของเอกชน(Privatization)
       - รูปแบบการแปรสภาพกิจกรรมของรัฐเป็นของเอกชน
บรรยาย
ศึกษาจากตัวอย่างในสถานที่จริงซึ่งยกมาเป็น กรณีศึกษาประกอบการบรรยายในชั้นเรียนอภิปราย นำเสนอรายงาน

บรรยาย
 เอกสารประกอบการสอน  หนังสือ ตำรา
 เว็บไซด์
 กรณีศึกษา
ตั้งคำถามและตอบคำถามที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาที่ศึกษา
ทดสอบย่อย

15
สรุปสาระสำคัญและขอบข่ายวิชารัฐประศาสนศาสตร์
บรรยาย

บรรยาย
 เอกสารประกอบการสอน 
ตั้งคำถามและตอบคำถามที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาที่
ศึกษา
สัปดาห์
เนื้อหา
กิจกรรมการเรียนการสอน
สื่อ การสอน
การวัดผล
16
สอบปลายภาค
การสอบ
ข้อสอบ
 สอบข้อเขียน

14. การเรียนส่วนที่เพิ่มเติม ชั่วโมงเรียนที่คาดหวังสำหรับผู้เรียน  ไม่มี
15. การจัดเวลาของอาจารย์สำหรับให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการเป็นรายบุคคล (ไม่น้อยกว่า 6 ช.ม./สัปดาห์) วันอังคาร 9.00-11.00 น.  วันพฤหัสบดี 13.00-16.00 น.
16. สื่อการเรียนการสอน (เอกสาร ชุดการสอน เว็ปไซต์ กิจกรรม เครื่องสื่อหรือนวัตกรรมที่ใช้ในการสอน ฯลฯ)
 (ควรมีสื่อการเรียนการสอนที่หลากหลาย หรือกิจกรรมที่แสดงถึงผู้เรียนเป็นสำคัญ)
      16.1 เอกสารประกอบการสอน
       16.2 เอกสารอีเลคโทรนิค จากเว็บไซด์ rotoratuk.blogspot.com; supwat.blogspot.com
       16.3 การนำเสนอรายงาน การอภิปราย
17. การประเมินผล
        17.1 ประเมินผลระหว่างภาค ร้อยละ 70 แบ่งออกตามกิจกรรมและเนื้อหาดังนี้
                - แบบฝึกหัด ร้อยละ                10
                - ทดสอบย่อย                         10
                    - สอบกลางภาค                  30
                - การนำเสนอ ร้อยละ               10
                - งานกลุ่ม ร้อยละ                   10
       17.2  ประเมินผลปลายภาค ร้อยละ   30
                                                 รวม   100
โดยรายละเอียดการประเมินผลระหว่างภาคและปลายภาค แสดงในเชิง Rubric ดังนี้

(ควรมีเนื้อหาการเรียน ตามคำอธิบายรายวิชา และการสอนคุณธรรม จริยธรรม มีวินัยที่พึงประสงค์)
     งาน/กิจกรรม
ระดับคะแนน
4
3
2
1
1.ทดสอบย่อย
1.1 ครั้งที่ 1. จากเนื้อหาในบทที่ 1 ในสัปดาห์ที่ 2-3
  1.2 ครั้งที่ 2 จาก
มีความเข้าใจในทฤษฎี แนวคิดหลักการและการประยุกต์ใช้ในการอธิบายระดับดีมาก
มีความเข้าใจในทฤษฎี แนวคิดหลักการและการประยุกต์ใช้ในการอธิบายระดับดี
มีความเข้าใจในทฤษฎี แนวคิดหลัก
การและการประยุกต์
ใช้ในการอธิบายระดับน่าพอใจ
มีความเข้าใจในทฤษฎี   แนวคิดหลักการและการประยุกต์ใช้ในการอธิบายระดับอ่อน
     งาน/กิจกรรม
ระดับคะแนน
4
3
2
1
เนื้อหาในบทที่ 2- 3 ในสัปดาห์ที่ 6-7
  1.3 ครั้งที่ 3 จากเนื้อหาในบทที่ 4-6 ในสัปดาห์ที่ 12
1.4 ครั้งที่ 4 จากเนื้อหาในบทที่ 7 ในสัปดาห์ที่ 14





2. การนำเสนอและการจัดทำรายงานและการทำงานเป็นกลุ่ม
- อ่านสรุปความได้ดีไม่ลอกเลียนหรือละเมิดงานของผู้อื่น สามารถเขียนรายงานจากความรู้ที่ได้จากการอ่านด้วยตนเอง
- การจัดทำรายงานมีแบบฟอร์มที่ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดและเป็นไปตามข้อตกลงที่ได้ทำทำความเข้าใจไว้ในเบื้องต้น
มีการทำงานในรูปแบบกลุ่มหรือทีมงานที่ดี แบ่งหน้าที่รับผิดชอบและร่วมกันทำงานอย่างตั้งใจมีประสิทธิภาพ
- มีการตระเตรียมงานเพื่อให้การนำเสนอรายงานเป็นไปอย่างราบรื่น  
- อ่านสรุปความได้ดีไม่ลอกเลียนหรือละเมิดงานของผู้อื่น สามารถเขียนรายงานจากความรู้ที่ได้จากการอ่านด้วยตนเอง
- การจัดทำรายงานมีแบบฟอร์มที่ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดและเป็นไปตามข้อตกลงที่ได้ทำทำความเข้าใจไว้ในเบื้องต้น
มีการทำงานในรูปแบบกลุ่มหรือทีมงานที่ดี แบ่งหน้าที่รับผิดชอบและร่วมกันทำงานอย่างตั้งใจมีประสิทธิภาพ
- มีการตระเตรียมงานเพื่อให้การนำเสนอรายงานเป็นไปอย่างราบรื่น   
- อ่านสรุปความได้ดีไม่ลอกเลียนหรือละเมิดงานของผู้อื่น สามารถเขียนรายงานจากความรู้ที่ได้จากการอ่านด้วยตนเอง
- การจัดทำรายงานมีแบบฟอร์มที่ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดและเป็นไปตามข้อตกลงที่ได้ทำทำความเข้าใจไว้ในเบื้องต้น
มีการทำงานในรูปแบบกลุ่มหรือทีมงานที่ดี แบ่งหน้าที่รับผิดชอบและร่วมกันทำงานอย่างตั้งใจมีประสิทธิภาพ
- มีการตระเตรียมงานเพื่อให้การนำเสนอรายงานเป็นไปอย่างราบรื่น   
- อ่านสรุปความได้ดีไม่ลอกเลียนหรือละเมิดงานของผู้อื่น สามารถเขียนรายงานจากความรู้ที่ได้จากการอ่านด้วยตนเอง
- การจัดทำรายงานมีแบบฟอร์มที่ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดและเป็นไปตามข้อตกลงที่ได้ทำทำความเข้าใจไว้ในเบื้องต้น
มีการทำงานในรูปแบบกลุ่มหรือทีมงานที่ดี แบ่งหน้าที่รับผิดชอบและร่วมกันทำงานอย่างตั้งใจมีประสิทธิภาพ
- มีการตระเตรียมงานเพื่อให้การนำเสนอรายงานเป็นไปอย่างราบรื่น   
     งาน/กิจกรรม
ระดับคะแนน
4
3
2
1

กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ซักถามจากเพื่อนร่วมชั้น
 เรียน
- การทำงานข้างต้นมีความบกพร่องน้อยมาก
กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ซักถามจากเพื่อนร่วมชั้น
 เรียน
- การทำงานข้างต้นมีความบกพร่องน้อย
กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ซักถามจากเพื่อนร่วมชั้น
 เรียน
- การทำงานข้างต้นมีความบกพร่องค่อนข้างมาก
กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ซักถามจากเพื่อนร่วมชั้น
 เรียน
- การทำงานข้างต้นมีความบกพร่องมาก
3. การทำแบบฝึก
ทำได้ครบถ้วนตามจำนวนข้อที่กำหนดและมีถูกต้องสมบูรณ์
ทำได้ไม่ครบถ้วนขาด1/4 ของจำนวนคำถามของแบบฝึกแต่มีความถูกต้องสมบูรณ์ หรือทำได้ครบถ้วนตามจำนวนข้อที่กำหนดแต่ไม่ถูกต้องสมบูรณ์1/3ของจำนวน ข้อของแบบฝึก
ทำได้ไม่ครบถ้วนขาด2/4 ของจำนวนคำถามของแบบฝึกแต่มีความถูกต้องสมบูรณ์ หรือทำได้ครบถ้วนตามจำนวนข้อที่กำหนดแต่ไม่ถูกต้องสมบูรณ์2/4ของจำนวน ข้อของแบบฝึก
ทำได้ไม่ครบถ้วนขาด3/4 ของจำนวนคำถามของแบบฝึกแต่มีความถูกต้องสมบูรณ์ หรือทำได้ครบถ้วนตามจำนวนข้อที่กำหนดแต่ไม่ถูกต้องสมบูรณ์3/4ของจำนวน   ข้อของแบบฝึก
4. การสอบกลางภาคจากเนื้อหาจากบทที่ 1-4 ในสัปดาห์ที่ 9
มีความเข้าใจในทฤษฎี แนวคิดหลักการและการประยุกต์ใช้จากเนื้อหาในบทที่ 1-6ระดับดีมาก
มีความเข้าใจในทฤษฎี แนวคิดหลักการและการประยุกต์ใช้จากเนื้อหาในบทที่ 1-6ระดับดี
มีความเข้าใจในทฤษฎี แนวคิดหลักการและการประยุกต์ใช้จากเนื้อหาในบทที่ 1-6ระดับน่าพอใจ
มีความเข้าใจในทฤษฎี   แนวคิดหลักการและการประยุกต์ใช้ใจากเนื้อหาในบทที่ 1-6ระดับอ่อน
5. การสอบปลายภาค วัความสามารถ
โดย
1. เข้าใจในเนื้อหาที่เป็นพื้นฐานแนวคิดทฤษฎี
2. ประยุกต์แนวคิดไปใช้ในการอธิบาย
3. การวิเคราะห์
 ทำได้ทั้ง 4 ประการในระดับดีมาก
มีความบกพร่องหรือผิดพลาดในข้อใดข้อหนึ่งใน 4 ประการ
มีความบกพร่องหรือผิดพลาดใน 2 ข้อใน 4 ประการ
มีความบกพร่องหรือผิดพลาดใน 3 ข้อใน 4 ประการ
     งาน/กิจกรรม
ระดับคะแนน
4
3
2
1
สถานการณ์และนำความรู้ไปใช้แก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษาได้ดีมาก
4. การให้ข้อเสนอแนะทั้งในเชิงวิชาการและเชิงสร้างสรรค์





18. เกณฑ์สรุปการประเมินผลการเรียน
เกรด
คะแนน
เกณฑ์การพิจารณา
A
90-100
-  พิจารณาจากการประเมินงาน/กิจกรรมที่ครบถ้วน
พิจารณาจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน การทำงานกลุ่ม ความสนใจ
  ความพยายาม ความตั้งใจ ความร่วมมือร่วมใจ ความมีจริยธรรมในการทำงานไม่ ลอกเลียน มีความซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา
- กรณีเป็นนักศึกษาพิเศษ และมีความแตกต่างด้านความสามารถ จะพิจารณาเป็น
   กรณีและจัดให้มีการเสริมเพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างเหมาะสม
B+
85-89
B
75-84
C+
70-74
C
60-69
D+
55-59
D
50-54
E
0-49

19. เอกสารที่ใช้ประกอบการศึกษาค้นคว้า (ใช้รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม)
       19.1 หนังสือ ตำรา บทความ
ยุทธพงษ์ ลีลากิจไพศาล. (2552). พัฒนาการและลักษณะของหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ระดับปริญญาตรีใน       ประเทศไทย. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
เอกสารการสอน. 2555. พื้นฐานรัฐประศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต
อุทัย เลาหวิเชียร. (2543). รัฐประศาสนศาสตร์: ลักษณะวิชาและมิติต่าง ๆ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพมหานคร:            สำนักพิมพ์ที พี เอ็น เพรส.
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์, 2545,แนวคิดและกระบวนการบริหารงบประมาณการ
          คลัง,มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต,กรุงเทพฯ
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์, 2553, การจัดการและการบริหารสาธารณะสมัยใหม่
            มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต,กรุงเทพฯ
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์,2546, การบริหารการพัฒนาเอกสารประกอบการสอนมหา
            วิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต กรุงเทพฯ
Anderson, Jame E,1984, Government and the Economy, Quoted in Hughes, O.E.,1998, Public Management and Administration: An Introduction Macmillan Press,London England.
Exploration No.10, 1996, Strategic Leadership for Public Service Renewal, The      Dewar Series Perspectives on Public Management, Canada Centre for            Management Development, Canada.
French, Derek and Saward, Heather,1983, Dictionary of Management, Second Edition, Quoted in Hughes, O.E.,1998, Public Management and Administration: An Introduction Macmillan Press,London England.
       19.2 เอกสารอิเล็กทรอนิกส์
 www. Rotoratuk.blogspot.com; รัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น(supwat. ผู้ดูแลระบบ)
www. Supwat.blogspot.com; บทความเกี่ยวกับการจัดการสาธารณะและการ
บริหารสาธารณะ(supwat.ผู้ดูแลระบบ)                              

                                       การออกข้อสอบ (Test blueprint)               

ข้อสอบเป็นแบบอัตนัย โดยจำแนก ระดับของการวัดความรู้ด้านพุทธพิสัย ตามแบบของ (Blooms Taxonomy) ดังนี้


ความจำ
ความเข้าใจ
การวิเคราะห์
การสังเคราะห์
การประเมินค่า
รวม
บทที่ 1, 2-3, 4-6, 7
(ทดสอบย่อย 4 ครั้ง) จำนวน ครั้งละ 2 ข้อ (10 คะแนน) การทำข้อทด สอบในแบบฝึกทุกบท(10 คะแนน)    

6
5
4
3
2
20

ความจำ
ความเข้าใจ
การวิเคราะห์
การสังเคราะห์
การประเมินค่า
รวม
บทที่ 1-4(สอบ
กลางภาค)
จำนวน  3  ข้อ
(30 คะแนน)
9
8
6
5
2
30
สอบปลายภาค
จำนวน 3 ข้อบทที่ 1-7
(30 คะแนน)
9
8
6
5
2
30
ร้อยละ
24
21
16
13
6
80








ปีการศึกษา 2556
เอกสารหมายเลข มคอ.3
 
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา        มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา   คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์


หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป
1. รหัสและชื่อวิชา
      รหัสวิชา  2551103
      ชื่อวิชา  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์                         
                 Introduction to Public Administration
2. จำนวนหน่วยกิต
   3(3-0-6)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
      กลุ่มวิชาแกน 
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
   ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน
   ภาคเรียนที่ชั้นปีที่ 2
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน(Pre-requisite)(ถ้ามี)
   ไม่มี
7. รายวิชาที่เรียนพร้อมกัน(Co-requisite)(ถ้ามี)
   ไม่มี
8. สถานที่เรียน
   คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาราชภัฏสวนดุสิต
9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดครั้งล่าสุด
14 มี.ค. 2556

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
                เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความใจในแนวความคิด  ทฤษฎี  ความหมาย พัฒนาการและความสัมพันธ์ของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ทั้งที่เป็นแนวคิดเดิมและแนวคิดใหม่ครอบคลุมถึงนโยบายสาธารณะ  การบริหารงานบุคคล  การบริหารงานคลังและงบประมาณ  องค์การ และกระบวนการบริหารงาน
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
                เพื่อให้นักศึกษาพื้นฐานความเข้าใจ ในแนวคิดด้านรัฐประศาสนศาสตร์  ทั้งนี้รวมถึงถึงแนวคิดการนโยบายสาธารณะ  การบริหารงานบุคคล  การบริหารงานคลังและงบประมาณ  องค์การ และกระบวนการบริหารงาน


หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ
1. คำอธิบายรายวิชา
            ศึกษาแนวความคิด  ทฤษฎี  ความหมาย พัฒนาการและความสัมพันธ์ของวิชารัฐประศาสนศาสตร์  โดยมุ่งเน้นให้ครอบคลุมถึงนโยบายสาธารณะ  การบริหารงานบุคคล  การบริหารงานคลังและงบประมาณ  องค์การ และกระบวนการบริหารงาน
2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย
สอนเสริม
การฝึกปฏิบัติงาน/ภาคสนาม/การฝึกงาน
การศึกษาด้วยตนเอง
45 ชั่วโมง/ภาคการศึกษา
ตามความต้องการของนักศึกษา
ไม่มีการฝึกปฏิบัติ

6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์/
   
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
                -  อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของอาจารย์ผู้สอน
                -  อาจารย์จัดเวลา ชั่วโมง /สัปดาห์สำหรับให้คำปรึกษาแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล 

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1     คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
                พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคลการไม่ลอกเลียนและไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ ซื่อตรงในการทำงาน การศึกษา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม โดยมีคุณธรรมและจริยธรรมดังนี้
                (1) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
                (2) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
                (3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้
                (4) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
                (5) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
                (6) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
                (7) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
                (8) ซื่อสัตย์ สุจริต รักษาความลับขององค์กร
                (9) เคารพ ปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบขององค์กร
                (10) มีความขยันหมั่นเพียร อดทน เอื้อเฟื้อต่อสมาชิกในการทำงาน


      1.2 วิธีการสอน
                การสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายถึงเนื้อหาหลักของวิชา ให้ผู้เรียนทำการค้นคว้า หรือทำความเข้าใจประเด็นปลีกย่อยด้วยตนเอง เน้น เพื่อให้ผู้เรียนได้มีการฝึกฝนทักษะด้านต่าง ๆ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง มีการพัฒนาค้นหาความรู้แล้วมาเสนอเพื่อสร้างทักษะในการอภิปรายและนำเสนอ การเรียนการสอนจะแทรกเนื้อหา/กิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ทั้งนี้ ได้นำรูปแบบการเรียนการสอนแบบต่างๆเพื่อทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการเรียนรู้ ทักษะในการคิดอย่างมีระบบ และการวิจัยและการแก้ปัญหา มีความรู้ในเรื่องที่ตนเองสนใจ มีทักษะในการนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่  ทักษะการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในตนเอง วิชาชีพและสังคม
1.3 วิธีการประเมินผล
                (1) นักศึกษาประเมินการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยใช้แบบสอบถามมาตรฐานที่วัดคุณธรรมจริยธรรม
                (2) ประเมินโดยสังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกระหว่างการอภิปรายโดยมีการบันทึกผลการประเมินหลักฐานแจ้งให้นักศึกษาทราบด้วยทุกครั้ง
                (3) ประเมินความซื่อสัตย์จากการพูดคุย สัมภาษณ์เพื่อนร่วมงานและผู้เกี่ยวข้อง
2. ความรู้ 
                เชื่อมโยงความรู้พื้นฐานทางทฤษฎี รัฐประศาสนศาสตร์ ลักษณะของรัฐประศาสนศาศตร์ และสามารถประยุกต์ลักษณะต่างของแนวคิดเพื่ออธิบายให้สอดคล้องกับปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เเพื่อเป็นพื้นฐานไปสู่การเรียนรู้ในระดับสูงต่อไป
   2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
                1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
                2. มีทักษะทางปัญญาทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบสามารถใช้ความรู้มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
                3. มีทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสาร  วิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบาย รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะที่เหมาะสมเพื่อแก้ไขปัญหา
                4. สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องมาใช้ประโยชน์ในเชิงวิชาการและปฏิบัติ
                5. เข้าใจในบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และปฏิบัติหน้าที่ได้ถูกต้อง
   2.2 วิธีการสอน
                (1) บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา Problem-based Learning และ เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง                            
                (2) บอกถึงแหล่งข้อมูลเพื่อให้นักศึกษาได้ค้นคว้าข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
                (3) จัดประชุม แบ่งงาน ติดตามงาน เป็นระยะเวลาที่กำหนด หรือตามความเหมาะสม
                (4) จัดทำรายงานผลวิเคราะห์ความต้องการ และนำเสนอ

   2.3 วิธีการประเมิน
                (1) ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem-based Learning
                (2) ประเมินผลจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย ตามหัวข้อที่กำหนด โดยอ้างอิงทฤษฎีในวิชาที่เกี่ยวข้อง
                (3) ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และการได้รับการยอมรับจากเพื่อนร่วมงานหรือผู้เกี่ยวข้อง
3. ทักษะทางปัญญา
                พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ ประยุกต์แนวคิดกับปรากการณ์ด้านรัฐประศาสนศาสตร์ได้เป็นอย่างดี สามารถเสนอแนะวิธีการพัฒนาด้านการบริหารสาธารณะได้เป็นอย่างดี
   3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
                (1) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
                (2) ความสามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์เนื้อหา  
                (3) ความสามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา
                (4) ความสามารถประยุกต์ความรู้และทักษะการวิเคราะห์ได้อย่างเหมาะสม
                (5) ทักษะการนำความรู้ทางทฤษฎีเป็นพื้นฐานในการประยุกต์ใช้กับการบริหารวาธารณะหรือรัฐประศาสนศาสตร์    
   3.2 วิธีการสอน
                (1) การมอบหมายโจทย์ปัญหา ให้ฝึกการค้นหาความต้องการ และวิเคราะห์ผลความต้องการ
                (2) จัดทำรายงานผลวิเคราะห์ความต้องการ และนำเสนอ
                (3)ประชุมร่วมกันระหว่าง อาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษา
                (4) มอบหมายโจทย์ปัญหา ทางรัฐประศาสนศาสตร์         
                (5) การนำเสนอด้วยการจัดทำรายงานและการนำเสนอร่วมกัน                       
   3.3 วิธีการประเมินผล
                ประเมินผลจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย ตามหัวข้อที่กำหนด โดยอ้างอิงทฤษฎีในวิชาที่เกี่ยวข้อง และควรนำมาเป็นพื้นฐานในวิชานี้
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
   4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
                (1) สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆในกลุ่มทั้งในบทบาท
ของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
                (2) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
                (3) มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม   
                (4) สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืน
อย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
                (5) มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่องเรียนรู้ภาวะทาง
อารมณ์ของตนเอง เรียนรู้การทำงานร่วมกับผู้อื่น เรียนรู้เทคนิคการขอความช่วยเหลือ หรือขอข้อมูลเพื่อนำมาประกอบการทำงาน
                (6) สามารถวางตัวในตำแหน่งงานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างเหมาะสม
                (7) กล้าแสดงความคิดเห็นในขอบเขตของงานและภาระหน้าที่
                (8) พัฒนาตนเองจากการเรียนรู้ด้วยตนเอง และจากการฝึกอบรม หรือการสอบถามเพื่อนร่วมงาน

   4.2 วิธีการสอน
                (1) สร้างกิจกรรม เพื่อให้เกิดความรู้รัก สามัคคี พร้อมทำงานเป็นทีม
                (2) มอบหมายงานที่ต้องทำงานร่วมกันเป็นทีม
                (3) มีการแบ่งงานกันอย่างชัดเจน มอบหมายงานที่ต้องพูดคุย ประชุมร่วมกัน เพื่อมอบหมายงาน                                  ติดตามงาน ประเมินผล
   4.3 วิธีการประเมินผล
                (1) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม จากการสัมภาษณ์ผู้ร่วมงาน หรือผู้เกี่ยวข้อง
                (2) ประเมินจากข้อมูลที่ได้รับจากที่นักศึกษาไปสัมภาษณ์
                (3) ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และการได้รับการยอมรับจากเพื่อนร่วมงานหรือผู้เกี่ยวข้อง              
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
   5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
                (1) ทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการค้นคว้าและนำเสนองาน
                (2) ทักษะสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
                (3) ทักษะในการใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
                (4) ทักษะในการใช้เทคโนโลยี เครื่องมือ อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ ในการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการทำงาน เช่น การ
โต้ตอบ แสดงความคิดเห็น ประสานการทำงาน การรับ-ส่งงาน การซักถามข้อสงสัย
                (5) สามารถใช้เทคโนโลยี หรือ อินเทอร์เน็ตในการค้นคว้า หาข้อมูลประกอบการทำงาน
                (6) สามารถสื่อสารโดยใช้ภาษาที่เหมาะสม และส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน                             
   5.2 วิธีการสอน
          (1) มอบหมายงานผ่านระบบเทคโนโลยี การใช้ทักษะด้านเทคโนโลยี ในการนำเสนอข้อมูล
                (2) มอบหมายงานที่ต้องมีการสื่อสารโดยใช้ภาษาทั้งไทยและต่างประเทศ ทั้งการพูด เขียน ในการประสาน
การทำงาน
                (3) มอบหมายงานที่ต้องใช้เทคโนโลยี ในการแก้ปัญหา หรือนำเสนองาน
   5.3 วิธีการประเมินผล
                (1) ประเมินจากเอกสาร ที่นำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสื่อ
                 (2) ประเมินจากเอกสารที่เขียน เช่น E-Mail ที่ใช้สื่อสารเพื่อการทำงาน
                 (3) ประเมินจากผลการแก้ปัญหาว่า โดยเน้นความถูกต้องและเหมาะสม

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัปดาห์ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จน.ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน/สื่อที่ใช้
ผู้สอน
1
1. แนะนำบทเรียน
2. แนะนำการเรียนการสอน
    การวัดและประเมินผล
3. แนะนำเอกสารตำราและการ
   ค้นคว้า แหล่งการเรียนการสอน
4. ประเมินความรู้ก่อนดำเนินการ
    เรียนการสอน
3
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน  หนังสือ ตำรา
 เวบไซด์ 
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
2-3
5. วิวัฒนาการของการศึกษารัฐ
    ประศาสนศาสตร์        

      - พาราไดม์รัฐประศาสนศาสตร์
        ของ Nicholas Henry
      - ขอบข่ายรัฐประศาสนศาสตร์
        ในทศวรรษใหม่
       -รัฐประศาสนศาสตร์และการ
        จัดการสาธารณะใหม่
6
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน  หนังสือ ตำรา
 เวบไซด์ 
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
4-5
6. นโยบายสาธารณะและการ
   วางแผน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบาย
  สาธารณะ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการ
  วางแผน
6
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน  หนังสือตำรา
 เวบไซด์ 
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
6-7
7. การบริหารทรัพยากรมนุษย์
   - ความหมายและความสำคัญของ
    การบริหารทรัพยากรมนุษย์
    - แนวความคิดทางการบริหาร
      ทรัพยากรมนุษย์

6
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน  หนังสือ ตำรา
 เวบไซด์ 
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
1. แผนการสอน
สัปดาห์ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จน.ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน/สื่อที่ใช้
ผู้สอน

    - บทบาทและหน้าที่ของฝ่ายบริ
      หารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ



8-9
 8. องค์การและการจัดองค์การ
     - ความหมายขององค์การ
     - วิวัฒนาการของการจัดโครง
        สร้างและกระบวนการในการ
        ทำงานภายในองค์การ
      - การจัดองค์การและการจำแนก
        ประเภทขององค์การ
6
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน  หนังสือ ตำรา
 เวบไซด์ 
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
10-11
9. การบริหารงานคลังสาธารณะ
    - ความหมาย ความสำคัญของ
การบริหารงานคลังสาธารณะและการบริหารงานคลังสาธารณะ
6
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน  หนังสือ ตำรา
 เวบไซด์ 
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
12
10. เทคนิคการบริหาร
      - การวินิจฉัยสั่งการ
      - การติดต่อสื่อสาร
      - การจูงใจ
3
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน  หนังสือ ตำรา เวบไซด์  
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
13-14
11. การแปรกิจกรรมของรัฐเป็น
       - กิจกรรมของเอกชน(Privati
          zation)
       - รูปแบบการแปรสภาพกิจ
          กรรมของรัฐเป็นของเอกชน
6
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน  หนังสือ ตำรา
 เวบไซด์ 
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
15
สรุปสาระสำคัญและขอบข่ายวิชารัฐประศาสนศาสตร์
3
ชั่วโมง
บรรยาย

อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
16
สอบปลายภาค
1.30
ข้อสอบ
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์




2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ (16 สัปดาห์)
กิจกรรมที่
ผลการเรียนรู้*
วิธีการประเมิน
สัปดาห์ที่ประเมิน
สัดส่วนของการประเมิน
1
 1,2,3
4,5,6,7
ทดสอบย่อยครั้งที่ 1
สอบกลางภาค
ทดสอบย่อยครั้งที่ 2
สอบปลายภาค
4
8
12
16
10%
30%
10%
30%
2
 8,9,10
11,12
วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอ
รายงาน
การทำงานกลุ่มและผลงาน
ตลอดภาค
การศึกษา
20%


หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. เอกสารและตำรา
ยุทธพงษ์ ลีลากิจไพศาล. (2552). พัฒนาการและลักษณะของหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ระดับปริญญาตรีใน                ประเทศไทย. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
เอกสารการสอน. 2555. พื้นฐานรัฐประศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต
อุทัย เลาหวิเชียร. (2543). รัฐประศาสนศาสตร์: ลักษณะวิชาและมิติต่าง ๆ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพมหานคร:                 สำนักพิมพ์ที พี เอ็น เพรส.
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์, 2545,แนวคิดและกระบวนการบริหารงบประมาณการ
          คลัง,มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต,กรุงเทพฯ
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์, 2553, การจัดการและการบริหารสาธารณะสมัยใหม่
            มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต,กรุงเทพฯ
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์,2546, การบริหารการพัฒนาเอกสารประกอบการสอนมหา
            วิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต กรุงเทพฯ
Anderson, Jame E,1984, Government and the Economy, Quoted in Hughes, O.E.,1998, Public Management and Administration: An Introduction Macmillan Press,London England.
Exploration No.10, 1996, Strategic Leadership for Public Service Renewal, The             Dewar Series Perspectives on Public Management, Canada Centre for             Management Development, Canada.
French, Derek and Saward, Heather,1983, Dictionary of Management, Second Edition,Quoted in Hughes, O.E.,1998, Public Management and Administration: An Introduction Macmillan Press,London England.
2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ
ไม่มี
3. เอกสารและข้อมูลแนะนำ                             
www. Rotoratuk.blogspot.com; รัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น(supwat. ผู้ดูแลระบบ)
www. Supwat.blogspot.com; บทความเกี่ยวกับการจัดการสาธารณะและการ
                บริหารสาธารณะ(supwat.ผู้ดูแลระบบ)

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
                การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
                - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
                - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
                - ข้อเสนอแนะผ่านเวบบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
                ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
                - ผลการเรียนของนักศึกษา
                - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3. การปรับปรุงการสอน
                หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
                - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  
                - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
        ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่
คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
        - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
        - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา
โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
                จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ
สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
        - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
ตามข้อ 4
        - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับ
ปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์ต่าง ๆ



Foundation of Public Administration for Political Courses ภาคการศึกษาที่1/2555





เอกสารหมายเลข มคอ.3
 
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา        มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา   คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์


หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป
1. รหัสและชื่อวิชา
      รหัสวิชา  2551103
      ชื่อวิชา  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์                         
                 Introduction to Public Administration
2. จำนวนหน่วยกิต
   3(3-0-6)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
      กลุ่มวิชาแกน 
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
   ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน
   ภาคเรียนที่1 ชั้นปีที่ 2
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน(Pre-requisite)(ถ้ามี)
   ไม่มี
7. รายวิชาที่เรียนพร้อมกัน(Co-requisite)(ถ้ามี)
   ไม่มี
8. สถานที่เรียน
   คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาราชภัฏสวนดุสิต
9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดครั้งล่าสุด
14 เม.ย. 2555

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
                เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความใจในแนวความคิด  ทฤษฎี  ความหมาย พัฒนาการและความสัมพันธ์ของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ทั้งที่เป็นแนวคิดเดิมและแนวคิดใหม่ครอบคลุมถึงนโยบายสาธารณะ  การบริหารงานบุคคล  การบริหารงานคลังและงบประมาณ  องค์การ และกระบวนการบริหารงาน
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
                เพื่อให้นักศึกษาพื้นฐานความเข้าใจ ในแนวคิดด้านรัฐประศาสนศาสตร์  ทั้งนี้รวมถึงถึงแนวคิดการนโยบายสาธารณะ  การบริหารงานบุคคล  การบริหารงานคลังและงบประมาณ  องค์การ และกระบวนการบริหารงาน


หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ
1. คำอธิบายรายวิชา
            ศึกษาแนวความคิด  ทฤษฎี  ความหมาย พัฒนาการและความสัมพันธ์ของวิชารัฐประศาสนศาสตร์  โดยมุ่งเน้นให้ครอบคลุมถึงนโยบายสาธารณะ  การบริหารงานบุคคล  การบริหารงานคลังและงบประมาณ  องค์การ และกระบวนการบริหารงาน
2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย
สอนเสริม
การฝึกปฏิบัติงาน/ภาคสนาม/การฝึกงาน
การศึกษาด้วยตนเอง
45 ชั่วโมง/ภาคการศึกษา
ตามความต้องการของนักศึกษา
ไม่มีการฝึกปฏิบัติ

6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์/
   
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
                -  อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของอาจารย์ผู้สอน
                -  อาจารย์จัดเวลา 1 ชั่วโมง /สัปดาห์สำหรับให้คำปรึกษาแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล 

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1     คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
                พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคลการไม่ลอกเลียนและไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ ซื่อตรงในการทำงาน การศึกษา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม โดยมีคุณธรรมและจริยธรรมดังนี้
                (1) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
                (2) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
                (3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้
                (4) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
                (5) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
                (6) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
                (7) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
                (8) ซื่อสัตย์ สุจริต รักษาความลับขององค์กร
                (9) เคารพ ปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบขององค์กร
                (10) มีความขยันหมั่นเพียร อดทน เอื้อเฟื้อต่อสมาชิกในการทำงาน


      1.2 วิธีการสอน
                การสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายถึงเนื้อหาหลักของวิชา ให้ผู้เรียนทำการค้นคว้า หรือทำความเข้าใจประเด็นปลีกย่อยด้วยตนเอง เน้น เพื่อให้ผู้เรียนได้มีการฝึกฝนทักษะด้านต่าง ๆ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง มีการพัฒนาค้นหาความรู้แล้วมาเสนอเพื่อสร้างทักษะในการอภิปรายและนำเสนอ การเรียนการสอนจะแทรกเนื้อหา/กิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ทั้งนี้ ได้นำรูปแบบการเรียนการสอนแบบต่างๆเพื่อทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการเรียนรู้ ทักษะในการคิดอย่างมีระบบ และการวิจัยและการแก้ปัญหา มีความรู้ในเรื่องที่ตนเองสนใจ มีทักษะในการนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่  ทักษะการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในตนเอง วิชาชีพและสังคม
1.3 วิธีการประเมินผล
                (1) นักศึกษาประเมินการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยใช้แบบสอบถามมาตรฐานที่วัดคุณธรรมจริยธรรม
                (2) ประเมินโดยสังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกระหว่างการอภิปรายโดยมีการบันทึกผลการประเมินหลักฐานแจ้งให้นักศึกษาทราบด้วยทุกครั้ง
                (3) ประเมินความซื่อสัตย์จากการพูดคุย สัมภาษณ์เพื่อนร่วมงานและผู้เกี่ยวข้อง
2. ความรู้ 
                เชื่อมโยงความรู้พื้นฐานทางทฤษฎี รัฐประศาสนศาสตร์ ลักษณะของรัฐประศาสนศาศตร์ และสามารถประยุกต์ลักษณะต่างของแนวคิดเพื่ออธิบายให้สอดคล้องกับปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เเพื่อเป็นพื้นฐานไปสู่การเรียนรู้ในระดับสูงต่อไป
   2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
                1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
                2. มีทักษะทางปัญญาทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบสามารถใช้ความรู้มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
                3. มีทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสาร  วิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบาย รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะที่เหมาะสมเพื่อแก้ไขปัญหา
                4. สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องมาใช้ประโยชน์ในเชิงวิชาการและปฏิบัติ
                5. เข้าใจในบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และปฏิบัติหน้าที่ได้ถูกต้อง
   2.2 วิธีการสอน
                (1) บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา Problem-based Learning และ เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง                            
                (2) บอกถึงแหล่งข้อมูลเพื่อให้นักศึกษาได้ค้นคว้าข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
                (3) จัดประชุม แบ่งงาน ติดตามงาน เป็นระยะเวลาที่กำหนด หรือตามความเหมาะสม
                (4) จัดทำรายงานผลวิเคราะห์ความต้องการ และนำเสนอ

   2.3 วิธีการประเมิน
                (1) ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem-based Learning
                (2) ประเมินผลจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย ตามหัวข้อที่กำหนด โดยอ้างอิงทฤษฎีในวิชาที่เกี่ยวข้อง
                (3) ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และการได้รับการยอมรับจากเพื่อนร่วมงานหรือผู้เกี่ยวข้อง
3. ทักษะทางปัญญา
                พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ ประยุกต์แนวคิดกับปรากการณ์ด้านรัฐประศาสนศาสตร์ได้เป็นอย่างดี สามารถเสนอแนะวิธีการพัฒนาด้านการบริหารสาธารณะได้เป็นอย่างดี
   3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
                (1) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
                (2) ความสามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์เนื้อหา  
                (3) ความสามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา
                (4) ความสามารถประยุกต์ความรู้และทักษะการวิเคราะห์ได้อย่างเหมาะสม
                (5) ทักษะการนำความรู้ทางทฤษฎีเป็นพื้นฐานในการประยุกต์ใช้กับการบริหารวาธารณะหรือรัฐประศาสนศาสตร์   
   3.2 วิธีการสอน
                (1) การมอบหมายโจทย์ปัญหา ให้ฝึกการค้นหาความต้องการ และวิเคราะห์ผลความต้องการ
                (2) จัดทำรายงานผลวิเคราะห์ความต้องการ และนำเสนอ
                (3)ประชุมร่วมกันระหว่าง อาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษา
                (4) มอบหมายโจทย์ปัญหา ทางรัฐประศาสนศาสตร์         
                (5) การนำเสนอด้วยการจัดทำรายงานและการนำเสนอร่วมกัน                       
   3.3 วิธีการประเมินผล
                ประเมินผลจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย ตามหัวข้อที่กำหนด โดยอ้างอิงทฤษฎีในวิชาที่เกี่ยวข้อง และควรนำมาเป็นพื้นฐานในวิชานี้
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
   4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
                (1) สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆในกลุ่มทั้งในบทบาท
ของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
                (2) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
                (3) มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม   
                (4) สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืน
อย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
                (5) มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่องเรียนรู้ภาวะทาง
อารมณ์ของตนเอง เรียนรู้การทำงานร่วมกับผู้อื่น เรียนรู้เทคนิคการขอความช่วยเหลือ หรือขอข้อมูลเพื่อนำมาประกอบการทำงาน
                (6) สามารถวางตัวในตำแหน่งงานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างเหมาะสม
                (7) กล้าแสดงความคิดเห็นในขอบเขตของงานและภาระหน้าที่
                (8) พัฒนาตนเองจากการเรียนรู้ด้วยตนเอง และจากการฝึกอบรม หรือการสอบถามเพื่อนร่วมงาน

   4.2 วิธีการสอน
                (1) สร้างกิจกรรม เพื่อให้เกิดความรู้รัก สามัคคี พร้อมทำงานเป็นทีม
                (2) มอบหมายงานที่ต้องทำงานร่วมกันเป็นทีม
                (3) มีการแบ่งงานกันอย่างชัดเจน มอบหมายงานที่ต้องพูดคุย ประชุมร่วมกัน เพื่อมอบหมายงาน                                  ติดตามงาน ประเมินผล
   4.3 วิธีการประเมินผล
                (1) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม จากการสัมภาษณ์ผู้ร่วมงาน หรือผู้เกี่ยวข้อง
                (2) ประเมินจากข้อมูลที่ได้รับจากที่นักศึกษาไปสัมภาษณ์
                (3) ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และการได้รับการยอมรับจากเพื่อนร่วมงานหรือผู้เกี่ยวข้อง             
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
   5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
                (1) ทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการค้นคว้าและนำเสนองาน
                (2) ทักษะสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
                (3) ทักษะในการใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
                (4) ทักษะในการใช้เทคโนโลยี เครื่องมือ อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ ในการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการทำงาน เช่น การ
โต้ตอบ แสดงความคิดเห็น ประสานการทำงาน การรับ-ส่งงาน การซักถามข้อสงสัย
                (5) สามารถใช้เทคโนโลยี หรือ อินเทอร์เน็ตในการค้นคว้า หาข้อมูลประกอบการทำงาน
                (6) สามารถสื่อสารโดยใช้ภาษาที่เหมาะสม และส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน                             
   5.2 วิธีการสอน
          (1) มอบหมายงานผ่านระบบเทคโนโลยี การใช้ทักษะด้านเทคโนโลยี ในการนำเสนอข้อมูล
                (2) มอบหมายงานที่ต้องมีการสื่อสารโดยใช้ภาษาทั้งไทยและต่างประเทศ ทั้งการพูด เขียน ในการประสาน
การทำงาน
                (3) มอบหมายงานที่ต้องใช้เทคโนโลยี ในการแก้ปัญหา หรือนำเสนองาน
   5.3 วิธีการประเมินผล
                (1) ประเมินจากเอกสาร ที่นำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสื่อ
                 (2) ประเมินจากเอกสารที่เขียน เช่น E-Mail ที่ใช้สื่อสารเพื่อการทำงาน
                 (3) ประเมินจากผลการแก้ปัญหาว่า โดยเน้นความถูกต้องและเหมาะสม

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัปดาห์ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จน.ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน/สื่อที่ใช้
ผู้สอน
1
1. แนะนำบทเรียน
2. แนะนำการเรียนการสอน
    การวัดและประเมินผล
3. แนะนำเอกสารตำราและการ
   ค้นคว้า แหล่งการเรียนการสอน
4. ประเมินความรู้ก่อนดำเนินการ
    เรียนการสอน
3
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน  หนังสือ ตำรา
 เวบไซด์ 
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
2-3
5. วิวัฒนาการของการศึกษารัฐ
    ประศาสนศาสตร์        

      - พาราไดม์รัฐประศาสนศาสตร์
        ของ Nicholas Henry
      - ขอบข่ายรัฐประศาสนศาสตร์
        ในทศวรรษใหม่
       -รัฐประศาสนศาสตร์และการ
        จัดการสาธารณะใหม่
6
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน  หนังสือ ตำรา
 เวบไซด์ 
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
4-5
6. นโยบายสาธารณะและการ
   วางแผน
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบาย
  สาธารณะ
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการ
  วางแผน
6
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน  หนังสือตำรา
 เวบไซด์ 
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
6-7
7. การบริหารทรัพยากรมนุษย์
   - ความหมายและความสำคัญของ
    การบริหารทรัพยากรมนุษย์
    - แนวความคิดทางการบริหาร
      ทรัพยากรมนุษย์

6
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน  หนังสือ ตำรา
 เวบไซด์ 
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
1. แผนการสอน
สัปดาห์ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จน.ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน/สื่อที่ใช้
ผู้สอน

    - บทบาทและหน้าที่ของฝ่ายบริ
      หารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ



8-9
 8. องค์การและการจัดองค์การ
     - ความหมายขององค์การ
     - วิวัฒนาการของการจัดโครง
        สร้างและกระบวนการในการ
        ทำงานภายในองค์การ
      - การจัดองค์การและการจำแนก
        ประเภทขององค์การ
6
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน  หนังสือ ตำรา
 เวบไซด์ 
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
10-11
9. การบริหารงานคลังสาธารณะ
    - ความหมาย ความสำคัญของ
การบริหารงานคลังสาธารณะและการบริหารงานคลังสาธารณะ
6
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน  หนังสือ ตำรา
 เวบไซด์ 
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
12
10. เทคนิคการบริหาร
      - การวินิจฉัยสั่งการ
      - การติดต่อสื่อสาร
      - การจูงใจ
3
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน  หนังสือ ตำรา เวบไซด์ 
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
13-14
11. การแปรกิจกรรมของรัฐเป็น
       - กิจกรรมของเอกชน(Privati
          zation)
       - รูปแบบการแปรสภาพกิจ
          กรรมของรัฐเป็นของเอกชน
6
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน  หนังสือ ตำรา
 เวบไซด์ 
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
15
สรุปสาระสำคัญและขอบข่ายวิชารัฐประศาสนศาสตร์
3
ชั่วโมง
บรรยาย

อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
16
สอบปลายภาค
1.30
ข้อสอบ
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์




2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ (16 สัปดาห์)
กิจกรรมที่
ผลการเรียนรู้*
วิธีการประเมิน
สัปดาห์ที่ประเมิน
สัดส่วนของการประเมิน
1
 1,2,3
4,5,6,7
ทดสอบย่อยครั้งที่ 1
สอบกลางภาค
ทดสอบย่อยครั้งที่ 2
สอบปลายภาค
4
8
12
16
10%
30%
10%
30%
2
 8,9,10
11,12
วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอ
รายงาน
การทำงานกลุ่มและผลงาน
ตลอดภาค
การศึกษา
20%


หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. เอกสารและตำรา
ยุทธพงษ์ ลีลากิจไพศาล. (2552). พัฒนาการและลักษณะของหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ระดับปริญญาตรีใน                ประเทศไทย. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
เอกสารการสอน. 2555. พื้นฐานรัฐประศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต
อุทัย เลาหวิเชียร. (2543). รัฐประศาสนศาสตร์: ลักษณะวิชาและมิติต่าง ๆ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพมหานคร:                 สำนักพิมพ์ที พี เอ็น เพรส.
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์, 2545,แนวคิดและกระบวนการบริหารงบประมาณการ
          คลัง,มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต,กรุงเทพฯ
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์, 2553, การจัดการและการบริหารสาธารณะสมัยใหม่
            มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต,กรุงเทพฯ
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์,2546, การบริหารการพัฒนา, เอกสารประกอบการสอน, มหา
            วิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต กรุงเทพฯ
Anderson, Jame E,1984, Government and the Economy, Quoted in Hughes, O.E.,1998, Public Management and Administration: An Introduction Macmillan Press,London England.
Exploration No.10, 1996, Strategic Leadership for Public Service Renewal, The             Dewar Series Perspectives on Public Management, Canada Centre for             Management Development, Canada.
French, Derek and Saward, Heather,1983, Dictionary of Management, Second Edition, Quoted in Hughes, O.E.,1998, Public Management and Administration: An Introduction Macmillan Press,London England.
2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ
ไม่มี
3. เอกสารและข้อมูลแนะนำ                             
www. Rotoratuk.blogspot.com; รัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น(supwat. ผู้ดูแลระบบ)
www. Supwat.blogspot.com; บทความเกี่ยวกับการจัดการสาธารณะและการ
                บริหารสาธารณะ(supwat.ผู้ดูแลระบบ)

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
                การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
                - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
                - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
                - ข้อเสนอแนะผ่านเวบบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
                ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
                - ผลการเรียนของนักศึกษา
                - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3. การปรับปรุงการสอน
                หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
                - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  
                - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
        ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่
คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
        - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
        - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา
โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
                จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ
สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
        - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
ตามข้อ 4
        - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับ
ปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์ต่าง ๆ


Comments

Popular posts from this blog

วีดิโอการพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม: สถานการณ์จำลอง

หลักรัฐประศาสนศาสตร์ สัปดาห์ที่ 3 16-17 พ.ค.2563

การบริหารการพัฒนา กลุ่ม 391 กองทัพบก Module 1 วันเสาร์ที่ 30-วันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม 2565